คณะที่ 3 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ

Download Report

Transcript คณะที่ 3 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ

บทบาท สสจ.
 เฝ้ าระวัง สถานการณ์………
 รวบรวมข้อมูล
 ประมวลผล วิเคราะห์ข้อมูล
 ลาดับความสาคัญปัญหา ตัดสินใจ
 วางแผน ( แผนยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ )
 ดาเนินการ
 ติดตาม ควบคุมกากับ ประเมินผล
ตารางที่1 สถานการณ์ ภาวะสุขภาพของมารดาและทารกปริกาเนิด
จังหวัดอุบลราชธานี ปี งบประมาณ 2549-2552
2549
2550
2551
2552
มารดาคลอด( คน )
20,932
21,425
26,320
19,234
ทารกคลอด ( คน )
21,136
21,766
26,737
19,602
ทารกเกิดมีชีพ( คน )
21,012
21,617
26,621
19,517
จานวนมารดาตาย ( คน )
1
4
5
0
อัตรามารดาตาย : 100,000 การเกิดมีชีพ
4.7
18.5
18.7
0.0
จานวนทารกตายปริกาเนิด (คน)
124
149
116
85
อัตราตายปริกาเนิด : 1,000 การเกิด
5.8
6.8
4.3
4.3
ข้ อมูล
ตารางที่ 2 สาเหตุการตายของมารดาจังหวัดอุบลราชธานี
ปี งบประมาณ2549-2552
สาเหตุ
2549
2550
2551
2552
รวม
ร้ อยละ
1.ตกเลือด
1
2
3
0
6
60.0
2. สาเหตุทางอ้ อม
0
1
2
0
3
30.0
3. นา้ คร่าอุดตันในเส้ นเลือด
0
1
0
0
1
10.0
1
4
5
0
10
100.00
รวม
การพัฒนางานอนามัยแม่ และเด็ก ปี 2553 รอบ 6 เดือน
( ตุลาคม – มีนาคม )
ข้ อมูล
รอบ 6 เดือน
มารดาคลอด( คน )
10,590
จานวนเด็กเกิด ( คน )
10,634
ทารกเกิดมีชีพ( คน )
10,565
จานวนมารดาตาย ( คน )
1
อัตรามารดาตาย : 100,000 การเกิดมีชีพ
9.43
จานวนทารกตายปริกาเนิด (คน)
45
อัตราตายปริกาเนิด : 1,000 การเกิด
4.23
สถานการณ์ การจ่ ายค่ าช่ วยเหลือ ตาม ม.41
ที่เกี่ยวกับงานแม่ และเด็ก จังหวัดอุบลราชธานี
ปี งบประมาณ
จานวนCASE
( ราย )
ค่ าช่ วยเหลือตาม ม.41
(บาท )
2548
2
130,000
2549
4
350,000
2550
6
520,000
2551
12
1,470,000
2552
10
800,000
2553
5
ระหว่ างพิจารณา
ปั ญหา แม่ และเด็ก
 มารดาเสียชีวิต ยังมีประปราย
 อัตราตายปริกาเนิด สูงเกินเกณฑ์
 ทารกน้าหนักตา่ กว่าเกณฑ์ สูง
 ANC. ครบ 4 ครัง้ คุณภาพ ตา่
 ANC. < 12 wk. ตา่
 การเยี่ยมหลังคลอด ตา่
 TSH.ในทารกแรกเกิด สูงเกินมาตรฐาน
 ไม่มีระบบการดูแลติดตามเด็ก Birth asphyxia
 ภาวะแทรกซ้อนจากการคลอด สูง
 มารดา อายุ < 20 ปี สูงเกินเกณฑ์
สรุ ปได้ ว่า
 ระบบ ANC. ยังต้องพัฒนาอีกมาก
 ระบบ งานห้องคลอด ยังต้องพัฒนา
 ขาดการประเมินและดูแล High risk Pregnancy
 ระบบการรายงาน และ การประสานข้อมูล ยังมีปัญหา
 แนวทาง / มาตรฐาน งาน ANC. / PNC. / การคลอด
 ศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้องในแต่ละระดับ พัฒนาได้อีก
 ระบบการส่งต่อ
 ระบบการบริหารจัดการ ( โครงสร้าง กก.MCH. / บทบาท
ภารกิจ / แผนงาน โครงการพัฒนางาน / M&E )
ทบทวนหาสาเหตุนาไปสู่การวางแผนแก้ ปัญหา
( Plan Do Check Act )
ปัญหาระยะก่อนคลอด
1. ANC
- การฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์คณ
ุ ภาพ
- การฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
2. หญิงมีบตุ รคนแรกอายุน้อย
กว่า 20 ปี
3. ขาดการเฝ้ าระวัง High Risk
Case
ปัญหาระยะคลอด
1.ความรู้ประสบการณ์ ในการ
ประเมินภาวะเสี่ยงในระยะคลอด
2.ความพร้อมการวางแผนการ
ประสานงานเพื่อรองรับภาวะ
วิกฤต
3.ความคล่องตัวในระบบส่งต่อ
4. มาตรฐานการส่งต่อ
การบริหารจัดการงานอนามัยแม่ และเด็ก
จังหวัดอุบลราชธานี
1. ด้านนโยบาย
ยุทธศาสตร์ที่ 3 เพิ่มประสิทธิภาพการส่งเสริมป้ องกันรักษาฟื้ นฟูสภาพและ
การ
คุ้มครองผูบ้ ริโภคด้านสุขภาพ
แผนงานที่ 3.3 แผนงานส่งเสริมสุขภาพ
KPI 3.2 อัตรามารดาตายไม่เกิน 18 : 100,000 การเกิดมีชีพ
PI
3.3
อัตราตายปริกาเนิดไม่เกิน 9 : 1,000 การเกิด
3.11
อัตราทารกแรกเกิดน้าหนักน้ อยกว่า 2,500 กรัมไม่เกินร้อยละ 7
3.3.1 ความสาเร็จในการดาเนินงานอนามัยแม่และเด็ก
2. ด้านกระบวนการทางาน
- จัดทาแผนงาน โครงการ
- มีคณะกรรมการ MCH Board จังหวัดและ MCH Board อาเภอ
ประชุมอย่างน้ อยทุก 3 เดือน
- พัฒนางานบริการและวิชาการ
- จัดสัมมนา / ทาคู่มือ / ประชุมวิชาการ / นวัตกรรม
- ตรวจสอบความถูกต้องข้อมูลและจัด Conference Case กรณี มารดา
ตายและตายปริกาเนิด
- ประชุมเชิงวิชาการ Conference Case กรณี มารดาตายระดับจังหวัด
- ติดตาม กากับ นาเสนอผลงาน
- สนับสนุนการดาเนินงานของพืน้ ที่
ตัวอย่ างข้ อสรุ ปที่นาไปสู่การเปลี่ยนแปลง
 โครงสร้าง MCH.Board ระดับจังหวัด และ อาเภอ
 MCH.สัญจร  กระตุ้น การขับเคลื่อนของ MCH.Board
ระดับอาเภอ
 คู่มือ แนวทาง ANC. และ งานห้องคลอด
 ปรับระบบการนัดหมาย ANC. ตามครัง้ คุณภาพ
 สื่อการให้สขุ ศึกษา ANC. ตาม ครัง้ คุณภาพการฝากครรภ์
 การมีส่วนร่วม
 การเพิ่มพูนศักยภาพบุคลากร
 การพัฒนาระบบรายงาน
3. ด้ านงบประมาณ
ที่
โครงการ
งบประมาณ แหล่งงบ
1. การเพิม่ พูนสมรรถนะทีมงานอนามัยแม่ และเด็ก
234,000
สป
2. เพิม่ ประสิ ทธิภาพการบริหารจัดการงานแม่ และ
เด็ก
74,500
PPA
3. MCH สั ญจร
30,400
สป
4. ป้ องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
1,998,000 SF
5.
มหกรรมรวมพลคนกินนมแม่
37,100
PPA
6.
ประเมินโรงพยาบาลสายใยรัก
26,352
PPA
4. ด้านข้อมูล
- วิเคราะห์นาเสนองานอนามัยแม่และเด็กทุก 3
เดือน
- พัฒนาโปรแกรมรายงาน ก2 เป็ น Electronic Files
- ทบทวนการรายงานข้อมูลแม่และเด็กให้รายงาน
ข้อมูลที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ ได้จริง
ปั จจัยที่มีผลการความสาเร็จของงาน
1.
2.
3.
4.
5.
เป็ นนโยบายสาคัญและสนับสนุนผลักดันการพัฒนาอย่าง
ต่อเนื่ อง
โครงสร้าง : ทีมงาน MCH Board เข้มแข็งโดยเฉพาะสูติแพทย์
กุมารแพทย์
เครือข่ายงานอนามัยแม่และเด็ก ให้ความร่วมมือสนับสนุนการ
ดาเนินงานซึ่งกันและกันทุกระดับ
สสจ./ รพศ
รพช / สสอ
สอ.
สื่อสารและเชื่อมโยงข้อมูลทุกระดับอย่างสมา่ เสมอ ต่อเนื่ อง
สร้างขวัญกาลังใจ
บริหารจัดการเชิงระบบ
Primary : ประชาชน รู้ว่า…………………………….
อสม. มีข้อมูล / เยี่ยม / แนะนา
รพ.สต. ANC / PNC / Refer
Seconary : ANC / PNC
งานห้องคลอด : เตรียมพร้อม ( คน , อุปกรณ์ )
มาตรฐานการดูแลการคลอด
ระบบ Consult แพทย์เวร / ระหว่าง รพ.
ระบบ Round LR.
ระบบ Refer / ระบบสารองเลือด
บริหารจัดการเชิงระบบ
Tertiary : ฟื้ นฟู ภาวะแทรกซ้อน
พิการ
มารดา / ทารก เสียชีวิต
 ม.41 / HHC.