สารเคมี - ayph.in.th

Download Report

Transcript สารเคมี - ayph.in.th

Hazardous Material and Chemical Safety
Awareness Training
รศ.ดร. สรา อาภรณ์ Dr.biol.hum
ภาควิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
คณะสาธารณสุ ขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิ ดล
http://saraarphorn.wordpress.com
Hazardous Material and Chemical Safety
Awareness Training
1. ประเภทสารเคมีอนั ตราย
2. การปฏิบตั ิตนเบื้องต้นเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิ น
3. มาตรการการป้ องกัน
4. การหลีกเลี่ยงอุบตั ิเหตุ
หมายเหตุ 49 CFR 172 Subpart H Training
จุดประสงค์ของการสื่ อสารความเป็ นอันตราย
1. รู้จกั อันตรายของสารเคมี
2. อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่ วนบุคคล
การปฐมพยาบาล การหกรั่วไหลของสารเคมี
3. ฉลาก และเอกสารข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมี
แนวปฏิบตั ิการสื่ อสารความเป็ นอันตราย
ต้องศึกษาอันตรายของสารเคมี
1.บริ ษทั ผูผ้ ลิตสารเคมี
จัดให้มีฉลากและเอกสาร
ข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมี
แนวปฏิบตั ิการสื่ อสารความเป็ นอันตราย
2. สถานประกอบการ
1. จัดให้มีโปรแกรมสื่ อสารความเป็ นอันตราย
2. จัดให้มีเอกสารข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมี
3. จัดให้มีการอบรมอันตรายของสารเคมี
แนวปฏิบตั ิการสื่ อสารความเป็ นอันตราย
1.อ่านฉลากและเอกสาร
ข้อมูลความปลอดภัย
ของสารเคมี
2. ปฏิบตั ิตามข้อแนะนา
และคาเตือน
3.พนักงาน
3. บ่งชี้อนั ตรายของ
สารเคมีก่อนเริ่ มงาน
4. เข้าร่ วมการอบรม
อันตรายของสารเคมี
วีดิทศั น์เด็กคลอด
ประเภทสารเคมีอนั ตราย
รู ้ได้อย่างไรว่าเป็ นสารเคมี ?
รู ้ได้อย่างไรว่าเป็ นอันตราย ?
NFPA
การทดสอบสารเคมีอนั ตรายข้อมูลจาก GTZ
Chemical burn caused by exposure to a
sodium hydroxide solution.
http://en.wikipedia.org/wiki/Chemical_burn
ผลของการได้รับสัมผัสตะกัว่ แบบเรื้ อรัง
ความผิดปกติของกรามในผูส้ มั ผัสฟอสฟอรัสขาว
ในโรงงานผลิตไม้ขีดไฟ
โรคอิไต อิไต
ความผิดปกติของผิวหนังในผูส้ มั ผัสสารกาจัดศัตรู พืช
ความผิดปกติของผิวหนังในผูส้ มั ผัสสารกาจัดศัตรู พืช
ความผิดปกติของผิวหนังในพนักงานผลิตยาฆ่าหญ้า
ความผิดปกติที่เกิดจากการดื่มกินยาฆ่าหญ้า
แผลที่ปากและลิ้น ที่เกิดจาก
การดื่มกิน พาราควอท หรื อ
กรัมม็อกโซน โดยอุบตั ิเหตุ
พาราควอท ออกฤทธิ์โดยการ
เกิดอนุมูลอิสระ ทาลายเซลล์
ต่างๆของร่ างกาย และเสี ยชีวิต
จากการขาดอากาศหายใจ
ภาพ : What’s your poison? Environment Justice Foundation
ความผิดปกติที่เกิดจากการสัมผัสสาร ENDOSULFAN
เด็กหญิงคนนี้พิการเพราะได้รับสารอ็นโดซัลแฟน
( ENDOSULFAN) จากยาฆ่าหอยเชอรี่ ยอดฮิตของชาวนาที่มารดา
ได้รับขณะตั้งครรภ์ ซึ่งสารเอนโดซัลแฟนสามารถผ่านรกได้ และ
ทาลายการสร้างการพัฒนาอวัยวะของทารก
ภาพ : What’s your poison?. Environment Justice Foundation
ความผิดปกติที่เกิดจากการสัมผัสสาร ENDOSULFAN
เด็กคนนี้พิการและเสี ยชีวิต
ในเวลาไม่นาน เนื่องจากพิษ
ของสารเคมีเอ็นโดซัลแฟน
(ENDOSULFAN) ที่มารดา
ได้รับขณะตั้งครรภ์ซ่ ึงสาร
เอนโดซัลแฟนสามารถผ่านรกได้
และทาลายการสร้างการพัฒนา
อวัยวะของทารก
ภาพ : What’s your poison?. Environment Justice Foundation
Paracelsus (1493-1541)
“ all substances are poisons :
there is none which is not a poison.
The right dose differentiates a poison
and a remedy ”
ทางที่สารเคมีเข้าสู่ร่างกาย
การกิน
การหายใจ
ทางผิวหนัง
ปัจจัยที่มีผลต่อการรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย
ทางที่สารเคมีเข้าสู่ร่างกาย
ระยะเวลา และความถี่ ที่ได้รับสารเคมี
ปริ มาณสารเคมีในร่ างกาย
การเกิดพิษของสารเคมี
การเกิดพิษเฉี ยบพลัน
การเกิดพิษเรื้ อรัง
ลักษณะความเป็ นพิษของสารเคมีต่อร่ างกาย
ทาให้ขาดอากาศหายใจ
ทาให้ระคายเคือง
มีผลต่อระบบการสร้างโลหิ ต
มีผลต่อระบบประสาท
ลักษณะความเป็ นพิษของสารเคมีต่อร่ างกาย
 มีผลต่อกระดูก
มีผลต่อระบบทางเดินหายใจ
ทาให้เกิดความผิดปกติทางพันธุกรรม
ทาให้เกิดมะเร็ ง
2. การปฏิบตั ิตนเบื้องต้น
เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน
ปฏิบตั ิตามเอกสารข้อมูล
ความปลอดภัย
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย
Safety Data Sheet (SDS)
ข้อมูลประกอบด้วย
1. ข้อมูลเกี่ยวกับสารเคมีและบริ ษทั ผูผ้ ลิต
และผูจ้ ดั จาหน่าย
2. องค์ประกอบ/ข้อมูลเกี่ยวกับส่ วนผสม
3. ข้อมูลเกี่ยวกับอันตราย
4. มาตรการปฐมพยาบาล
5. มาตรการการผจญเพลิง
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย
Safety Data Sheet (SDS)
ข้อมูลประกอบด้วย
6. มาตรการเมื่อมีอุบตั ิเหตุสารหกรั่วไหล
7. ข้อปฏิบตั ิการใช้สารและการเก็บรักษา
8. การควบคุมการสัมผัสสาร การป้ องกันอันตราย
ส่ วนบุคคล
9. สมบัติทางเคมีและกายภาพ
10. ความเสถียรและความว่องไวต่อปฏิกิริยา
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย
Safety Data Sheet (SDS)
ข้อมูลประกอบด้วย
11. ข้อมูลทางพิษวิทยา
12. ข้อมูลเชิงนิเวศน์
13. มาตรการการกาจัด
14. ข้อมูลการขนส่ ง
15. ข้อมูลเกี่ยวกับข้อกาหนด
16. ข้อมูลอื่นๆ
คาแนะนาทัว่ ๆ ไป เมื่อได้รับสารเคมีอนั ตราย
เมื่อหายใจเอาฟูมหรื อไอสารเข้าไป ให้พยายามออกไป
ที่อากาศบริ สุทธิ์ และพบแพทย์
เมื่อสารเข้าตา ให้ชะล้างตาด้วยน้ าสะอาดจานวนมากๆ
นานอย่างน้อย 15 นาที และพบแพทย์
เมื่อสัมผัสทางผิวหนัง ให้ลา้ งด้วยน้ าสะอาด ถอดเสื้ อผ้า
ที่เปื้ อนออกทันที ชาระล้างร่ างกายและพบแพทย์
คาแนะนาทัว่ ๆไป เมื่อได้รับสารเคมีอนั ตราย (ต่อ)
 เมื่อกินสารเคมีหรื อวัตถุอนั ตรายเข้าไป ห้ามทาให้อาเจียน
และพบแพทย์
เมื่อเกิดแผลไหม้และแผลพุพอง บริ เวณที่ได้รับบาดเจ็บ
ควรทาให้เย็นโดยเร็ ว ด้วยน้ าเย็น จนทุเลาความเจ็บปวด
เมื่อผิวหนังหลุดให้ปิดแผล ด้วยผ้าพันแผลที่ฆ่าเชื้อโรคแล้ว
และพบแพทย์
ต้องได้รับการดูแลรักษาจากแพทย์หลังจากได้รับการ
ปฐมพยาบาลเบื้องต้นแล้วทุกกรณี
คาแนะนาทัว่ ๆไป เมื่อเกิดสารเคมีหกรั่วไหล
 ออกจากทีเ่ กิดเหตุ
 แจ้ งเจ้ าหน้ าทีค่ วามปลอดภัยในการทางาน
 ปฏิบัตติ ามเอกสารข้ อมูลความปลอดภัย
3. มาตรการการป้ องกัน
ปฏิบตั ิตามเอกสารข้อมูลความปลอดภัย
มาตรการการใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย
มาตรการเก็บรักษาสารเคมีอย่างปลอดภัย
ใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่ วนบุคคลที่เหมาะสม
4. การหลีกเลี่ยงอุบตั ิเหตุ
ปรึ กษาหารื อ ทางานกลุ่ม 40 นาที
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี
ตับ