ppt. - กอง การ สัสดี

Download Report

Transcript ppt. - กอง การ สัสดี

พันเอก ไตรจักร์ นาคะไพบูลย์
ผู้อานวยการกองการสั สดี หน่ วยบัญชาการรักษาดินแดน
หน้ าที่ของชายไทยตามกฎหมาย
บุคคลมีหน้ าทีป่ ้ องกันประเทศ รักษาผลประโยชน์
ของชาติและปฏิบัติตามกฎหมาย
.. รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐
หมวด ๔ มาตรา ๗๑
บุคคลมีหน้ าทีร่ ับราชการทหาร.. ทั้งนี้
ตามที่กฎหมายบัญญัติ
.. รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ.๒๕๕๐ หมวด ๔ มาตรา ๗๓
พระราชบัญญัติรับราชการทหาร พ.ศ.๒๔๙๗
ชายที่มีสัญชาติเป็ นไทยตามกฎหมาย มีหน้ าที่
รับราชการทหารด้ วยตนเองทุกคน
.. หมวด ๑ มาตรา ๗
คาจากัดความ
๑ วิธีนับอายุ ถ้ าเกิดพุทธศั กราชใดให้ ถือว่ ามีอายุครบหนึ่งปี
บริ บูรณ์ เมื่อสิ้ นพุทธศั กราชที่เกิดนั้ น ส่ วนการนั บอายุ
ต่ อไปให้ นับแต่ เฉพาะปี ทีส่ ิ้นพุทธศักราชแล้ว ถ้ าไม่ ปรากฏ
ปี เกิดให้ นายอาเภอท้ องที่เป็ นผู้กาหนด ตามทีก่ าหนดใน
กฎกระทรวง
๒ ทหารกองเกิน หมายความว่ า ผู้ซึ่งมีอายุต้ังแต่ สิบแปดปี
บริ บู ร ณ์ และยั ง ไม่ ถึ ง สามสิ บ ปี บริ บู ร ณ์ ซึ่ ง ได้ ล งบั ญ ชี
ทหารกองเกินตามมาตรา ๑๖ หรื อผู้ซึ่งได้ ลงบัญชี ทหาร
กองเกินตามมาตรา ๑๘ แล้ ว
คาจากัดความ
๓ ทหารกองประจาการ หมายความว่ า ผู้ซึ่งขึน้ ทะเบียนกอง
ประจาการ และได้ เข้ ารับราชการในกองประจาการจนปลด
๔ ทหารกองหนุนประเภทที่ ๑ หมายความว่ า ทหารทีป่ ลดจาก
กองประจาการโดยรับราชการในกองประจาการจนครบ
กาหนด หรือทหารกองเกินซึ่งสาเร็จฝึ กวิชาทหารตาม
กฎหมาย ฯ
ม.๑๖
บรรดาชายซึ่งมีสัญชาติไทย เมือ่ มีอายุย่างเข้ า
สิ บแปดปี ในพุทธศักราชใดให้ ไปแสดงตนเพือ่ ลงบัญชี
ทหารกองเกินภายในพุทธศักราชนั้น
ปี เกิด + ๑๗ = ลงบัญชีปีนั้น
ม.๕
บุคคลซึ่งต้ องลงบัญชีทหารกองเกิน
ให้ ลงบัญชีที่อาเภอดังต่ อไปนี้
(๑) บุคคลซึ่งบิดายังมีชีวติ อยู่หรือถ้ าบิดาถึงแก่กรรมแล้ว
มารดายังมีชีวติ อยู่ หรือถ้ าทั้งบิดาและมารดาถึงแก่กรรม
แล้ วมีผู้ปกครองให้ ลงบัญชีทหารกองเกินทีอ่ าเภอท้ องทีท่ ี่
บิดาหรือมารดาหรือผู้ปกครองมีภูมลิ าเนาแล้ วแต่ กรณี
(๒) บุคคลซึ่งเกิดนอกสมรสและ บิดามิได้ จดทะเบียน
รับรองบุตร หรือถ้ ามารดาถึงแก่ กรรมแล้ วมีผู้ปกครอง
ลงบั
ญ
ชี
ท
หารกองเกิ
น
ที
อ
่
าเภอท้
อ
งที
ท
่
่
ี
ม
ารดา
ให้
หรือผู้ปกครองมีภูมลิ าเนาแล้ วแต่ กรณี
(๓) บุคคลนอกจากที่กล่าวใน (๑) และ (๒)
หรื อบุคคลที่ไม่อาจลงบัญชีทหารกองเกินตาม (๑)
หรื อ (๒) ได้ไม่วา่ ด้วยกรณี ใดก็ตาม
ให้
ลงบัญชีทหารกองเกินที่อาเภอท้องที่ที่
บุคคลนั้นมีภูมิลาเนา ถ้าบุคคลนั้นไม่ปรากฏ
ภูมิลาเนาก็ให้ลงบัญชีทหารกองเกินทีอ่ าเภอ
ท้องที่ที่พบตัวบุคคลนั้น ฯลฯ
๑. บัตรประจาตัวประชาชน
๒. สาเนาทะเบียนบ้ านฉบับเจ้ าบ้ าน
๓. สู ตบิ ัตร
ม.๑๘ บุคคลซึ่งยังมิได้ ลงบัญชีทหารกองเกิน
ที่อาเภอพร้ อมกับคนชั้นปี เดียวกันเพราะเหตุ
ใด ๆ ก็ดี ถ้ าอายุยงั ไม่ ถงึ สี่ สิบหกปี บริบูรณ์ ให้
ปฏิบัติทานองเดียวกับ ม.๑๖ ภายในสามสิ บวัน
นับแต่ วนั ที่สามารถจะปฏิบัติได้ แต่ จะให้ ผู้อนื่
แจ้ งแทนไม่ ได้ ฯลฯ
ผู้ทลี่ งบัญชีทหารกองเกินตาม ม.๑๖ ให้ ถือว่ า
เป็ นทหารกองเกินตั้งแต่
วันที่ ๑ มกราคม ของ พ.ศ.ถัดไป
ผู้ทลี่ งบัญชีทหารกองเกินตาม ม.๑๘ ให้ ถือว่ า
เป็ นทหารกองเกินตั้งแต่
วันที่ลงบัญชีทหารกองเกิน
หน้ าที่ชายไทยตาม พ.ร.บ.รับราชการทหารฯ
บรรดาชายซึ่งมีสัญชาติไทย เมือ่ มีอายุย่างเข้ าสิ บแปดปี
ในพุทธศักราชใด ให้ ไปแสดงตนเพือ่ ลงบัญชีทหารกองเกินภาย
ในพุทธศักราชนั้น
... หมวด ๓ มาตรา ๑๖
อธิบาย
๑๗ ปี บริบูรณ์
ม.ค. – ธ.ค.
ลงบัญชีทหาร
เขต/อาเภอภูมลิ าเนาบิดา/มารดา/ผู้ปกครอง/ตนเอง... แล้ วแต่ กรณี
๒๕๔๐ + ๑๗ = ๒๕๕๗
๒๕๔๑ + ๑๗ = ๒๕๕๘
๒๕๔๒ + ๑๗ = ๒๕๕๙
ทหารกองเกินเมือ่ มีอายุย่างเข้ ายีส่ ิ บเอ็ดปี ในพุทธศักราชใด
ต้ องไปแสดงตนเพือ่ รับหมายเรียกทีอ่ าเภอท้ องทีซ่ ึ่งเป็ นภูมลิ าเนา
ทหารของตนภายในพุทธศักราชนั้น ... หมวด ๔ มาตรา ๒๕
อธิบาย
๒๐ ปี
ม.ค. – ธ.ค.
รับหมายเกณฑ์
ปี เกิด + ๒๐ = ปี รับหมายเรียก
๒๕๓๖ + ๒๐ = ๒๕๕๖ เกณฑ์ ๕๗
๒๕๓๗ + ๒๐ = ๒๕๕๗ เกณฑ์ ๕๘
๒๕๓๘ + ๒๐ = ๒๕๕๘ เกณฑ์ ๕๙
ทหารกองเกินซึ่งถูกเรียกต้ องมาให้ คณะกรรมการตรวจ
เลือกทาการตรวจเลือกตามกาหนดนั้น... ถ้ าไม่ มาหรือ
มาแต่ ไม่ เข้ ารับการตรวจเลือก... หรือไม่ อยู่จนกว่ าการตรวจ
เลือกแล้ วเสร็จ.... ให้ ถือว่ าทหารกองเกินนั้นหลีกเลีย่ งขัดขืน
... หมวด ๔ มาตรา ๒๗
๒๑ ปี
๑ - ๑๒ เม.ย.
ตรวจเลือกทหาร
ความผิดตาม พ.ร.บ.รับราชการทหาร พ.ศ.๒๔๙๗
๑. มาตรา ๔๔ ไม่ ไปลงบัญชีทหาร/ไม่ ไปรับหมายเกณฑ์
ตามกาหนด จาคุกไม่ เกิน ๓ เดือน หรือปรับไม่ เกิน
๓๐๐ บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ
๒. มาตรา ๔๕ ไม่ เข้ ารับการตรวจเลือกจาคุกไม่ เกิน ๓ ปี
๓. กรณีในข้ อ ๒ หากศาลตัดสิ นว่ ามีความผิด เมื่อเข้ าเกณฑ์
จะถูกให้ เป็ นทหารโดยไม่ มีสิทธิจับสลาก
นักศึกษาวิชาทหาร เมื่อศึกษาจนจบปี ที่ ๓ แล้ ว
จะได้ รับการขึน้ ทะเบียนและนาปลดเป็ นทหารกองหนุน
แต่ งตั้งยศและมีสภาพเป็ นกาลังพลสารอง จะต้ องปฏิบัติ
หน้ าที่ตามมาตรา ๓๖ ตามราชการกาหนด
(๑:๑:๑:๓:)
ทหารกองเกินหรือทหารกองหนุนมีหน้ าทีเ่ ข้ ารับราช
การทหาร ในการเรียกพลเพือ่ ตรวจสอบ เพือ่ ฝึ กวิชาทหาร
หรือเพือ่ ทดลองความพรั่งพร้ อม และในการระดมพล
... หมวด ๕ มาตรา ๓๖
ผู้ใดหลีกเลีย่ งขัดขืน ไม่ เข้ ารับการเรียกพลเพือ่ ฝึ ก
วิชาทหาร เพือ่ ทดลองความพรั่งพร้ อม หรือการระดมพล
ตาม ม. ๓๖ ต้ องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ ๓ เดือน ถึง ๔ ปี
... หมวด ๗ มาตรา ๔๖
ผู้ใดหลีกเลีย่ งขัดขืน ไม่ เข้ ารับการเรียกพลเพือ่ ตรวจสอบ
ตาม ม.๓๖ ระวางโทษจาคุกไม่ เกิน ๓ เดือน หรือปรับไม่ เกิน
๓๐๐ บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ
... หมวด ๗ มาตรา ๔๗
การยกเว้ นสาหรับการเข้ ารับราชการทหารฯ
การยกเว้นไม่ ต้องเข้ ารับราชการทหารฯ (ยกเว้นตลอดไป) ได้ แก่ มาตรา ๑๓
(๑) พระภิกษุที่มีสมณศักดิ์/เป็ นเปรียญและนักบวชในพระพุทธศาสนา
แห่ งนิกายจีนหรือญวนที่มีสมณศักดิ์
(๒) คนพิการทุพพลภาพซึ่งไม่ สามารถเป็ นทหารได้
(๓) บุคคลซึ่งไม่ มีคุณวุฒิที่จะเป็ นทหารได้ เฉพาะ
บางท้ องที่ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
การยกเว้ นสาหรับการเข้ ารับราชการทหารฯ
การยกเว้นไม่ เรียกมาตรวจเลือกเข้ ารับราชการทหาร
ในยามปกติได้ แก่ มาตรา ๑๔ บุคคลดังต่ อไปนี้ เมื่อลงบัญชีทหาร
กองเกินแล้วไม่ เรียกมาตรวจเลือกฯ ในยามปกติ
(๑) พระภิกษุ สามเณร และนักบวชในพระพุทธศาสนา
ที่เป็ นนักธรรม ตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง
(๒) นักบวชศาสนาอืน่ ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
และผู้ว่าราชการจังหวัดออกใบสาคัญให้
(๓) บุคคลซึ่งอยู่ในระหว่ างการฝึ กวิชาทหารตาม
กฎหมายว่าด้ วยการส่ งเสริมการฝึ กวิชาทหาร
การยกเว้ นสาหรับการเข้ ารับราชการทหารฯ
(๔) นักเรียนโรงเรียนเตรียมทหาร
(๕) ครู ซึ่งประจาทาการสอนหนังสื อหรือวิชาการ
ทั้งนีต้ ามทีก่ าหนดในกฎกระทรวง
(๖) นักศึกษาของศูนย์ กลางอบรมการศึกษาผู้ใหญ่
ของกระทรวงศึกษาธิการ
(๗) นักศึกษาของศูนย์ ฝึกการบินพลเรือน
ของกระทรวงคมนาคม
การยกเว้ นสาหรับการเข้ ารับราชการทหารฯ
(๘) บุคคลซึ่งได้ สัญชาติไทยโดยการแปลงสั ญชาติ
(๙) บุคคลซึ่งได้ รับโทษจาคุกตั้งแต่ สิบปี ขึน้ ไป
หรือเคยได้ รับโทษจาคุกหลายครั้งรวมกันตั้งแต่ สิบปี
ขึน้ ไปหรือเคยถูกศาลพิพากษาให้ กกั กัน
การยกเว้ นสาหรับการเข้ ารับราชการทหารฯ
ครู ทจี่ ะมีสิทธิได้ รับการยกเว้ น ตามมาตรา ๑๔ (๕)
- เป็ นครู ประจาทาการสอนนักเรียน นิสิตหรือนักศึกษา
- จานวนนักเรียน นิสิต นักศึกษาไม่ น้อยกว่ า ๑๕ คนเป็ นปกติ
- มีเวลาสอนไม่ น้อยกว่ า ๑๘ ชม. /สั ปดาห์ สาหรับครู
ประจาทาการสอนตั้งแต่ มัธยมศึกษาลงมา
หรือไม่ น้อยกว่ า ๑๕ /สั ปดาห์ ชั่วโมงสาหรับครู ประจา
ทาการสอนในสถานศึกษาระดับสู งกว่ ามัธยมศึกษา
การยกเว้ นสาหรับการเข้ ารับราชการทหารฯ
การดาเนินการขอยกเว้ น
ให้ ผ้ ูมีสิทธิทจี่ ะขอยกเว้ นยืน่ หลักฐานต่ อนายอาเภอท้ องที่
ถึงผู้ว่าราชการจังหวัด แล้ วแต่ กรณี เพือ่ ขอยกเว้ นก่ อนการ
ตรวจเลือกฯ ในปี นั้น
การผ่ อนผันสาหรับการเข้ ารับราชการทหารฯ
การผ่ อนผัน
บุคคลทีไ่ ด้ รับการผ่ อนผันฯตาม พ.ร.บ.
รับราชการทหารพ.ศ.๒๔๙๗ กาหนดไว้ ใน
มาตรา ๒๗ และมาตรา ๒๙
การผ่ อนผันสาหรับการเข้ ารับราชการทหารฯ
มาตรา ๒๗
(๑) ข้ าราชการซึ่งได้ รับคาสั่ งของผู้บังคับบัญชา
ให้ ไปราชการอันสาคัญยิง่
(๒) นักเรียนซึ่งออกไปศึกษาวิชา ณ ต่ างประเทศ
ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
(๓) ข้ าราชการหรือผู้ปฏิบัตงิ านในสถานทีร่ าชการ
หรือโรงงานอืน่ ใดในระหว่ างที่มีการรบหรือการสงคราม
การผ่ อนผันสาหรับการเข้ ารับราชการทหารฯ
(๔) บุคคลซึ่งกาลังปฏิบัตงิ านในราชการสนาม
(๕) เกิดเหตุสุดวิสัย
(๖) ไปเข้ าตรวจเลือกที่อนื่
(๗) ป่ วยไม่ สามารถจะมาได้ โดยให้ บุคคลซึ่งบรรลุนิติภาวะ
และเชื่อถือได้ มาแจ้ งต่ อคณะกรรมการตรวจเลือก
การผ่ อนผันสาหรับการเข้ ารับราชการทหารฯ
มาตรา ๒๙
(๑) บุคคลทีจ่ าเป็ นต้ องหาเลีย้ งบิดาหรือมารดาซึ่ง
ไร้ ความสามารถ/พิการทุพพลภาพ/ชราจนหาเลีย้ งชีพไม่ ได้
(๒) บุคคลทีจ่ าเป็ นต้ องหาเลีย้ งบุตรซึ่งมารดาตาย
หรือไร้ ความสามารถ หรือพิการทุพพลภาพ (รวมทั้งพีห่ รือ
น้ องร่ วมบิดาหรือมารดาด้ วย)
(๓) บุคคลทีอ่ ยู่ในระหว่ างการศึกษาตามทีก่ าหนด
ในกฎกระทรวง
การผ่ อนผันสาหรับการเข้ ารับราชการทหารฯ
การดาเนินการขอผ่ อนผัน
- บุคคลทีม่ ีสิทธิผ่อนผันตามมาตรา ๒๗(๑) (๓) และ(๔)
ให้ ส่วนราชการทีเ่ กีย่ วข้ องแจ้ งต่ อผู้ว่าราชการจังหวัดผ่ อนผันให้
- สาหรับบุคคลทีม่ ีสิทธิผ่อนผันตามมาตรา๒๗(๒)ให้ สานักงาน กพ.,
ผู้ขอผ่ อนผัน หรือผู้ปกครองแล้ วแต่ กรณีขอผ่ อนผันต่ อ
- ผู้ว่าราชการกรุงเทพฯ/ผู้ว่าราชการจังหวัด กรณีทุนรัฐบาล
- ผู้อานวยการเขต/นายอาเภอ กรณีทุนส่ วนตัว
ทั้งนี้ ก่ อนการตรวจเลือกในปี นั้น
การผ่ อนผันสาหรับการเข้ ารับราชการทหารฯ
การขอผ่ อนผันตามมาตรา ๒๙(๑)และ(๒)
ให้ ผ้ ูขอผ่ อนผัน ขอผ่ อนผันต่ อนายอาเภอท้ องทีก่ ่ อน
วันตรวจเลือกฯไม่ น้อยกว่ า ๓๐ วันเพือ่ พิจารณา เว้ นกรณีพเิ ศษ
ซึ่งไม่ ใช่ ความผิดของผู้ร้องให้ ร้องต่ อประธานกรรมการ
ตรวจเลือกในวันตรวจเลือกฯ สาหรับผู้อยู่ระหว่ างการศึกษา
ตามมาตรา ๒๙(๓) ให้ สถาบันการศึกษาส่ งรายชื่อให้
ผู้ว่าราชการจังหวัดเพือ่ ขอผ่ อนผันภายในเดือน ก.พ. ของปี
ที่จะเข้ ารับการตรวจเลือกฯ
การยกเว้ น/ผ่ อนผันสาหรับการเข้ ารับราชการทหารฯ
มาตรา ๑๕
บุคคลซึ่งพ้นจากฐานะยกเว้ น/ผ่ อนผันตามที่
กาหนดไว้ ในมาตรา ๑๓(๑) มาตรา ๑๔(๑),(๒),(๓),(๕),(๖)
หรือ(๗) มาตรา ๒๗(๒) หรือ ๒๙(๓) ให้ แจ้ งด้ วยตนเอง
ต่ อนายอาเภอภูมิลาเนาทหารภายในสามสิ บวันนับแต่ วนั ที่
พ้นฐานะเช่ นนั้น เพือ่ รับหมายเรียกฯเข้ ารับการตรวจเลือกฯ
ในปี ต่ อไป หรือเพือ่ ดาเนินการทางบัญชีทหารฯที่เกีย่ วข้ อง
ขั้นตอนการเกณฑ์ ทหารและการปฏิบัติ
๑. เตรียมร่ างกาย
๒. เตรียมหลักฐาน
บัตรประชาชน, สด.๙, หมายเกณฑ์ , หลักฐานการศึกษา,
ใบรับรองแพทย์ และประวัติการรักษา(ถ้ ามี)
๓. ไปถึงสถานที่ก่อนเวลา ๐๗๐๐
๔. รอฟังเรียกชื่อตามลาดับ (อย่ าให้ พลาด)
๑. เรียกชื่อ ตรวจหลักฐาน พิมพ์ลายนิว้ มือ
๒. ตรวจความสมบูรณ์ ของร่ างกาย
คนจาพวกที่ ๑ : ร่ างกายสมบูรณ์ ไม่ พกิ ารหรือมีโรคทีข่ ดั ต่ อ
(จับสลาก)
การรับราชการทหาร
คนจาพวกที่ ๒ : ร่ างกายเห็นได้ ชัดว่ าไม่ สมบูรณ์ ดเี หมือนคน
(คัดออก)
จาพวกที่ ๑ แต่ ไม่ ถึงทุพพลภาพ
คนจาพวกที่ ๓ : ร่ างกายยังไม่ แข็งแรงพอเพราะป่ วยซึ่งจะ
(เกณฑ์ ใหม่ )
บาบัดให้ หายภายในกาหนด ๓๐ วันไม่ ได้
คนจาพวกที่ ๔ : พิการทุพพลภาพ หรือมีโรคทีไ่ ม่ สามารถ
(คัดออก)
รับราชการทหารได้
๓. วัดขนาดร่ างกาย
๑. คนจาพวกที่ ๑ ได้ ขนาด
สู ง ๑๖๐ ซม. รอบตัว ๗๖ ซม. ขึน้ ไป ... จับสลาก
๒. คนจาพวกที่ ๑ ขนาดถัดรอง
สู ง ๑๕๙-๑๔๖ ซม. รอบตัว ๗๖ ซม.ขึน้ ไป ... ปล่ อย
๓. คนจาพวกที่ ๑ ไม่ ได้ ขนาด
สู งต่ากว่ า ๑๔๖ ซม. รอบตัวต่ากว่ า ๗๖ ซม ... ปล่ อย
๔. จับสลาก
ใบดา
ใบแดง
:
:
ปล่อย
รับราชการตามกาหนด
ผลัด ๑
ผลัด ๒
ผลัด ๒
ผลัด ๓
ผลัด ๔
๑ พ.ค.(ทบ.,ทอ.,ทร.)
๑ พ.ย.(ทบ.,ทอ.)
๑ ส.ค.(ทร.)
๑ พ.ย.(ทร.)
๑ ก.พ.(ปี ถัดไป)
สิ ทธิต่างๆ ในการเกณฑ์ ทหาร
การลดวันรับราชการ
รด.ปี ๑
... สมัคร ๑ ปี จับสลาก ๑ ปี ๖ เดือน
รด.ปี ๒, ป.ตรี , ปวส. , อนุปริญญา
... สมัคร ๖ เดือน จับสลาก ๑ ปี
ม.๖ หรือเทียบเท่ า
... สมัคร ๑ ปี
ต้ องยืน่ คาร้ องพร้ อมหลักฐานในวันเกณฑ์ เท่ านั้น!!
การขอสละสิ ทธิผ่อนผัน
๑. แจ้ งต่ อเขต/อาเภอ ภูมลิ าเนาทหาร
๒. แจ้ งต่ อกรรมการในวันเกณฑ์
- ยืน่ คาร้ องภายใน ๑๒.๐๐ น.
ข้ อแนะนา
๑. หากคิดว่ าตนเองมีโรคที่ขัดต่ อการเป็ นทหาร ให้ ไปขอรับ
การตรวจโรคก่ อนเกณฑ์ ได้ ที่โรงพยาบาลในสั งกัดกองทัพ
บกทั่วประเทศ ตั้งแต่ ต.ค. – ๒๐ ก.พ. ของปี ที่เกณฑ์
๒. ผู้เข้ าตรวจเลือกทุกคนจะต้ องได้ รับใบรับรองผลการ
ตรวจเลือก (แบบ สด.๔๓) จากประธานกรรมการในวัน
เกณฑ์ เท่ านั้น จึงจะถือว่ าได้ ผ่านการเกณฑ์ โดยถูกต้ อง
ตามกฎหมาย
เรื่องอืน่ ๆ ที่เกีย่ วข้ องการตรวจเลือกฯ
กฎกระทรวงฉบับที่ ๗๕ (พ.ศ. ๒๕๕๕)
ให้ เพิม่ (๑๒) ของวรรคสาม ในข้ อ ๓ แห่ ง กฎกระทรวง
ฉบับที่ ๓๗ (พ.ศ. ๒๕๑๖) ซึ่งแก้ไขเพิม่ เติมโดยกฎกระทรวงฉบับที่ ๔๗
(พ.ศ. ๒๕๑๘) ดังนี้
“(๑๒) ภาวะเพศสภาพไม่ ตรงกับเพศกาเนิด (Gender Identity disorder)”
ภาวะเพศสภาพไม่ ตรงกับเพศกาเนิด
(Gender Identity Disorder)
1. ทาการแปลงเพศแล้ ว
2. ปรับเปลีย่ นร่ างกายให้ เป็ นสภาพของเพศหญิง
แต่ ยงั ไม่ แปลงเพศ
3. ไม่ ได้ แปลงเพศ และไม่ ได้ ปรับเปลีย่ นร่ างกาย
แต่ มหี นังสื อรับรองของ รพ.หรือสถาบันทางการแพทย์
ของรัฐ โดยแพทย์ ทางจิตเวชเป็ นผู้วนิ ิจฉัย
เรื่องอืน่ ๆ ที่เกีย่ วข้ องการตรวจเลือกฯ
กฎกระทรวงฉบับที่ ๗๖ (พ.ศ. ๒๕๕๕)
แก้ไขเพิม่ เติมกฎกระทรวง ฉบับที่ ๗๔(พ.ศ. ๒๕๔๐) ดังนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความ
“(ซ) ประสาทการเคลื่อนไหวลูกตาไม่ทางาน สู ญเสี ยอย่างถาวร
(Cranial nerve 3rd,4th, 6th)”
ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความใน (ก) ของ (๔) ในข้อ ๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(ก) โรคเลือดหรื ออวัยวะสร้างเลือดผิดปกติอย่างรุ นแรงและอาจเป็ น อันตรายถึงชีวิต”
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความใน (๕) ของข้อ ๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(๕) โรคระบบหายใจ
(ก)โรคหื ด (Asthma) ที่ได้รับการวินิจฉัยตามเกณฑ์การวินิจฉัย
เรื่องอืน่ ๆ ที่เกีย่ วข้ องการตรวจเลือกฯ
(ข) โรคทางปอดที่มีอาการไอ หอบเหนื่อย และมีการสูญเสี ยการทางานของระบบ
ทางเดินหายใจ โดยตรวจสอบสมรรถภาพปอดได้ค่า Forced Expiratory Volume
in One Secondหรื อ Forced Vital Capacity ต่ากว่าร้อยละ ๖๐ ของค่ามาตรฐานตามเกณฑ์
(ค) โรคความดันเลือดในปอดสูง (Pulmonary Hypertension) ซึ่ งวินิจฉัยโดย
การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสี ยงความถี่สูง (Echocardiogram) หรื อโดยการใส่ สายวัดความ
ดันเลือดในปอด
(ง) โรคถุงน้ าในปอด (Lung Cyst) ที่ตรวจวินิจฉัยได้โดยภาพถ่ายรังสี ทรวงอก
หรื อเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ปอด
(จ) โรคหยุดการหายใจขณะนอนหลับ (Obstructive Sleep Apnea) ซึ่ งวินิจฉัย
ด้วยการตรวจการนอนหลับ (Polysomnography)”
เรื่องอืน่ ๆ ที่เกีย่ วข้ องการตรวจเลือกฯ
ข้อ ๔ ให้ยกเลิกความใน (ก) ของ (๗) ในข้อ ๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(ก) โรคข้อหรื อความผิดปกติของข้อ ดังต่อไปนี้
๑) ข้ออักเสบเรื้ อรัง (Chronic Arthritis)
๒) ข้อเสื่ อมเรื้ อรัง (Chronic Osteoarthritis)
๓) โรคข้อและกระดูกสันหลังอักเสบเรื้ อรัง (Spondyloarthropathy)”
ข้อ ๕ ให้เพิม่ ความต่อไปนี้เป็ น (ช) ของ (๘) ในข้อ ๒
“(ช) ภาวะต่อมธัยรอยด์ทางานมากผิดปกติ (Hyperthyroidism)”
เรื่องอืน่ ๆ ที่เกีย่ วข้ องการตรวจเลือกฯ
ข้อ ๖ ให้ยกเลิกความใน (๑๑) ของข้อ ๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(๑๑) โรคทางจิตเวช
(ก) โรคจิตที่มีอาการรุ นแรงหรื อเรื้ อรัง
๑) โรคจิตเภท (Schizophrenia)
๒) โรคจิตกลุ่มหลงผิด (Resistant Delusional Disorder, Induced Delusional
Disorder)
๓) โรคสคิซโซแอฟแฟ็ คทีป (Schizoaffective Disorder)
๔) โรคจิตที่เกิดจากโรคทางกาย (Other Mental Disorder due to Brain
Damage and Dysfunction)
๕) โรคจิตอื่น ๆ (Unspecified Nonorganic Psychosis)
เรื่องอืน่ ๆ ที่เกีย่ วข้ องการตรวจเลือกฯ
(ข) โรคอารมณ์แปรปรวนที่มีอาการรุ นแรงหรื อเรื้ อรัง
๑) โรคอารมณ์แปรปรวน (Manic Episode, Bipolar Affective Disorder)
๒) โรคอารมณ์แปรปรวนที่เกิดจากโรคทางกาย (Other Mental Disorder
due to Brain Damage and Dysfunction and to Physical Disorder)
๓) โรคอารมณ์แปรปรวนอื่น ๆ (Other Mood (Affective) Disorder,
Unspecified Mood Disorder)
๔) โรคซึ มเศร้า (Depressive Disorder, Recurrent Depressive Disorder)
(ค) โรคพัฒนาการทางจิตเวช
๑) จิตเจริ ญล่าช้าที่มีระดับเชาว์ปัญญา ๗๐ หรื อต่ากว่า (Mental Retardation)
๒) โรคหรื อความผิดปกติในการพัฒนาการของทักษะทางสังคมและภาษา
(Pervasive Developmental Disorder)”
เรื่องอืน่ ๆ ที่เกีย่ วข้ องการตรวจเลือกฯ
ข้อ ๗ ให้ยกเลิกความใน (ค) ของ (๑๒) และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(ค) ตับอักเสบเรื้ อรัง (Chronic Hepatitis)”
ข้อ ๘ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็ น (ฌ) ของ (๑๒) ในข้อ ๒
“(ฌ) โรคผิวหนังลอกหลุดตัวผิดปกติแต่กาเนิ ดชนิ ดเด็กดักแด้ (Lamellar Ichthyosis
& Congenital Ichthyosiform Erythroderma)”
สอบถามเพิม่ เติม
๑. สั สดีเขต, สั สดีอาเภอ, สั สดีจังหวัด
๒. เว็บไซต์ www.sussadee.com
๓. เบอร์ โทร ๐ - ๒๒๒๓ - ๓๒๕๙