ทิศทาง ผลกระทบการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (AC)

Download Report

Transcript ทิศทาง ผลกระทบการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (AC)

1
ทิศทาง ผลกระทบการเข้ าสู่ ประชาคมอาเซียน (AC)
นายนพพล พุชประดิษฐ์ นักวิชาการพาณิ ชย์
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
5 มีนาคม 2556 (9.30-12.00 น.)
จังหวัดระนอง
เนือ้ หาที่จะนาเสนอ
2
1
จากอาเซียนสู่ ประชาคมอาเซียน (ASEAN
Community)
2
ความเปลีย่ นแปลงของการค้าโลก
3
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN
Economic Community)
4
ASEAN วาระแห่ งชาติ
จากอาเซียนสู่ ประชาคมอาเซียน
(ASEAN Community)
3
ASEAN (Association of South East Asian Nations)
อาเซียน : สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
ปี 2540
ปี 2540
ปี 2510
CAMBODIA
ปี 2542
ปี 2510
ปี 2510
ปี 2538
ปี 2510
ปี 2510
ปี 2527
4
จากอาเซียนสู่ ประชาคมอาเซียน
(ASEAN Community)
2510
Bangkok Declaration
ประเทศไทย โดย พอ. พิเศษ
ดร. ถนัด คอมันตร์ (อดีต
รมว. กระทรวงการ
ต่างประเทศ ผูผ้ ลักดันการ
รวมกลุ่ม ASEAN ได้สาเร็ จ
5
จากอาเซียนสู่ ประชาคมอาเซียน
(ASEAN Community)
กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) = ธรรมนูญแห่ งอาเซียน
เป็ นการจัดโครงสร้ างอาเซียน โดย
การปรับปรุงระบบและกลไกการ
ทางานภายในอาเซียนให้ มี
ประสิ ทธิภาพ
 ให้ ความสาคัญกับการมีส่วนร่ วม
ของประชาชนมากขึน้

จากอาเซียนสู่ ประชาคมอาเซียน
(ASEAN Community)
6
ASEAN Community = ประชาคมอาเซียน (2558)
ASEAN
PoliticalSecurity
Community:
ประชาคม
ความมั่นคง
อาเซียน
ASEAN
Economic
Community
: ประชาคม
เศรษฐกิจ
อาเซียน
ASEAN SocioCultural
Community:
ประชาคม
สั งคมวัฒนธรรม
อาเซียน
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
7
เป้าหมาย: เพื่อให้เป็ นสังคมเป็ นเอกภาพ เอื้ ออาทรต่อกัน มีความเป็ นอยูท่ ี่ดี
พัฒนาทุกด้าน และมีความมัน่ คงทางสังคม โดย
การพัฒนา
มนุ ษย์
การคุม้ ครองและสวัสดิการสังคม
เน้นการบูรณาการด้านการศึกษา สร้างสังคมความรู้ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ส่งเสริ มการจ้างงานที่เหมาะสม ส่งเสริ ม ICT การเข้าถึงวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
ขจัดความยากจน สร้างเครือข่ายความปลอดภัยทางสังคม ส่งเสริมความ
มัน่ คงและความปลอดภัยด้านอาหาร การควบคุมโรคติดต่อ
คุม้ ครองสิทธิผดู้ อ้ ยโอกาส แรงงานย้ายถิ่นฐาน ส่งเสริมความรับผิดชอบ
ต่อสังคมองค์กรธุรกิจ
การจัดการปั ญหาสิ่งแวดล้อมของโลก ปั ญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อม
ส่งเสริมความยัง่ ยืนด้านสิ่งแวดล้อม ข้ามแดน การเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ ส่งเสริมการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติ
ความยุติธรรมและสิทธิ
สร้างความรูส้ ึกเป็ นเจ้าของ อนุ รกั ษ์มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน
ส่งเสริมการสร้างสรรค์ดา้ นวัฒนธรรม ลดช่องว่างด้านการพัฒนา
ประชาคมการเมืองและความมั ่นคง
8
เป้ าหมาย: ประชาธิปไตย โปร่ งใส มีธรรมมาภิบาล คุ้มครองสิ ทธิมนุษยชน ความร่ วมมือเพือ่ ความสงบ
สุ ขเป็ นเอกภาพ
องค์ประกอบ
มีกฎเกณฑ์ บรรทัดฐาน
และค่านิ ยมร่วมกัน
มีเอกภาพ สงบสุข
แข็งแกร่ง และรับผิดชอบ
แก้ปัญหาความมัน่ คง
มีพลวัตร
คงความเป็ นศูนย์กลาง
และบทบาทของอาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
9
เป้าหมาย
1. การเป็ นตลาดและฐานการผลิตร่วม
2. การสร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน
3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค
4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
9
ความเชื่อมโยงของอาเซียน (ASEAN Connectivity)
10
Physical Connectivity
Institutional
Connectivity
People to People
Connectivity
ความเชื่อมโยงของอาเซียน (ASEAN Connectivity)
11
Physical Connectivity
ความเชื่อมโยงโครงสร้ าง
พืน้ ฐาน
• คมนาคม
• เทคโนโลยีสารสนเทศ
• พลังงาน
Institutional Connectivity
ความเชื่อมโยงด้ านกฎระเบียบ
• ปรับปรุ งกฎระเบียบเพื่อ
อานวยความสะดวกการค้า
บริ การ และลงทุน
• จัดทาความตกลง / ข้อตกลง
ยอมรับร่ วมกัน เช่น ความตก
ลงด้านการขนส่ ง ระเบียบพิธี
การในการข้ามพรมแดน และ
โครงการพัฒนาศักยภาพด้าน
ต่างๆ
People to People
Connectivity
ความเชื่อมโยง
ระหว่ างประชาชน
• การแลกเปลี่ยนด้าน
การศึกษาและ
วัฒนธรรม
• การเดินทาง
ท่องเที่ยว
12
ความเปลีย่ นแปลงของการค้ าโลก:
เวทีเจรจาการค้ าระหว่ างประเทศ
• เสริมสร้างอานาจต่อรอง
• ขยายตลาด และแหล่ง
วัตถุดิบ
• เสาะหาโอกาสทางการ
ส่งออก
• ยึดตลาดใหม่ ช่วงชิงโอกาส
• สร้างพันธมิตรทางเศรษฐกิจ
12
การค้าเสรีเป็ นธรรม อย่างค่อยเป็ นค่อยไป และมีแนวคุม้ กัน
• ร่วมสร้างกฎเกณฑ์ทาง
การค้า
โลกาภิวตั น์
ความเปลีย่ นแปลงของการค้ าโลก:
ทิศทางการเจรจาจัดทาความตกลงการค้ าเสรี
13
การลด/ยกเลิกภาษี
มาตรการที่มิใช่ภาษี
อุปสรรคการค้า
บริการและการลงุทน
การอานวยความ
สะดวกทางการค้า
และความร่วมมือ
ต่างๆ ด้าน
เศรษฐกิจการค้า
การลงทุน
ประเด็นการค้าใหม่ ๆ :
สิ่งแวดล้อม แรงงาน
การจัดซื้ อจัดจ้าง
ทรัพย์สินทางปั ญญา
14
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
(ASEAN Economic Community)
2510
Bangkok Declaration
2535
CEPT-AFTA
2538
AFAS
ASEAN Framework Agreement on Services
2539
AICO
ASEAN Industrial Cooperation Scheme
2541
AIA
2550
ASEAN Charter
ASEAN Community
+ Declaration on AEC Blueprint
2552
ATIGA
2554
ACIA
ASEAN
Agreement on the Common Effective
Preferential Tariff Scheme for ASEAN Free Trade Area
Framework Agreement on the ASEAN Investment Area
ASEAN Framework Agreement on the Facilitation of Goods in Transit
ASEAN Trade in Goods Agreement
ASEAN Comprehensive Investment Agreement
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
15
1. การเป็ นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. การสร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน
เคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี
เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี
เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี
นโยบายการแข่งขัน
การคุม้ ครองผูบ้ ริโภค
สิทธิในทรัพย์สินทางปั ญญา
โครงสร้างพื้นฐาน
นโยบายภาษี
AEC
เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี
เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น
ปี
3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค
สนับสนุนการพัฒนา SMEs
ลดช่องว่างการพัฒนา IAI
การมีส่วนร่วมภาครัฐ-เอกชน PPE
15
2558
e-ASEAN
4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ
สร้างเครือข่ายการผลิต จาหน่าย
จัดทา FTA กับประเทศนอกภูมิภาค
เป้ าหมายต่ อไปจาก AEC ไปสู่ Regional
Comprehensive Economic Partnership: RCEP
16
Global Engagement is Key
ASEAN-Russia
ASEAN-Canada
ASEAN-China FTA
ASEAN-EU FTA
ASEAN-Korea FTA
ASEAN-Japan CEP
ASEAN-Pakistan
RCEP
ASEAN-India FTA
ASEAN-Australia- New
Zealand FTA
16
ASEAN-US TIFA
แนวความคิด >> นโยบาย AEC
17
ผู้ ป ระกอบการไม่ พ ร้ อม>>
มาตรการปกป้ องตลาด
แนวนโยบาย
สู่ AEC
แรงงานกลัวถูกแย่ งงาน >>
มาตรการปกป้ องแรงงาน
ช ะ ล อ ก า ร เ ปิ ด
เสรี/เพิม่ เงือ่ นไข
หารือหน่วยงานและผูป้ ระกอบการ
สร้ างความพร้ อมผู้ประกอบการ >>
รัฐกาหนดยุทธศาสตร์เจรจา, ให้ขอ้ มูล
, ขยายแหล่งเงินทุน, มาตรการเยียวยา
พัฒนาศั กยภาพแรงงาน >>
มาตรการพัฒนาฝี มือแรงงาน
ปฎิ รู ป โครงสร้ าง
เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ
ก ฎ ร ะ เ บี ย บ ใ ห้
สอดคล้ อง AEC
คาดการณ์ ผลกระทบต่ อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
(GDP) ของอาเซียนในปี 2558
18
5.0
4.5
4.0
3.5
3.0
2.5
2.0
1.5
1.0
0.5
0.0
RoSEAsia
Cambodia
Indonesia
A5: Tariff
Laos
Malaysia
AS: Tariff+Services
Philippines
Singapore
Thailand
Viet Nam
AT: Tariff+Services+Time
Notes: Brunei is proxied by “Rest of South East Asia” in the simulation. No estimates for Myanmar because of
serious data problems.
Source: Computed by Itakura for MTR project.
การค้ าชายแดนไทยกับประเทศเพือ่ นบ้ าน ปี 2554
19
ประเทศ
มูลค่ าการค้ า
ชายแดน
ปี 2554
(ล้ านบาท)
สั ดส่ วน
ต่ อการค้ า
ชายแดนรวม
ของไทย
อัตราการ
ขยายตัว
ปี 53/54
การค้ าชายแดน
/มูลค่ าการค้ า
รวม
ของแต่ ละ
ประเทศ
มาเลเซีย
560,655.0
62.3%
12.7%
74.7%
พม่า
157,590.60
17.5%
14.3%
84.9%
ลาว
111,019.40
12.3%
27.3%
93.6%
กัมพูชา
70,518.20
7.8%
27.3%
75.7%
ภาษีสินค้ า/อุปสรรคนาเข้ าจะหมดไป
20
1. ภาษีนาเข้าสินค้า – ต้องเป็ นศูนย์ (ลดเป็ นลาดับตัง้ แต่ปี 2536)
- 1 ม.ค. 53 อาเซียน 6 (SG 100%, TH 99.8%, BR 99.2%, PH 99%, IN 98.7%, ML 98.4%)
- 1 ม.ค. 58 อาเซียน 4 (CLMV)
2. อุปสรรคทางการค้าที่ มิใช่ภาษี (Non-Tariff Barriers: NTBs) - ต้องหมดไป
- อาเซียน 5 (1 ม.ค. 53) ฟิ ลิปปิ นส์ (1 ม.ค. 55) CLMV (1 ม.ค. 58)
3. กฎว่าด้วยถิ่ นกาเนิ ดสินค้า (ROOs) – เพิ่ มทางเลือกอย่างเท่าเทียม (co-equal)
- RVC (40), CTC, PSRs
4. มาตรฐานร่วม – ให้สอดคล้องกับระบบสากลและระหว่างอาเซียน
- เครื่องใช้ไฟฟ้ า ความปลอดภัยทางไฟฟ้ า องค์ประกอบด้านแม่เหล็กไฟฟ้ า ผลิตภัณฑ์ยาง เภสัชกรรม (กาลัง
ดาเนิ นการ - เกษตร ประมง ไม้ ยานยนต์ วัสดุก่อสร้าง เครื่องมือแพทย์ ยาแผนโบราณ อาหารเสริม)
5. พิธีการทางศุลกากรที่ ทันสมัย - อานวยความสะดวกทางการค้า
- ASEAN Single Window, Self-Certification
6
AEC กับการเปิ ดเสรีภาคบริการ: 12 สาขาหลัก
(128 ย่ อย)
21
บริการการศึกษา
บริการสื่อสาร และโทรคมนาคม
บริการการเงิน บริการวิชาชีพ วิศวกรรม สถาปนิก กฎหมาย
บริการจัดจาหน่ าย
บริการสิ่งแวดล้อม
บริการนันทนาการ
บริการท่องเที่ยว
บริการสุขภาพ
บริการขนส่ง
บริการก่อสร้าง
การเคลือ่ นย้ ายแรงงานวิชาชีพภายใต้ MRAs 8 สาขา
22
วิศวกร
สถาปนิก
แพทย์
ทันตแพทย์
พยาบาล
นักสารวจ*
นักบัญชี*
วัตถุประสงค์ MRAs
 เพื่ออานวยความสะดวกแก่การเคลื่อนย้ายบุคลากภายในประเทศสมาชิกอาเซียน
นักวิชาชีพท่องเทีย
่ ว ในขั้นตอนการขอใบอนุญาต โดยลดการตรวจสอบคุณสมบัติทางการศึกษาและ
วิชาชีพ
 เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ความชานาญเรื่ องมาตรฐานและคุณสมบัติ
 เพื่อส่ งเสริ มให้มีการสร้างแนวปฏิบตั ิที่ดีที่สุดสาหรับการให้บริ การวิชาชีพที่ดี
 เพื่อเปิ ดโอกาสให้มีการพัฒนาและการฝึ กฝนของบุคลากร
กฎหมายพรบ.วิชาชีพทั้ง 8 สาขาภายใต้ MRAs
23
วิชาชีพ
วิศวกร
สถาปนิก
แพทย์
ทันตแพทย์
พรบ.วิชาชีพ
ต้องร่ วมงานกับนักวิชาชีพไทยที่มีใบอนุญาตเท่านั้น หากประกอบวิชาชีพโดย
ลาพัง จะต้องผ่านการทดสอบจากสภาวิชาชีพ ซึ่งจะต้องทดสอบเป็ นภาษาไทย
ต้องผ่านการทดสอบเพื่อให้ได้รับใบอนุญาตจากสภาวิชาชีพ โดยจะต้องทดสอบ
ภาษาไทย
พยาบาล
นักบัญชี
ผูจ้ ดั ทาบัญชี : ต้องมีความรู้ภาษาไทยที่ดีสามารถทาบัญชีเป็ นภาษาไทย และเข้าใจ
กฎหมายภาษีของไทย
ผูต้ รวจสอบบัญชี: จะต้องผ่านการทดสอบผูต้ รวจสอบบัญชี และสามารถจัดทา
รายงานเป็ นภาษาไทยได้
นักสารวจ
อนุญาตให้เฉพาะบุคคลสัญชาติไทยขึ้นทะเบียนประกอบวิชาชีพเท่านั้น
นักวิชาชีพท่ องเที่ยว
(32 ตาแหน่ งงาน ยกเว้น
มัคคุเทศน์ )
ยังไม่มี พรบ.วิชาชีพ
จะเกิดอะไรขึน้ ใน AEC 2015
24
อาเซียนจะกลายเป็ นตลาดร่ วม
 อาเซี ยนสามารถถือหุ้นได้ ถึง 70% ในธุรกิจบริ การในอาเซี ยน
 อาเซี ยนดึงดูดการลงทุนจากทัว
่ โลก
 อานวยความสะดวกในการดาเนินธุรกิจระหว่ างประเทศ
 มีการรวมตัวของตลาดเงินและตลาดทุนอย่ างเป็ นระบบ
 พัฒนาความร่ วมมือทางเศรษฐกิจต่ อเนื่อง
 เศรษฐกิจอาเซี ยนบูรณาการเข้ ากับเศรษฐกิจโลก
 ขีดความสามารถในการแข่ งขันของอาเซี ยนเพิม
่ สู งขึน้
 มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจทีเ่ ท่ าเทียมกัน

“การเปลี่ยนแปลงเกิด
จากผลการดาเนินการ
อย่างค่อยเป็ นค่อยไป
AEC ไม่ได้ทาให้เกิด
ความเปลี่ยนแปลง
ในทันที แต่เป็ น work in
progress และเป็ น
ปรากฎการณ์เชิง
สัญลักษณ์”
จะเกิดอะไรขึน้ ใน AEC 2015: ประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับ
25
ตลาดขนาด
ใหญ่
เพิ่มกาลัง
การต่ อรอง
ส่ งเสริมแหล่ ง
วัตถุดบิ
ประชากรขนาดใหญ่
(580 ล้ านคน)
อานาจต่ อรอง
เพิ่มขึน้
ประโยชน์ จาก
ทรั พยากรใน
อาเซียน
ต้ นทุนการผลิต
ลดลง
มีแนวร่ วมในการ
เจรจาในเวทีโลก
วัตถุดบิ & ต้ นทุน
ต่าลง ขีด
ความสามารถสูงขึน้
ดึงดูด
การลงทุนและการค้ า
ดึงดูด
ในการทา FTA
สามารถเลือกหาที่
ได้ เปรี ยบที่สุด
กลุ่มที่มีวตั ถุดบิ และแรงงาน
เวียดนาม กัมพูชา พม่ า ลาว
กลุ่มที่มีความถนัดด้ าน
เทคโนโลยี
สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย
กลุ่มที่เป็ นฐานการผลิต
ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย
เวียดนาม
จะเกิดอะไรขึน้ ใน AEC 2015: ผลกระทบด้ านลบ
26
มีคู่แข่งทางการค้า
สิ นค้าและการ
ให้บริ การจาก
ประเทศอาเซียน
อื่นเพิ่มขึ้น
ผูป้ ระกอบการจาก
ประเทศอาเซียนเข้า
มาลงทุนในไทยมาก
ขึ้น ทาให้การแข่งขัน
สูงขึ้น
อาจถูกใช้
มาตรการที่มิใช่
ภาษีจากประเทศ
อาเซียนอื่น
เพิ่มขึ้น
อาจถูกแย่ง
แรงงานวิชาชีพ
ไปทางานใน
ประเทศอาเซียน
อื่น
อาจถูก
ลอกเลียนแบบ
สิ นค้าและบริ การ
โดยประเทศ
อาเซียนอื่น
สิ นค้ าทีไ่ ทยได้ เปรียบ/เสี ยเปรียบ
27
สินค้าที่ไทยได้เปรียบ
สินค้าเกษตรและอุปโภคบริโภค เช่น ข้าว ข้าวโพด
เลี้ยงสัตว์ ถั่วเหลือง กาแฟสาเร็จรูป สินค้าประมง สินค้าปศุสัตว์ (นม เนื้อไก่ ไก่
แปรรูป) สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ผ้าไหม น้าตาล
สิ น ค้ า อุ ต สาหกรรม เช่ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย านยนต์
ก ร ะ ด า ษ แ ล ะ สิ่ ง พิ ม พ์ พ ล า ส ติ ก อั ญ ม ณี แ ล ะ เ ค รื่ อ ง ป ร ะ ดั บ ย า ง พ า ร า
เครื่องปรับอากาศและทาความเย็น สินค้าหัตถอุตสาหกรรม
สินค้าที่ไทยเสียเปรียบ
สินค้าที่มีข้อกังวลว่าจะได้รับผลกระทบจากการเปิด
เสรีการค้าในอาเซียน เช่น น้ามันปาล์ม (มาเลเซีย) กาแฟ (เวียดนาม) มะพร้าว
(ฟิลิปปินส์) ชา (อินโดนีเซีย) ไหมดิบ (เวียดนาม) ยา เครื่องสาอาง เครื่องจักรกล
เครื่องใช้ไฟฟ้า เหล็กและเหล็กกล้า
บริการทีไ่ ทยได้ เปรียบ/เสี ยเปรียบ
28
บริการที่ไทยได้เปรียบ
การท่องเที่ยว ภาคบริการที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว
อาทิ ร้านอาหาร และโรงแรม
บริการด้านสุขภาพ เช่น โรงพยาบาล บริการสปา
นวดแผนไทย
บริการที่ไทยเสียเปรียบ
สาขาที่มีข้อกังวลว่าจะได้รับผลกระทบ เช่น
โลจิสติกส์ โทรคมนาคม สาขาที่ต้องใช้เงินลงทุน
และเทคโนโลยีสูง ธุรกิจสถาปนิกขนาดกลางและ
ขนาดเล็ก
25
การเคลื่อนย้ายแรงงาน
29
การเคลื่อนย้ายแรงงาน
30
Q: แรงงานไทยจะถูกแย่ งงานจากแรงงานอาเซียน?
 A: ปัจจุบันไทยมีอต
ั ราว่ างงานต่ามากกว่ าในอาเซียน และมีแนวโน้ มตึงตัว/ขาดแคลน
(MRAs 8 สาขาวิชาชีพ เป็ นเพียงการอานวยความสะดวกขั้นตอนหนึ่ง ในการรั บรอง
คุณสมบัตนิ ักวิชาชีพเท่ านั้น ซึ่งยังคงมีรายละเอียดที่อาเซียนต้ องหารือร่ วมกันอีก)

ที่มา: tradingeconomics.com, Bank of Thailand
การเคลือ่ นย้ ายแรงงาน (ขาดแคลนนักวิชาชีพ)
31
การเคลือ่ นย้ ายแรงงาน (ขาดแคลนนักวิชาชีพ) (ต่ อ)
32
การเคลือ่ นย้ ายแรงงาน (ขาดแคลนนักวิชาชีพ) (ต่ อ)
33
ความแตกต่ างระหว่ างการรวมกลุ่มระหว่ าง
AEC กับ สหภาพยุโรป (EU)
34
Q: อาเซียนมีระดับการรวมกลุ่มเศรษฐกิจเหมือนยุโรป (EU) หรือไม่
 A: อาเซี ยนเป็ นการรวมตัวในระดับเบือ
้ งต้ น (FTA) เท่ านั้น

ระดับ
เขตการค้ าเสรี
(FTAs)
สหภาพศุลกากร
(Customs Union)
ตลาดร่ วม
(Common Market)
4
ใช้ นโยบายการเงินร่ วมกัน
3
2
1
สหภาพเศรษฐกิจ
(Economic Union)
ยกเลิกภาษี
นาเข้ าและ
โควต้ า
เคลือ่ นย้ ายทุนและ
แรงงานเสรี
เคลือ่ นย้ ายทุนและแรงงาน
เสรี
อัตราภาษีเดียวกันกับ
ประเทศนอกกลุ่ม
อัตราภาษีเดียวกันกับ
ประเทศนอกกลุ่ม
อัตราภาษีเดียวกันกับประเทศ
นอกกลุ่ม
ยกเลิกภาษีนาเข้ าและ
โควต้ า
ยกเลิกภาษีนาเข้ าและ
โควต้ า
ยกเลิกภาษีนาเข้ าและโควต้ า
ASEAN วาระแห่ งชาติ
35
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559)
แนวทางการพัฒนาเพือ่ สร้ างความพร้ อมในการเข้ าสู่ ประชาคมอาเซียน
(1)
เตรียม
ความพร้ อม
ธุรกิจไทย
(2)
เตรียม
ความพร้ อม
แรงงานไทย
(3)
เตรียม
ความพร้ อม
สินค้า/บริการไทย
พัฒนาความร่ วมมือระหว่างภาครัฐ
และภาคธุรกิจเอกชนที่มีศกั ยภาพ โดย
เสริ มสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่ อง
ประชาคมอาเซียน (กฎระเบียบ
ข้อตกลง ภาษา ขนบธรรมเนียม
วัฒนธรรม)
เสริ มสร้างความเข้มแข็งให้
สถาบันการศึกษาทั้งของรัฐและ
เอกชนให้มีมาตรฐานเป็ นที่ยอมรับ
ในระดับสากล ตลอดจนการ
ยกระดับทักษะฝี มือแรงงาน (ภาษา
ขนบธรรมเนียมประเพณี
วัฒนธรรม)
กาหนดมาตรฐานขั้นพื้นฐานของ
คุณภาพสิ นค้าและบริ การ ตลอดจน
การกาหนดระบบบริ หารจัดการร่ วม
ด้านการพัฒนาทักษะและด้าน
คุณสมบัติของแรงงานนาเข้า เพื่อให้
ได้แรงงานที่มีคุณภาพ และตรงกับ
ความต้องการสาหรับทุกประเทศ
ASEAN วาระแห่ งชาติ: นโยบายรัฐบาล
(แถลงรัฐสภา วันที่ 23 สิ งหาคม 2554)
36





นาประเทศไทยสู่การเป็ นประชาคมอาเซี ยนในปี 2558 อย่างสมบูรณ์ โดยสร้างความพร้อมและ
ความเข้มแข็งทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และการเมืองและความมัน่ คง
เร่ งดาเนินการตามข้อผูกพันในการรวมตัวเป็ นประชาคมอาเซี ยนในปี 2558 ทั้งในมิติเศรษฐกิจ
สังคม และ ความมัน่ คง ตลอดจนการเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคมขนส่ งภายในและภายนอก
ภูมิภาค
ส่ งเสริ มความร่ วมมือและเชื่อมโยงทางวัฒนธรรมและเสริ มสร้างความสัมพันธ์อนั ดีกบั
ประชาคมอาเซียน
สร้างความสามัคคีและส่ งเสริ มความร่ วมมือระหว่างประเทศอาเซี ยน เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายใน
การจัดตั้งประชาคมอาเซียน
เตรี ยมความพร้อมของทุกภาคส่ วนในการเข้าสู่ประชาคมอาเซี ยนในปี 2558 ทั้งในด้านเศรษฐกิจ
สังคมและวัฒนธรรม และความมัน่ คง
ASEAN วาระแห่ งชาติ:
ความรู้ ทบี่ ุคลากรภาครัฐต้ องมี
37
ความรู้ เรื่องอาเซียน




ความเป็ นมา/เป้ าหมายของ
สมาคมอาเซียน
กฎบัตรอาเซียน
ความเป็ นมา/เป้ าหมายของ
ประชาคมอาเซียน
แผนงานการจัดตั้งประชาคม
อาเซียนในแต่ละเสา
ความรู้ เรื่องประเทศ
สมาชิกอาเซียน
ความรู้
ความรู้เฉพาะเรื่ อง ตาม
ภารกิจของหน่วยงาน
และ นโยบาย
ต่างประเทศของไทย




ประวัติศาสตร์ของประเทศ
สมาชิก
สภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
การเมืองของประเทศสมาชิก
จุดเด่นของแต่ละประเทศ
และอื่นๆ
ASEAN วาระแห่ งชาติ:
ทักษะทีบ่ ุคลากรภาครัฐต้ องมี
38
ทักษะเฉพาะ
ทักษะทัว่ ไป






ภาษาอังกฤษ (ฟัง เขียน พูด)
การประชุมนานาชาติ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่
ทันสมัย
การเจรจาต่อรอง
การบริ หารความเสี่ ยง
การติดต่อประสานงาน






ภาษาประเทศเพื่อนบ้าน
การวิเคราะห์ตลาด/การวิเคราะห์
คู่แข่ง
การวางแผนเชิงกลยุทธ์
การยกร่ าง MOU สัญญาระหว่าง
ประเทศ
การบริ หารแรงงานต่างด้าว
การวางแผนกาลังคนเชิงกลยุทธ์
ASEAN วาระแห่ งชาติ
39
ยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์ 2555-2564
การใช้ อาเซียนเป็ นฐานไปสู่ เวทีโลก
การสร้ างขีดความสามารถให้
ผู้ประกอบการและวิสาหกิจ
การส่ งเสริมและพัฒนา
โครงสร้ างพืน้ ฐานทางการค้า
ที่มา: ยุทธศาสตร์แผนแม่บทกระทรวงพาณิชย์ 2555-2564
การยกระดับประเทศเข้ าสู่ เศรษฐกิจ
สร้ างสรรค์มูลค่า
การสร้ างสภาพแวดล้อม
ภายในประเทศที่เอือ้ ต่ อการ
แข่ งขันและเป็ นธรรม
ASEAN วาระแห่ งชาติ
40
ยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์ 2555-2564
ที่มา: ยุทธศาสตร์แผนแม่บทกระทรวงพาณิชย์ 2555-2564
ASEAN วาระแห่ งชาติ
41
ยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์ 2555-2564
ที่มา: ยุทธศาสตร์แผนแม่บทกระทรวงพาณิชย์ 2555-2564
ASEAN วาระแห่ งชาติ
42
เปรียบเทียบอันดับความสามารถในการแข่ งขันของไทย โดยสถาบัน IMD และ WEF
ปี พ.ศ. 2547-2555
ที่มา: IMD World Competitiveness Year Book 2003-2012, สานักงานสถิติแห่งชาติ
ASEAN วาระแห่ งชาติ
43
อันดับศักยภาพการแข่ งขันของประเทศในอาเซียน โดยสถาบัน IMD ปี พ.ศ. 2546-2555
ที่มา: IMD World Competitiveness Year Book 2003-2012, สานักงานสถิติแห่งชาติ
ASEAN วาระแห่ งชาติ
44
เปรียบเทียบความสามารถการแข่ งขัน 4 ด้ าน
ที่มา: IMD World Competitiveness Year Book 2011, 2012, สานักงานสถิติแห่งชาติ
45
ขอบคุณ
Call Center : 0-2507-7555
www.dtn.go.th