ค่าไฟฟ้า

Download Report

Transcript ค่าไฟฟ้า

วิธก
ี ารคิดค่าไฟฟ้ า
และแนวทางการจัดการค่าพลังไฟฟ้ า
จะประหยัด
พลังงาน
ได ้อย่างไร?
ถ ้ายังไม่รู ้ว่า
เค ้าคิดค่าไฟ
เรายังไง???
สูตรการคิดค่าไฟฟ้ า
1
•ค่าพลังงานไฟฟ้ า (kWh)
•ค่าความต ้องการพลังไฟฟ้ า (kW)
•ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ (kVar)
•ค่าบริการรายเดือน
2
+
•ค่า Ft
3
•ภาษี มล
ู ค่าเพิม
่
ค่าไฟฟ้ าฐาน
+
ค่าไฟฟ้ าผันแปร
ค่ าพลังงานไฟฟ้า (1 หน่ วย)
= ค่าพลังไฟฟ้า 1 กิโลวัตต์ x 1 ชัว่ โมง
1 กิโลวัตต์ = 1,000 วัตต์
่
ตัวอย่างเชน
เครือ
่ งใชไ้ ฟฟ้า ขนาด 500 ว ัตต์
เปิ ดใชง้ าน 2 ชว่ ั โมง
พล ังงานไฟฟ้า = 0.5 กิโลว ัตต์ X 2 ชว่ ั โมง
= 1 หน่วย
ค่ าความต้ องการพลังไฟฟ้า
คือ กาลังไฟฟ้าที่ใช้ จริ งเป็ นกิโลวัตต์ เฉลี่ยทุก
15 นาที
ค่ าความต้ องการพลังไฟฟ้าสูงสุด
คือ ความต้ องการพลังไฟฟ้าเป็ นกิโลวัตต์ ที่เฉลี่ยทุก 15
โดยเลือกค่ าที่สูงที่สุดในรอบเดือนนัน้
เป็ นค่า ความต้ องการพลังไฟฟ้าสูงสุด
(เศษของกิ โลวัตต์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิ โลวัตต์ตดั ทิ้ ง
ตัง้ แต่ 0.5 กิ โลวัตต์ขึ้นไป คิ ดเป็ น 1 กิ โลวัตต์)
นาที
ค่ าพลังไฟฟ้าสูงสุด (Peak Demand : kW)
kW
500 kW
450 kW
ปั๊ มนา้ = 50 kW
แสงสว่ าง+อื่นๆ
150 kW
เวลา
21.00 น.
12.00 น.
13.00 น.
8.00 น.
6.00 น.
19.00 น.
เครื่ องปรั บอากาศ
300 kW
ปั๊ มนา้ = 50 kW
เขามีหลักการหาค่ า “Peak Demand” อย่ างไร ?
1,000 kW
650 kW
24.00 น.
8.00 น.
1.00 น.
0.45 น.
0.30 น.
0.15 น.
0.00 น.
100 kW
ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
้
สาหรับผู ้ใชไฟฟ้
าทีม
่ เี พาเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging)
้
ถ ้าในรอบเดือนใดผู ้ใชไฟฟ้
า
มีความต ้องการพลังไฟฟ้ ารีแอคตีฟเฉลีย
่ ใน 15 นาทีทส
ี่ งู สุด
เมือ
่ คิดเป็ นกิโลวาร์ เกินกว่าร ้อยละ 61.97 ของความ
ต ้องการพลังไฟฟ้ าแอคตีฟเฉลีย
่ ใน 15 นาทีทส
ี่ งู สุด
เมือ
่ คิดเป็ นกิโลวัตต์แล ้ว
ี ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
เฉพาะสว่ นทีเ่ กินจะต ้องเสย
ในอัตรากิโลวาร์ละ 14.02 บาท
(สาหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้ าในรอบเดือนนัน
้
เศษของกิโลวาร์ ถ ้าไม่ถงึ 0.5 กิโลวาร์ตด
ั ทิง้
ตัง้ แต่ 0.5 กิโลวาร์ขน
ึ้ ไปคิดเป็ น 1 กิโลวาร์)
ค่า Ft
ค่าไฟฟ้ าโดยอัตโนมัต ิ หรือค่าไฟฟ้ าผันแปร
ั ้ ๆว่าค่า Ft (Factor of Tariff)
หรือทีเ่ รียกกันสน
เป็ นค่าไฟฟ้ าทีป
่ รับเปลีย
่ นเพิม
่ ขึน
้ หรือลดลง
ตามการเปลีย
่ นแปลง
้ ายด ้านเชอ
ื้ เพลิง
ของต ้นทุนค่าใชจ่
ื้ ไฟฟ้ า
และค่าซอ
ทีอ
่ ยูน
่ อกเหนือการควบคุมของการไฟฟ้ า
โดยจะมีการปรับเปลีย
่ นทุกๆ 4 เดือน
แสดงภาระใช้ ไฟฟ้าของประเทศ
ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
ประเภทผ้ ูใช้ ไฟฟ้า
1. บ้ านอยู่อาศัย
1.1 อัตราปกติ
1.1.1 Energy<150 kWh
1.1.2 Energy >150 kWh
1.2 เลือกอัตรา TOU ได้
2. กิจการขนาดเล็ก
2.1อัตราปกติ (Demand<30 kW)
2.2 อัตราตามช่ วงเวลาของการใช้ TOU
สามารถเลือกใช้ อัตรา TOU ได้ อีกด้ วย
(โดยไม่ เสียค่ าความต้ องการพลังไฟฟ้าสูงสุด)
3. กิจการขนาดกลาง
Demand 30-999 kW, Energy <250,000 kWh
3.1 อัตราปกติ
3.2 อัตรา TOU
4. กิจการขนาดใหญ่
Demand >1,000 kW,
Energy >250,000 kWh
4.1 อัตรา TOD
4.2 อัตรา TOU
5.กิจการเฉพาะอย่ าง
6.ส่ วนราชการและองค์ กรที่ไม่ แสวงหากาไร
7.สูบนา้ เพื่อการเกษตร
8.ไฟฟ้าชั่วคราว
อัตราค่ าไฟฟ้า
1) อัตราปกติ (Two Part Tariff)
2) อัตราตามช่ วงเวลาของวัน (TOD Tariff)
3) อัตราตามช่ วงเวลาของการใช้ (TOU Tariff)
1.1อัตราปกติ (ประเภทที่ 1 บ้ านอยู่อาศัย)
1.1.1 ปริมาณการใช้ พลังงานไฟฟ้าไม่ เกิน 150 หน่ วยต่ อเดือน
อัตรารายเดือน : พลังงานไฟฟ้ า
หน่วยที่
ราคาค่ าพลังงานไฟฟ้า
15 หน่วยแรก
10 หน่วยต่อไป
10 หน่วยต่อไป
65 หน่วยต่อไป
50 หน่วยต่อไป
250 หน่วยต่อไป
เกิน 400หน่วยขึ้นไป
ค่ าบริการ : เดือนละ 8.19 บาท
หน่วยที่ 0-15
หน่วยที่ 16-25
หน่วยที่ 26-35
หน่วยที่ 36-100
หน่วยที่ 101-150
หน่วยที่ 151-400
หน่วยที่ 401เป็ นต้นไป
1.8632 บาท
2.5026 บาท
2.7549 บาท
3.1381 บาท
3.2315 บาท
3.7362 บาท
3.9361 บาท
หมายเหตุ ประเภท 1.1.1ใช้ ไฟฟ้ าไม่ เกิน 90 หน่ วยต่ อเดือนได้ รับสิ ทธิค่าไฟฟ้าฟรี
1.1.2 ปริมาณการใช้ พลังงานไฟฟ้าเกินกว่ า 150 หน่ วยต่ อเดือน
อัตรารายเดือน : พลังงานไฟฟ้ า
150 หน่วยแรก
250 หน่วยต่อไป
เกิน 400 หน่วยขึ้นไป
ค่ าบริการ : เดือนละ 38.22 บาท
หน่วยที่
หน่วยที่ 0-150
หน่วยที่ 151-400
หน่วยที่ 401เป็ นต้นไป
ราคาค่ าพลังงานไฟฟ้า
2.7628 บาท
3.7362 บาท
3.9361 บาท
ตัวอย่าง
้
การคิดค่าไฟฟ้ าของผู ้ใชไฟฟ้
า
ั
ประเภทที1
่ บ้านอยูอ
่ าศย
สว่ นที่ 1
หน่วยทีใ่ ช ้
ประเภท 1.1.2
ค่าไฟฟ้ า = ค่าไฟฟ้ าฐาน + ค่าไฟฟ้ าผันแปร + ภาษี มล
ู ค่าเพิม
่
ั
บ ้านอยูอ
่ าศย
เกินกว่า 150 หน่วยต่อเดือน
สว่ นที่ 2
Ft
หน่ วยทีใ่ ช้
150X2.7628
270x(68.86/100)
120X3.7362
ค่าไฟฟ้ า = ค่าไฟฟ้ าฐาน + ค่าไฟฟ้ าผันแปร + ภาษี มล
ู ค่าเพิม
่
ค่าไฟฟ้ า = ค่าไฟฟ้ าฐาน + ค่าไฟฟ้ าผันแปร + ภาษี มล
ู ค่าเพิม
่
วิธค
ี านวณ
พลังงานไฟฟ้ า
อัตราค่าไฟฟ้ าผันแปร (Ft)
=
=
270
หน่วย
- 0.06 สต./หน่วย
1. ค่าบริการ
2. ค่าไฟฟ้ า 150 หน่วยแรก
(150 x 2.7628)
3. ค่าไฟฟ้ า 250 หน่วยต่อไป
(120 x 3.7362)
4. รวมค่าพลังงานไฟฟ้ า(++)
5. ค่า (Ft) (270 x -0.06)
6. รวมเงินค่าไฟฟ้ า (+)
7. ค่าภาษีมล
ู ค่าเพิม
่ 7%
8. รวมเงินทีต
่ ้องชาระ (+)
=
=
38.22 บาท
414.42 บาท
=
448.344บาท
=
=
=
=
=
900.984บาท
-16.20 บาท
884.78 บาท
61.93 บาท
946.72 บาท
2. กิจการขนาดเล็ก
2.1อัตราปกติ (Demand<30 kW)
2.2 อัตราตามช่ วงเวลาของการใช้ TOU
ประเภท
2.1.1 แรงดัน 22-33 kV
ราคาค่ าพลังงานไฟฟ้า
(บาท/หน่วย)
3.6246
ค่ าบริการ
(บาท/เดือน)
312.24
2.1.2 แรงดันต่ากว่ า 22 kV
อัตรารายเดือน : ค่าพลังงานไฟฟ้ า
150 หน่วยแรก
250 หน่วยต่อไป
เกิน 400 หน่วยขึ้นไป
ค่ าบริการ : เดือนละ 46.16 บาท
หน่วยที่
หน่วยที่ 0-150
หน่วยที่ 151-400
หน่วยที่ 401เป็ นต้นไป
ราคาค่ าพลังงานไฟฟ้า
2.7628 บาท
3.7362 บาท
3.9361 บาท
2.2 อัตราอัตราตามช่ วงเวลาของการใช้ TOU
ประเภท
2.2.1 แรงดัน 22-33 kV
2.2.2 แรงดันต่ากว่า 22 kV
ค่ าพลังงานไฟฟ้า
(บาท/หน่วย)
peak
Off peak
4.8527
2.1495
5.2674
2.1827
ค่ าบริการ
(บาท/เดือน)
312.24
46.16
อัตราปกติ
• ประเภทที่ 3.1 กิจการขนาดกลาง
ประเภท
ค่าพลังไฟฟา
ค่าพลังงานไฟฟา
(บาท/kW)
(บาท/kWh)
3.1.1 รงดัน 69 kV
175.70
2.7441
3.1.2 รงดัน 12-24 kV
196.26
2.7815
3.1.3 รงดันต่ากว่า 12 kV
221.50
2.8095
อัตราปกติ
ค่ าไฟฟ้า = (ค่ าพลังงานไฟฟ้า + ค่ าพลังไฟฟ้าสูงสุด +Ft) x VAT
kW
Peak Demand
kW = 196.26 บาท
kWh = 2.7815 บาท
24.00น.
0.00น.
ค่าไฟฟ้ า = ค่าไฟฟ้ าฐาน + ค่าไฟฟ้ าผันแปร + ภาษี มล
ู ค่าเพิม
่
้
ตัวอย่าง การคิดค่าไฟฟ้ าของผู ้ใชไฟฟ้
า อ ัตราปกติ
ประเภทที่ 3 กิจการขนาดกลาง (3.1.2) ทีร่ ะด ับแรงด ัน 12-24 กิโลโวลต์
(สาขาย่อย อาคารหลังเดียว หรืออาคารพาณิชย์หลายคูหา )
183,000x2.7815
500x196.26
Ft
(410-(500*0.6197))x14.02
183,000x(21.95/100)
ค่าไฟฟ้ า = ค่าไฟฟ้ าฐาน + ค่าไฟฟ้ าผันแปร + ภาษี มล
ู ค่าเพิม
่
วิธค
ี านวณ
ความต ้องการพลังไฟฟ้ าสูงสุด
= 500
กิโลวัตต์
ความต ้องการพลังไฟฟ้ าเสมือน
= 410
กิโลวาร์
พลังงานไฟฟ้ า (kWh, Unit)
= 183,000
หน่วย
อัตราค่าไฟฟ้ าผันแปร (Ft.)
= 21.95
สต./หน่วย
1. ค่าความต ้องการพลังไฟฟ้ าสูงสุด (500 x 196.26) = 98,130
บาท
2. ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
= 1,402
บาท
((410-(500 x 0.6197 ตัดทศนิยมศูนย์ตาแหน่ง)) x 14.02)
3. ค่าพลังงานไฟฟ้ า
(183,000 x 2.7815)
= 509,014.50 บาท
4. ค่า (Ft.) (183,000 x -0.06)
=
บาท
5. รวมเงินค่าไฟฟ้ า (+++)
=
บาท
6. ภาษีมล
ู ค่าเพิม
่ 7%
=
บาท
7. รวมเงินทีต
่ ้องชาระ (+)
=
บาท
ค่าไฟฟ้ า = ค่าไฟฟ้ าฐาน + ค่าไฟฟ้ าผันแปร + ภาษี มล
ู ค่าเพิม
่
้
ตัวอย่าง การคิดค่าไฟฟ้ าของผู ้ใชไฟฟ้
า อ ัตราปกติ
ประเภทอ ัตรา 30 กิจการขนาดกลาง แรงดัน 22-33 กิโลโวลต์
(เทียบได ้กับอัตรา 3.1.2 แรงดัน 12–24 กิโลโวลต์ กฟน.)
0.3317-0.0229-0.0476
Ft
(35.720-35.395)x2000
Peak Demand (kW)
(4520.90-4417.41)x2000
Energy (kWh)
650x196.26
ค่าไฟฟ้ า = ค่าไฟฟ้ าฐาน + ค่าไฟฟ้ าผันแปร + ภาษี มล
ู ค่าเพิม
่
วิธค
ี านวณ
ความต ้องการพลังไฟฟ้ าสูงสุด
พลังงานไฟฟ้ า (kWh, Unit)
อัตราค่าไฟผันแปร (Ft.)
ค่าบริการ (ไม่ม)ี
ค่าสว่ นลดระบบสง่
ค่าสว่ นลดระบบจาหน่าย
1. ค่าความต ้องการพลังไฟฟ้ าสูงสุด
(650 x 196.26)
2. ค่าพลังงานไฟฟ้ า
(206,980 x 1.7034)
3. ค่า Ft (206,980 x 0.3317)
4. สว่ นลดระบบสง่ [206,980 x (-0.0229)]
5. สว่ นลดระบบจาหน่าย [206,980 x (-0.0476)]
6. รวมค่า Ft (++)
7. รวมเงินค่าไฟฟ้ า (++)
8. ภาษีมล
ู ค่าเพิม
่ 7%
9. รวมเงินทีต
่ ้องชาระ (+)
= 650
= 206,980
= 0.3317
= = (-0.0229)
= (-0.0476)
กิโลวัตต์
หน่วย
บาท/หน่วย
= 127,569.00
บาท
บาท/หน่วย
บาท/หน่วย
= 352,569.73 บาท
= 68,655.27
บาท
= (-4,739.84) บาท
= (-9,852.25) บาท
= 54,063.18
บาท
= 534,201.91 บาท
= 37,394.13
บาท
= 571,596.04 บาท
อัตราตามช่ วงเวลาของวัน (TOD)
• ประเภทที่ 4.1 กิจการขนาดใหญ่
ประเภท
ค่าพลังไฟฟา (บาท/kW)
1*
2*
224.30 29.92
4.1.1 รงดัน 69 kV
4.1.2 รงดัน 12-24 kV 285.05 58.88
4.1.3 รงดันต่ากว่า 12kV 332.71 68.22
ค่าพลังงานไฟฟา
3*
(บาท/kWh)
0
2.7441
2.7815
2.8095
0
0
1 * On Peak : 18.30-21.30 น. ทุกวัน
2* Partial Peak : 08.00-18.30 น. ทุกวัน คิดค่าพลังไฟฟาเ พาะส่วนที่เกิน าก On Peak
3. Off Peak : 21.30-08.00 น. ทุกวัน ไม่คิดค่าพลังไฟฟา
อัตราตามช่ วงเวลาของวัน (TOD)
ค่ าไฟฟ้า = (ค่ าพลังงานไฟฟ้า + ค่ าพลังไฟฟ้าสูงสุด + Ft) x VAT
kWh = 2.7815 บาท
PP - OP
kW = 58.88 บาท
kW
kW = 285.05บาท
OFF PEAK
ON PEAK
PARTIAL PEAK
kW = 0 บาท
OFF PEAK
24.00น.
21.30น.
18.30น.
8.00น.
0.00น.
้
ตัวอย่าง การคิดค่าไฟฟ้ าของผู ้ใชไฟฟ้
า
อัตราตามชว่ งเวลาของวัน (Time of Day Tariff : TOD Tariff)
ประเภทที่ 4 กิจการขนาดใหญ่
อ ัตรา 4.1.2 แรงด ัน 12-24 กิโลโวลต์
358,000x(38.28/100)
358,000x2.7815
534x285.05
(841-534)x58.88
769x0.00
ค่าไฟฟ้ า = ค่าไฟฟ้ าฐาน + ค่าไฟฟ้ าผันแปร + ภาษี มล
ู ค่าเพิม
่
ค่าไฟฟ้ า = ค่าไฟฟ้ าฐาน + ค่าไฟฟ้ าผันแปร + ภาษี มล
ู ค่าเพิม
่
วิธค
ี านวณ
ความต ้องการพลังไฟฟ้ า (ชว่ ง On Peak)
ความต ้องการพลังไฟฟ้ า (ชว่ ง Partial Peak)
ความต ้องการพลังไฟฟ้ า (ชว่ ง Off Peak)
ความต ้องการพลังไฟฟ้ าเสมือน
พลังงานไฟฟ้ า (ตลอดชว่ งเวลา)
ค่าอัตราค่าไฟฟ้ าผันแปร (Ft)
1. ค่าความต ้องการพลังไฟฟ้ า (ชว่ ง On Peak)
(534 x 285.05)
2. ค่าความต ้องการพลังไฟฟ้ า (ชว่ ง Partial Peak)
((841 – 534) x 58.88)
3. ค่าพลังงานไฟฟ้ า (ตลอดชว่ งเวลา)
(358,000 x 2.7815)
4. ค่า (Ft) (358,000 x -0.06)
5. รวมเงินค่าไฟฟ้ า (+++)
6. ค่าภาษี มล
ู ค่าเพิม
่ 7%
7. รวมเงินทีต
่ ้องชาระ (+)
=
=
=
=
=
=
534
841
769
352
358,000
38.28
กิโลวัตต์
กิโลวัตต์
กิโลวัตต์
กิโลวาร์
หน่วย
สต./หน่วย
= 152,217.00
บาท
= 18,076.00
บาท
= 995,777.00
=
=
=
=
บาท
บาท
บาท
บาท
บาท
อัตราตามช่ วงเวลาของการใช้ (TOU)
• ประเภทที่ 4.2 กิจการขนาดใหญ่
ประเภท
4.2.1 รงดัน 69 kV
4.2.2 รงดัน 22-33 kV
4.2.3 รงดันต่ากว่า 12kV
พลัง
ไฟฟา
1*
พลังงานไฟฟา
1*
2*
74.14
3.6917
2.2507
132.93
3.7731
2.2695
210.00
3.9189
2.3027
1 * On Peak : 09.00-22.00 น. ันทร- ุกร
2* Off Peak : 22.00-09.00 น. ันทร- ุกร
: 00.00-24.00 น. เสาร-อาทิตย ละวันหยุดราชการ
ค่าบริการ
312.24
312.24
312.24
อัตราตามช่ วงเวลาของการใช้ (TOU)
ค่ าไฟฟ้า = (ค่ าพลังงานไฟฟ้า + ค่ าพลังไฟฟ้าสูงสุด + Ft) x VAT
จันทร์ -ศุกร์ (22.00-9.00น.)
และ เสาร์ -อาทิตย์ -วันหยุดทัง้ วัน
kW
kW = 0 บาท
kWh = 2.2695 บาท
จันทร์ -ศุกร์ (9.00-22.00น.)
kW = 132.93 บาท
kWh = 3.7731 บาท
ON PEAK
OFF PEAK
OFF PEAK
24.00น.
22.00น.
9.00น.
0.00น.
ค่าไฟฟ้ า = ค่าไฟฟ้ าฐาน + ค่าไฟฟ้ าผันแปร + ภาษี มล
ู ค่าเพิม
่
้
ต ัวอย่าง การคิดค่าไฟฟ้ าของผู ้ใชไฟฟ้
า
อัตราตามชว่ งเวลาของการใช ้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff)
ประเภทที่ 4 กิจการขนาดใหญ่ อ ัตรา 4.2.2 แรงด ัน 12-24 กิโลโวลต์
่ ง On Peak
1* คือ ชว
่ ง Off Peak
2* คือ ชว
(186,000x3.7731)+(207,000x2.2695)
(1,050x132.93)+(1,041x0)
(186,000+207,000)x0.2612)
ค่าไฟฟ้ า = ค่าไฟฟ้ าฐาน + ค่าไฟฟ้ าผันแปร + ภาษี มล
ู ค่าเพิม
่
วิธค
ี านวณ
ความต ้องการพลังไฟฟ้ า
(คิดเฉพาะชว่ ง Peak)
= 1,050
ความต ้องการพลังไฟฟ้ าเสมือน
= 1,104
พลังงานไฟฟ้ า (ชว่ ง On Peak)
= 186,000
พลังงานไฟฟ้ า (ชว่ ง Off Peak)
= 207,000
ค่าอัตราค่าไฟฟ้ าผันแปร (Ft.)
= 26.12
ค่าบริการ
= 312.24
ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
= 6,351.00
1. ค่าความต ้องการพลังไฟฟ้ า
(1,050 x 132.93)
= 139,577.00 บาท
2. ค่าพลังงานไฟฟ้ า (ชว่ ง On Peak)
(186,000 x 3.7731)
= 701,797.00 บาท
3. ค่าพลังงานไฟฟ้ า (ชว่ ง Off Peak)
(207,000 x 2.2695)
= 469,786.50 บาท
4. ค่า (Ft.)
((186,000 + 207,000)) x 0.2612)
= 102,651.60
กิโลวัตต์
กิโลวาร์
หน่วย
หน่วย
สต./หน่วย
บาท
บาท
บาท
ค่าไฟฟ้ า = ค่าไฟฟ้ าฐาน + ค่าไฟฟ้ าผันแปร + ภาษี มล
ู ค่าเพิม
่
วิธค
ี านวณ
5. รวมเงินค่าไฟฟ้ า (+++)
6. ค่าภาษี มล
ู ค่าเพิม
่ 7%
7. รวมเงินทีต
่ ้องชาระ (+)
=
=
=
บาท
บาท
บาท
้
ต ัวอย่าง การคิดค่าไฟฟ้ าของผู ้ใชไฟฟ้
า
อัตราตามชว่ งเวลาของการใช ้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff)
ประเภทอ ัตรา 40 กิจการขนาดใหญ่
แรงดัน 22-33 กิโลโวลต์ (เทียบได ้กับอัตรา 4.2.2 แรงดัน 12- 24 กิโลโวลต์ กฟน.)
ค่าไฟฟ้ า = ค่าไฟฟ้ าฐาน + ค่าไฟฟ้ าผันแปร + ภาษี มล
ู ค่าเพิม
่
ค่าไฟฟ้ า = ค่าไฟฟ้ าฐาน + ค่าไฟฟ้ าผันแปร + ภาษี มล
ู ค่าเพิม
่
ค่าความต้องการพล ังไฟฟ้า
ค่าพล ังงานไฟฟ้า
่ ง On Peak
•ชว
่ ง Off Peak
•ชว
่ ง Off Holiday
•ชว
ค่าไฟฟ้ า = ค่าไฟฟ้ าฐาน + ค่าไฟฟ้ าผันแปร + ภาษี มล
ู ค่าเพิม
่
วิธค
ี านวณ
ความต ้องการพลังไฟฟ้ า
(คิดเฉพาะชว่ ง Peak)
= 948
พลังงานไฟฟ้ า (ชว่ ง On Peak)
= 198,760
พลังงานไฟฟ้ า (ชว่ ง Off Peak)
= 208,140
พลังงานไฟฟ้ า (ชว่ ง Off Holiday)
= 271,580
ค่าอัตราค่าไฟฟ้ าผันแปร (Ft.)
= 28.11
ค่าบริการ
= 228.17
ค่าสว่ นลดระบบสง่
= -0.0102
ค่าสว่ นลดระบบจาหน่าย
= -0.0514
1. ค่าความต ้องการพลังไฟฟ้ า
(948 x 132.93)
= 126,017.64
2. ค่าพลังงานไฟฟ้ า (ชว่ ง On Peak)
(198,760 x 2.6950)
= 535,658.20
3. ค่าพลังงานไฟฟ้ า (ชว่ ง Off Peak)
(208,140 x 1.1914)
= 247,978.00 บาท
4. ค่าพลังงานไฟฟ้ า (ชว่ ง Off Holiday)
(271,580 x 1.1914)
= 323,560.41
กิโลวัตต์
หน่วย
หน่วย
หน่วย
สต./หน่วย
บาท
บาท/หน่วย
บาท/หน่วย
บาท
บาท
บาท
ค่าไฟฟ้ า = ค่าไฟฟ้ าฐาน + ค่าไฟฟ้ าผันแปร + ภาษี มล
ู ค่าเพิม
่
5. ค่า (Ft.) (678,480 x 0.2811)
6. สว่ นลดระบบสง่
(678,480 x (-0.0102))
7. สว่ นลดระบบจาหน่าย
((678,480 x (-0.0514))
8. รวมค่า (Ft.) (++)
9. ค่าบริการ
10. รวมค่าไฟฟ้ า (+++++)
11. ค่าภาษีมล
ู ค่าเพิม
่ 7%
12. รวมเงินค่าไฟฟ้ า (+11)
= 190,720.73
บาท
= (-6,920.50)
บาท
= (-34,873.87) บาท
= 148,926.36 บาท
= 228.17
บาท
= 1,382,368.78 บาท
= 96,765.81
บาท
= 1,479,134.59 บาท
หน่ วยงานแห่ งนีเ้ สียค่ าไฟในอัตราแบบ
ใด???
อัตราปกติ
• ประเภทที่ 6.1 อัตราปกติ
ประเภท
ค่าพลังงานไฟฟา
ค่าบริการ
(บาท/kWh)
(บาท/เดือน)
6.1.1 รงดัน 69 kV
3.0493
312.24
6.1.2 รงดัน 12-24 kV
3.2193
312.24
6.1.3 รงดันต่ากว่า 22 kV
หน่วย 1-10
หน่วย 11 นไป
20
2.4357
3.5263
ค่าไฟฟ้ า = ค่าไฟฟ้ าฐาน + ค่าไฟฟ้ าผันแปร + ภาษี มล
ู ค่าเพิม
่
11876.00 x 3.2193
11876.00 x 0.9255
25657.06 + 10991.24
ประโยชน์ ท่ ไี ด้ จากการลดพลังไฟฟ้าสูงสุด
1) ได้ ลดค่ าไฟฟ้า (ค่ าไฟฟ้าต่ อหน่ วยถูกลง)
2) ลดภาระต่ อระบบไฟฟ้าของหน่ วยงาน
ทาให้ สามารถจ่ ายโหลดอื่น ๆ เพิม่ เติมได้ มากขึน้
3) ระบบไฟฟ้าของประเทศมีประสิทธิภาพสูงขึน้
แนวทางการลดค่ าพลังไฟฟ้าสูงสุด
1) เปลี่ยนแปลงเวลาทางานของเครื่องจักรขนาดใหญ่
ไม่ ให้ ทางานพร้ อม ๆ กัน
2) ลดปริมาณการใช้ ไฟฟ้าของเครื่ องจักรลง
ในเวลาที่มีการใช้ งานพร้ อมกัน
3) เลือกใช้ อุปกรณ์ ประสิทธิภาพสูง
4) ใช้ ระบบเก็บสะสมพลังงานแทนระบบปกติ
เช่ น ระบบปรับอากาศแบบ ICE STORAGE
ขัน้ ตอนในการดาเนินการควบคุมพลังไฟฟ้าสูงสุด
้
บันทึกข ้อมูลการใชไฟฟ้
ารายวัน (Daily Load Curve)
รวบรวมข ้อมูลของอุปกรณ์ไฟฟ้ าต่างๆ
วิเคราะห์ชว่ งเวลาในการเปิ ด/ปิ ดอุปกรณ์ไฟฟ้ าต่างๆ
แบ่งกลุม
่ อุปกรณ์ไฟฟ้ า
4.1) กลุม
่ ทีไ่ ม่สามารถหยุดเดินได ้
4.2) กลุม
่ ทีห
่ ยุดเดินได ้บางชว่ งเวลา
5) ดาเนินการควบคุมและติดตามผล
5.1) ย ้ายเวลาเปิ ดอุปกรณ์บางตัวในชว่ ง On Peak
้ นกาหนด
5.2) ปลดอุปกรณ์บางตัว เมือ
่ ปริมาณการใชเกิ
(โดยการใชอุ้ ปกรณ์ควบคุมอัตโนมัต)ิ
1)
2)
3)
4)
Load Profile Example
ตารางการเปิ ดอุปกรณ์ หรือเครื่องจักรที่ใช้ ไฟฟ้า
รายการอุปกรณ์ พลังไฟฟ้า (kW)
Pump นำ้ รดต้ นไม้
Peak
Pump น้ำดี
เครื่ องจักร no.4
เครื่ องจักร no.3
เครื่ องจักร no.2
เครื่ องจักร no.1
อุปกรณ์ สำนักงำน
AHU no.11-15
AHU no.6-10
AHU no.1-5
Cooling Tower3
Cooling Tower2
Cooling Tower1
Air Chiller no.2
Air Chiller no.1
ระบบแสงสว่ำง 2
ระบบแสงสว่ำง 1
เวลา
8.00-9.00 9.00-10.00 10.00-11.00 11.00-12.00 12.00-13.00 13.00-14.00 14.00-15.00 15.00-16.00 16.00-17.00 17.00-18.00 19.00-20.00 21.00-22.00
วิธีการควบคุมพลังไฟฟ้าสูงสุด
1) ใช้ คนควบคุมให้ มี
การใช้ พลังไฟฟ้า
ตามที่กาหนด
2) ใช้ อุปกรณ์ ควบคุมอัตโนมัติ
เช่ น Demand Controller, BAS
สรุ ปวิธีการลดค่ าไฟฟ้าของหน่ วยงาน
โดยไม่ ต้องใช้ เงินลงทุน
• ก่ อนอื่น ต้ องรู้ เขารู้ เรา
• ปรับตัวตามกระบวนท่ า ต้ นหลิวล่ ูลม
• ใช้ คัมภีร์จัดสรรปั นส่ วนฟ้าดินเท่ าเทียม
เพื่อ
โลกสีเขียว