Cholera: Update แพทย์หญิงวราลักษณ์ ตังคณะกุล ส านักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค

Download Report

Transcript Cholera: Update แพทย์หญิงวราลักษณ์ ตังคณะกุล ส านักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค

Cholera: Update
แพทย์ หญิงวราลักษณ์ ตังคณะกุล
สานักโรคติดต่ อทัว่ ไป กรมควบคุมโรค
[email protected]
ประเด็น
•
•
•
•
ความสาคัญของอหิวาตกโรค ในทางสาธารณสุ ข
ความรู้ เรื่ องอหิวาตกโรค
การเชื่ อมโยงข้ อมูลจากการสั งเกตกับอหิวาตกโรค
คาถามทีท่ ้ าทายนักสาธารณสุ ขมืออาชีพ
IMPORTANT (1): CHOLERA
IMPORTANT (2): A milestone in public health
John Snow
1813-1858
IMPORTANT (3): Recent Cholera Pandemics
 7th pandemic:
 V. cholerae O1 biotype El Tor
 Began in Asia in 1961
 Spread to other continents in 1970s and 1980s
 Spread to Peru in 1991 and then to most of
South & Central America and to U.S. & Canada
 By 1995 in the Americas, >106 cases; 104 dead
IMPORTANT (4): 7th Cholera Pandemic – El Tor
IMPORTANT (7) :Recent Cholera Pandemics
 8th pandemic (??)
 V. cholerae O139 Bengal is first non-O1 strain
capable of causing epidemic cholera
 Began in India in 1992 and spread to Asia,
Europe and U.S.
 Disease in humans previously infected with O1
strain, thus no cross-protective immunity
Knowledge (1):Epidemiology of Vibrio spp.
 Vibrio spp. (including V. cholerae) เป็ นสิ่ งมีชีวต
ิ ที่อยูใ่ น
ทะเล โดยเฉพาะน้ ากร่ อย พบได้ในทะเลลึกด้วย
 Vibrio spp. อยูร่ อดและเพิ่มจานวนในน้ ากร่ อย ที่อุณหภูมิ 10 – 30
องศาเซลเซี ยส เชื้อที่มีความรุ นแรงจะขึ้นสู่ ผวิ น้ าได้มากกว่า
 สมมุติฐาน เชื่อว่าเชื้อกลุ่มนี้มีววิ ฒั นาการการอยูร่ ่ วมกับแพลงตอน
และ Chitinous shellfish โดยเป็ นรังโรคให้ที่อยูอ่ าศัย อาหาร
 การย่อยไคติน เป็ นปั จจัยสาคัญในการอยูร่ อดในนิเวศวิทยาทางทะเล
 คนที่ติดเชื้อแต่ไม่มีอาการเป็ นรังโรคที่สาคัญในพื้นที่ที่มีมีเชื้อกลุ่มนี้
เป็ นโรคประจาถิ่น
Vibrio spp. (Family Vibrionaceae)
Associated with Human Disease
Knowledge (2):Epidemiology of Vibrio cholerae
อหิ วาตกโรค 2500 ปี โรคเกิดทั้งแบบประปรายการระบาดใหญ่
โรคประจาถิ่นของเอเชียใต้ เอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ เริ่ ม pandemic
พบทัว่ ไปในชุมชนที่มีสุขาภิบาลไม่ดี
การระบาดครั้งที่ 7 ตั้งแต่ 1817 คาดว่าน่าจะเป็ นผลจากการเพิ่มขึ้น
ของการเดินทางทัว่ โลก
อหิ วาตกโรคแพร่ ระบาดผ่านน้ า และ อาหาร ที่ปนเปื้ อน
คนที่ติดเชื้อเป็ นพาหะ และรังโรคอยูใ่ นสิ่ งแวดล้อม
ผูเ้ ป็ นพาหะส่ วนใหญ่มีเชื้อและแพร่ ไม่เกิน 1 สัปดาห์
Knowledge (3): Pathogenesis of V.cholerae
 ระยะฟักตัว 2 – 3 วัน
 High infectious dose: >108 CFU
 103 -105 CFU with achlorhydria or hypochlorhydria (lack
of or reduced stomach acid)
 มีอาเจียนอย่างเฉี ยบพลัน และมีอุจจาระร่ วงรุ นแรงถึงแก่ชีวิตได้
life-threatening watery diarrhea (15-20 liters/day)
 เมื่อเสี ยน้ าไปมาก ๆ อุจจาระร่ วงที่มากจะเปลี่ยนมีลกั ษณะคล้ายน้ า
ซาวข้าว มีลกั ษณะ ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีโปรทีน มี mucous ปน
เป็ นจุด ๆ
Knowledge (4): Pathogenesis of V.cholerae
อหิ วาห์ทอ๊ กซินทาให้เกิดการเสี ยน้ า และอิเลคโตไลท์ ได้แก่
โซเดียม โปรแทสเซียม และ ไบคาร์บอเนต
ระดับโปรแทสเซียมในเลือดต่า;หัวใจเต้นผิดจังหวะและไตวายได้
อหิ วาห์ทอ๊ กซินมีผลยับยั้งต่อการดูดกลับของโซเดียม และคลอไรด์
ของลาไส้เล็ก
 Death attributable to:
-ภาวะช็อคจากการเสี ยน้ า
-ภาวะที่เมตาบอลิกเป็ นกรดเป็ นผลจากการเสี ยไบคาร์บอเนต
Knowledge (5):Treatment & Control
 Untreated: 60% fatality
 Treated: <1% fatality
 Rehydration & supportive therapy
 Oral
Sodium chloride (3.5 g/L)
+ Potassium chloride (1.5 g/L)
+ Rice flour (30-80g/L)
+ Trisodium citrate (2.9 g/L)
 Intravenous (IV)
 Doxycycline or tetracycline (Tet resistance may
be developing) of secondary value
 Water purification, sanitation & sewage
treatment
 Vaccines
Cholera :Linking Other
Disciplines to Human Health
AVHRR
AVHRR-SST
TOPEX-SSA
SeaWiFS-Chl-a
Disciplines (1): Microbiology & Vibrio cholerae
 การที่เชื้ออหิ วาต์ตอ้ งการเกลือในการเจริ ญเติบโต ทาให้เชื่อว่าบ้าน
ของอหิ วาต์อยูใ่ นทะเล
 การพบเชื้ออหิ วาต์จากตัวอย่างใต้ทะเลลึก เป็ นข้อบ่งชี้วา่ อหิ วาห์
เป็ นสิ่ งมีชีวติ ดั้งเดิมในทะเล
 เชื้ออหิ วาต์เมื่อผ่านลาไส้คน จะมียนี บางตัวที่แสดง และกระตุน้ ให้
มีการติดเชื้อได้มากกว่าชนิดที่ไม่ยนี ถึง 700 เท่า
 ความสามารถของเชื้ออหิ วาห์ในการผลิต mucinase ช่วยให้เชื้อ
สามารถเจาะผ่านผนังลาไส้ที่มี mucous ได้
Disciplines (2): Marine & Vibrio cholerae
 เมื่อกินเชื้ออหิ วาต์พร้อมกับอาหารทะเล เชื้ออหิ วาต์จะได้ bridging
molecules ซึ่ งทาให้สามารถติดแน่นกับลาไส้เล็ก
 ในกลุ่มแพลงตอนสัตว์ โดยเฉพาะ โคพีพอด ชนิดที่พบมากคือ
Eurytemora ในตอนบนของอ่าว Chesapeake และ Acartia ใน
ตอนล่าง พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล การวิจยั ที่จะศึกษา
การเลือก Host ของเชื้อ
 การเปลี่ยนแปลงของความเค็ม และอุณหภูมิเป็ นตัวทานายการเกิด
อหิ วาตกโรคได้ถูกต้องถึงร้อยละ 75.5 – 85.5
DISCIPLINES (3): Cholera – Sea Surface Temperature
Bangladesh
Copepod
DISCIPLINES (4): What is Biofilm?
Biofilm เป็ นการรวมตัวกันอย่างซับซ้อนของจุลินทรี ยบ์ นพื้นที่แข็ง
ขบวนการสร้าง biofilm เริ่ มจากจุลินทรี ยท์ ี่เป็ นอิสระได้ยดึ กับพื้นที่
เมื่อจุลินทรี ยก์ ลุ่มแรกสามารถเกาะยึดและสร้าง โคโลนีได้แล้วจะช่วย
ให้จุลินทรี ยท์ ี่ไม่เกาะยึด เกาะได้ง่ายขึ้น และสร้างเป็ นโครงสร้างทาง
ขวาง เพื่อยึดไว้ดว้ ยกัน
Biofilm ของเชื้อแบคทีเรี ยช่วยในการต้านทานต่อผงซักฟอก และยา
ปฏิชีวนะ บนพื้น และที่วางอาหาร การมี biofilm จะทาให้การสุ ขาภิบาล
ทาได้ยาก
DISCIPLINES (5): Cholera and the aquatic
environment
Cholera – single org.
Cholera biofilm
DISCIPLINES (6): Probiotics,
Prebiotics and Synbiotics
• Probiotics : a beneficial bacteria
protects diseases.
• Prebiotics: Carbohydrate nutrients
as food for prebiotics bacteria.
• Synbiotics: probiotics + prebiotics
DISCIPLINES (7):Probiotic bact.:
bivalave molluscs
• ปัจจุบนั มีการศึกษาเรื่ องของสารอาหารที่มีผลต่อสัตว์ที่มีเปลือกแข็ง ข้าง
ในอ่อนเช่น สัตว์จาพวกหอย
• งานวิจยั ในห้องทดลองจานวนมาก กาลังศึกษาถึงสายพันธุ์แบคทีเรี ย
ดั้งเดิม ในหอยสแกลลอปซึ่งมีผลในการยับยั้งการเจริ ญของ เชื้อกลุ่ม
Vibrio sp., Aeromonas hydrophila
• Bacillus sp. and Lactobacillus sp. ในการทาให้หอยนางรม (Crassostrea
virginica) บริ สุทธิ์ จากการยับยั้ง V. vulnificus (Williams et al., 2001)
DISCIPLINES (8): Social sciences,
an example on old sari cloth
• จากผลการศึกษาทางห้องปฎิบตั ิการ ทางดาวเทียม นามาซึ่ งเครื่ องมืออย่างง่ายที่ใช้ใน
การกาจัดเชื้ออหิ วาต์
• ส่ าหรี เก่าที่พบั กัน 8 – 10 ชั้นพบว่าจะมีขนาดเหมือนเน็ต 20 มิลลิเมตร ซึ่ งเพียงพอใน
การป้องกันการได้รับเชื้อในระดับที่ก่อโรค ผลทางห้องปฏิบตั ิการแสดงว่าสามารถ
ลดเชื้ออหิ วาต์ที่เกาะอยูบ่ นแพลงตอนได้ถึง ร้อยละ 99
• 3 ปี ของการศึกษาใน 65 หมู่บา้ น ประชากรเป้าหมาย 133,000 คน ที่ ประเทศบังคลา
เทศ พบว่าอุบตั ิการของผูป้ ่ วยลดลงครึ่ งหนึ่ งในกลุ่มผูท้ ี่ใช้ส่าหรี ในการกรองน้ าที่ดื่ม
เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม และความรุ นแรงของโรคก็ลดลงด้วย
QUES. (1): เราสามารถกาจัดอหิ วาห์ ไปจากโลกได้ หรื อไม่ ?
 เป็ นสิ่ งมีชีวติ ทีบ่ อบบาง
 การติดเชื้อของคนต้ องใช้ เชื้อจานวนมาก เป็ นแสนตัว
 การติดต่ อจากคนสู่ คนไม่ มี
 ระยะฟักตัวสั้ น
 สามารถควบคุมได้ โดยทีไ่ ม่ ต้องมีวิธีการควบคุมทีเ่ ฉพาะเจาะจง เช่ นการ
สุ ขาภิบาลอาหาร และสิ่ งแวดล้ อมทัว่ ๆ ไป
 ประชาชน มีความตระหนักในการทาลายเชื้อ
QUES. (2): ทาไมจึ งไม่ สามารถกาจัดเชื อ้ อหิ วาห์ ให้ หมดไปจากโลก?
การคงอยูข่ องเชื้อในทะเล
การเพิ่มขึ้นของประชากรโลก
การที่ไม่มีวคั ซี นที่ดีพอในการป้องกันโรค
การล้มเหลวในการควบคุม ป้องกันโรคโดยการให้ยาแบบหว่าน
การกักกัน การค้า
• การพัฒนาของการรักษา
• การเปลี่ยนแปลง ของสายพันธุ์อหิ วาห์
•
•
•
•
QUES. (3):What should we do?
Epidemiological surveillance: 1st-2nd Gen.
Environmental sanitation: after 2nd Gen.
Food safety. : MRA
Social communication and health/sanitary
education. : Choose to eat strategy, not
hot not eat etc.