E-Learning ****************** *** ***** ****** , ********* ****** South

Download Report

Transcript E-Learning ****************** *** ***** ****** , ********* ****** South

การออกแบบตัวชี้วดั ทีป่ ระสบความสาเร็จในการทา E-LEARNING
โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ ลนิ ดา เฟทาจิ
มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉี ยงใต้
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย
เมืองเทโทโว
สาธารณรัฐมาซิโดเนีย
มุ่งเน้นกลุ่มนักศึกษาและการสารวจตามเว็บถูกนามาใช้เพื่อให้ได้ขอ้ มูลเชิงลึกเกี่ยวกับ
สภาพแวดล้อมที่ e - learning ผูว้ จิ ยั ใช้เป็ นการกาหนดตัวชี้วดั ของ e - learning ที่มี
อิทธิพลต่อคุณภาพโดยรวม ความคิดและความสนใจเกี่ยวกับ e - learning
 สิ่ งที่การทาวิจยั นี้ สนใจ



วัตถุประสงค์หลักของการทาวิจยั


พัฒนาตัวชี้วดั ที่มีมาก่อนหน้านี้ให้มีประสิ ทธิภาพมากยิง่ ขึ้น
เพื่อปรับปรุ งคุณภาพการเผยแพร่ ความรู ้ของ e-learning โดยการกาหนดตัวชี้วดั ให้อยูใ่ นรู ปแบบ
ที่สามารถใช้ได้ทุกสภาพแวดล้อม
ข้อเสนอแนะของตัวชี้วดั อยูใ่ นรู ปแบบที่ใช้ในวงกว้างสามารถปรับใช้ได้กบั ทุก
สภาพแวดล้อมของ e-learning
KEY WORDS
E-Learning การเรี ยนรู้ผา่ นสื่ ออิเล็กทรอนิกส์
 indicators ตัวชี้วดั
 enhanced learning การเพิม
่ ประสิ ทธิภาพการเรี ยนรู ้

บทนา
1.
การออกแบบการเรี ยนการสอนที่เหมาะสม ทาให้สามารถประเมินและวัดผลการเรี ยนรู ้ของ
นักเรี ยนได้
่ ได้
• การออกแบบการเรี ยนการสอนต้องยืดหยุน
• วัตถุประสงค์เพื่อการวิเคราะห์เปรี ยบเทียบตัวชี้วดั และผลลัพธ์ของ e-learning โดยสรุ ปที่จะถูก
ใช้อย่างกว้างขวาง
•
ตัวชี้วดั ของ E-LEARNING

ตัวชี้วดั e - learning มีการประเมินและการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้สาหรับ
สภาพแวดล้อมเสมือนจริ ง โดยซอฟแวร์ Angel Learning Management System-LMs
ภาพรวมของการสารวจ
หลักทัว่ ๆ ไปของการออกแบบ :
ผูช้ มหรื อผูใ้ ช้งาน + จุดประสงค์หรื อความต้องการ = การออกแบบ
 การสารวจครั้งนี้ แบ่งเป็ น 17 ส่ วน ครอบคลุมเนื้ อหาของ e-learning ตามข้อมูลที่กล่าว
มาแล้วข้างต้น
 ตัวชี้วด
ั กาหนดไว้ก่อนหน้านี้มีท้ งั หมด 23 คาถาม
 ตัวชี้วด
ั ถูกแจ้งให้ทราบผ่านลิงค์ไปยังผูเ้ กี่ยวข้องบนเว็บบอร์ด ซึ่งเป็ นระบบ e-service
ของมหาวิทยาลัย
 ข้อมูลถูกเก็บโดย Angel Learning Management System และวิเคราะห์เพิ่มเติมโดย
โปรแกรม Excel

การวิเคราะห์ผลสารวจและผลลัพธ์
เพราะว่าการวิจยั นี้มีขอ้ จากัด เราจึงพูดถึงการวิจยั ในมหาวิทยาลัยของเราเท่านั้น และได้
วิเคราะห์ตวั ชี้วดั ที่สาคัญหลายตัวแล้วว่ามีความสาคัญ
 วิเคราะห์ของตัวบ่งชี้: อุปสรรค - ขอบเขต
 วิเคราะห์ของตัวบ่งชี้: หลักสู ตรที่เหมาะสมเพื่อการเรี ยนรู ้

ตัวชี้วดั
1. อุปสรรค
ตัวชี้วดั
2. เวลาทีเ่ หมาะสมทีส่ ุดในการเรียนรู ้
ตัวชี้วดั
3. รู ปแบบเนื้อหา
ตัวชี้วดั
4. เวลาที่ดีที่สุดสาหรับการเรี ยนออนไลน์
ตัวชี้วดั
5. การตั้งค่า E – Learning
ตัวชี้วดั
6. การเข้าถึงสื่ อการเรี ยนรู้
สรุป

การใช้วธิ ีการที่จะประสบความสาเร็จนั้น เราสรุ ปได้วา่ เพื่อที่จะประสบความสาเร็จใน
การทา e-learning ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัวหรื อแนวทางแบบเดียวกับสาหรับผูเ้ รี ยนทุกคน
การเรี ยนรู้ตอ้ งมีนาไปประยุกต์ใช้กบั การให้บริ การการเรี ยนรู ้ของแต่ละบุคคลและ
จาเป็ นต้องสนับสนุนการเรี ยนรู้ตามการตั้งค่าที่ผเู ้ รี ยนเลือก
1.งานวิจยั นี้เกี่ยวข้องกับ IS ของเรายังไง
ใช้งานวิจยั นี้เพื่อทาการสารวจกลุ่มเป้ าหมายก่อนการทา e-learning
2.ผูท้ าวิจยั มีแรงจูงใจอะไรในการทาวิจยั ชิ้นนี้ เจอปัญหาอะไร แล้วสนใจศึกษาในเรื่ องอะไร
มุ่งเน้นกลุ่มนักศึกษาและการสารวจตามเว็บถูกนามาใช้เพื่อให้ได้ขอ้ มูลเชิงลึกเกี่ยวกับ
สภาพแวดล้อมที่ e - learning ผูว้ จิ ยั ใช้เป็ นการกาหนดตัวชี้วดั ของ e - learning ที่มีอิทธิพล
ต่อคุณภาพโดยรวม ความคิดและความสนใจเกี่ยวกับ e - learning
3.ผูท้ าวิจยั ใช้เทคนิคอะไรในการทาวิจยั
การวิจยั เชิงคุณภาพและการวิเคราะห์เปรี ยบเทียบของตัวชี้วดั e - learning ที่มีอิทธิพลต่อการ
เรี ยนรู้
4.งานวิจยั นี้คน้ พบอะไร
การจะทา e-learning ที่ประสบความสาเร็ จไม่มีเกณฑ์ทวั่ ไปหรื อแนวทางเดียวกันสาหรับ
ผูเ้ รี ยนทุกคนสามารถนามาใช้ แต่การบริ การการเรี ยนรู ้ของแต่ละบุคคลมีความจาเป็ นต่อ
การสนับสนุนผูเ้ รี ยนให้ตรงความต้องการของแต่ละคนได้โดยกาหนดจากการตั้งค่าของ
ผูเ้ รี ยนเอง
5.งานวิจยั นี้ช่วยงานของเราได้อย่างไร
มีแนวทางในการสารวจกลุ่มเป้ าหมาย และกาหนดตัวชี้ก่อนการทา e-learning
6.ทาไมเราถึงเลือกงานวิจยั นี้
การสารวจกลุ่มเป้ าหมายเพื่อหาตัวชี้วดั ที่เหมาะสมกับงานของตน