Document 7193246

Download Report

Transcript Document 7193246

Chapter 2
Information Technologies: Concepts and Management
เทคโนโลยีสารสนเทศ:แนวความคิดและการจัดการ
Chapter 2
1
Learning Objectives
•
•
•
•
•
•
•
•
•
อธิ บายถึงระบบสารสนเทศต่าง ๆ วิวฒั นาการ และจัดแบ่งระบบจาเพาะตามที่สังเกตเห็น
อธิบายถึง transaction processing และ functional information systems
บ่งชี้ถึง major internal support systems และ แสดงความสัมพันธ์กบั managerial functions.
อธิบายการสนับสนุนของ IT ตลอดทั้ง supply chain รวมทั้ง CRM
กล่าวถึง information infrastructure และ architecture.
เปรี ยบเทียบ client/server architecture, mainframe-based legacy systems, และ P2P
architecture รวมทั้งแสดงให้เห็นถึงความแตกต่าง
อธิบายถึงรู ปแบบหลัก ๆ ของ Web-based information systems และทาความเข้าใจถึง
ฟังก์ชนั ที่เกี่ยวข้อง
อธิบายถึง new computing environments.
อธิ บายว่า information resources บริ หารจัดการอย่างไร และ บทบาทของ ISD และ end
users คือ อะไร
Chapter 2
2
Building an E-Business At FedEx Corporation
• The problem/opportunity:
• ตั้งแต่แรก FedEx ไม่มีแรงกดดันใด ๆ ไม่วา่ จากตัวธุรกิจหรื อคู่แข่งรายอื่น ๆ ต่อมามี
แรงกดดันเพิ่มขึ้นเนื่องมาจากความต้องการทางธุรกิจเพื่อให้ส่งของได้เร็ วขึ้นใน
ราคาที่ต่าลง และ ปรับปรุ งทางด้านการบริ การลูกค้า
• จะเห็นว่า ไม่ได้มีปัญหาทางธุรกิจ แต่เป็ นเรื่ องของการอยูเ่ หนือคู่แข่ง โดยทาการ
ปรับปรุ งเพื่อสอดรับกับสิ่ งที่ลูกค้าต้องการ
• FedEx กาหนด Goal ขึ้นมาสองข้อ คือ
• ก) 100% customer service
• ข) 0% downtime
Chapter 2
3
• IT Solution:
• Software Application หลักที่ถูกนามาใช้คือ e-Shipping Tools เป็ น Web application
ให้ลูกค้าตรวจสอบสถานะของการจัดส่ งผ่านทาง Web
• ต่อมาได้ทา E-Commerce เต็มรู ปแบบ
Chapter 2
4
Chapter 2
5
• Result:
• รู ปแบบทางธุรกิจที่สร้างขึ้นมาก่อมูลค่าให้แก่ลูกค้าหลายด้าน
• สื่ อสารและประสานงานกันได้ดีข้ ึนตลอดการขายและsupply chain
• ลดต้นทุน และ ลด Order cycle ลง
• เพิ่มรายได้ และ มีกาไรมากขึ้น
• เพิ่มการได้เปรี ยบในการแข่งขัน
• FedEx ได้เปลี่ยนจาก old-economy shipping company มาเป็ น e-business logistic
enterprise
Chapter 2
6
• Lesson Learned:
• การเปลี่ยนเป็ น e-business ต้องเปลี่ยนโครงสร้างและกระบวนการให้รองรับ
เทคโนโลยีดว้ ย
• มุ่งเน้นที่ลูกค้า
Chapter 2
7
2.1 Information Systems: Concepts and Definitions
• ระบบสารสนเทศ (Information System;IS): หมายถึงกระบวนการหนึ่ง ๆ ที่รวบรวม
ข้อมูล นามาประมวลผล จัดเก็บในรู ปแบบต่าง ๆ แล้วทาการวิเคราะห์ และ เผยแพร่
สารสนเทศที่ได้ออกไปเพื่อวัตถุประสงค์ที่จาเพาะเจาะจง (specific purpose)
• Computer Based Information System (CBIS): หมายถึงระบบสารสนเทศหนึ่ง ๆ ซึ่ ง
ใช้เทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์ เข้ามาจัดการกับงานที่ตอ้ งการบางอย่าง หรื อ ทั้งหมด
• องค์ประกอบหลัก ๆ ของ IS ได้แก่
•
•
•
•
•
•
Hardware
Software
Database
Network
Procedure
People
Hardware
Software
Application
Data
People
Chapter 2
8
Application Program
• โปรแกรมประยุกต์ (Application Program) หมายถึงโปรแกรมหนึ่ง ๆ ที่ออกแบบมา
เพื่อสนับสนุนงาน ๆ หนึ่งที่กาหนดขึ้นมา หรื อ สนับสนุนกระบวนทางธุรกิจ
กระบวนการหนึ่ง หรื อ สนับสนุนโปรแกรมประยุกต์โปรแกรมอื่น ๆ ตามที่ออกแบบ
• เมื่อทาการรวบรวมโปแกรมประยุกต์ต่าง ๆ เอาไว้ทีแผนกหนึ่ง มักจะพิจารณาแผนก นี้
ว่าเป็ น departmental information system เช่น เป็ นแผนกที่รวบรวมโปรแกรมประยุกต์
ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรบุคคล (Human resources) ก็เรี ยกว่า Human resources
information system (HRIS)
• ระบบสารสนเทศเป็ นการเชื่อมระบบโดยนัยของโครงข่ายอิเลคทรอนิคส์ (electronic
networks) ซึ่ งอาจอยูใ่ นรู ปของการใช้สาย (wireline) หรื อ ไร้สาย (wireless) ก็ได้
Chapter 2
9
Enterprisewide information system (EIS)
• ถ้าทั้งบริ ษทั ถูกเชื่อมต่อด้วยเน็ตเวิร์ค และ พนักงานสื่ อสารกันและกันผ่านเน็ตเวิร์ค
และเข้าถึงสารสนเทศได้ทวั่ ทั้งองค์กร เรี ยกว่า Enterprisewide information system
• ส่ วนคาว่า Interorganizational information system จะหมายถึง ระบบสารสนเทศที่
วิง่ อยูร่ ะหว่างองค์กรสององค์กรหรื อมากกว่า แต่ยงั คงเป็ นบริ ษทั เดียวกัน
• ระบบสารสนเทศถูกสร้างขึ้นมาเพื่อรองรับเป้ าหมายหลายอย่าง หนึ่งในเป้าหมาย
หลักก็คือ จัดการกับข้อมูลให้อยูใ่ นรู ปของสารสนเทศ หรื อ องค์ความรู ้ เราลองมา
นิยามความหมายของ ข้อมูล(data) สารสนเทศ(information) และ องค์ความรู ้
(knowledge)กันก่อน
Chapter 2
10
Data, Information, and Knowledge
• ความหมายของ Data / Information และ Knowledge
• Data items หมายถึง องค์ประกอบรู ปแบบหนึ่งที่ใช้อธิ บายถึง สิ่ งของต่างๆ หรื อ เหตุ
การณ์ต่าง ๆ หรื อ การกระทาต่าง ๆ หรื อ การทาธุรกรรมที่ถูกบันทึกไว้ อาจถูกแบ่งชั้น
และเก็บไว้เรี ยบร้อยแล้ว แต่ยงั ไม่ได้ทาการจัดแบ่งให้เป็ นส่ วน ๆ เพื่อให้บรรลุถึง
ความหมายที่ตอ้ งการ
• Information หมายถึง ข้อมูลที่ถูกจัดกลุ่มแล้ว ซึ่ งจะมีความหมายและมีมูลค่าต่อผูร้ ับ
• Knowledge หมายถึง ข้อมูล และ/หรื อ สารสนเทศที่ผา่ นการจัดรู ปแบบและถูกประ
มวล อันแสดงถึง ความเข้าใจ ประสบการณ์ การเรี ยนรู ้แบบสะสมมา และ ความ
ชานาญเป็ นพิเศษ เพื่อให้เรานาเอามาใช้แก้ปัญหาหรื อการกระทาในปั จจุบนั ตอนนี้
KM กาลังมาแรง เราจะคุยกันในบทที่ 10
• ดังนั้นจึงกล่าวได้วา่ จุดมุ่งหมายหลักของระบบสารสนเทศคือ การรวบรวมข้อมูล
• ต่างๆ แล้วนามาประมวล(กลัน่ )ออกมาเป็ นสารสนเทศ เพื่อนาไปใช้เป็ นองค์ความรู ้
เฉพาะด้าน
Chapter 2
11
Information Systems Configurations
• ระบบสารสนเทศหรื อ IS จะประกอบด้วยองค์ประกอบ (components) ต่าง ๆ นามา
ประกอบเข้าด้วยกันในรู ปแบบที่แตกต่างกันออกไป (different configuration) ผลที่ได้
จึงเป็ นระบบ IS ที่มีการประยุกต์ใช้แตกต่างออกไปเช่นกัน
• หรื อมองในมุมกลับก็คือ ระบบที่ตอ้ งนาใช้งานใน IT ย่อมหลากหลายและแตกต่างกัน
นัน่ หมายความว่า Configuration ของระบบย่อมแตกต่างกันไปด้วย ส่ งผลให้ ขนาดและ
ราคาของระบบย่อมแตกต่างกันออกไป
Chapter 2
12
2.2 การจัดแบ่งและวิวฒั นาการของระบบสารสนเทศ
• ระบบสารสนเทศ โดยทัว่ ไปแบ่งออกเป็ นสองแบบคือ:
• 1) แบ่งโดยอาศัยระดับในองค์กร (organizational level)
• 2) แบ่งโดยอาศัยจุดมุ่งหมายในการให้การสนับสนุน (support provided)
Chapter 2
13
Level of Information Systems
Chapter 2
14
1) แบ่งโดยอาศัยระดับในองค์กร
• การจัดระบบสารสนเทศแบบนี้ เป็ นจัดโดยมุ่งเน้นไปที่รูปแบบการใช้งานให้สอดคล้อง
กับโครงสร้างขององค์กรแบบเรี ยงลาดับชั้น จุดมุ่งหมายเพื่อให้การสนับสนุนการทา
งาน สามารถแยกออกได้เป็ น
• ก) Personal and Productivity Systems เป็ นระบบขนาดเล็กที่สร้างขึ้นมาเพื่อ
สนับสนุนการทางานเฉพาะคน บางทีจึงเรี ยกว่า personal information
management (PIM) เช่น ระบบใน PDA อันประกอบด้วย calendars, calculators,
schedulers และ บันทึกช่วยจาต่าง ๆ
• ข) Transaction Processing System (TPS) สนับสนุนในเชิงการเฝ้าดู การรวบรวม
การจัดเก็บ การประมวล และ การกระจาย เกี่ยวกับการทาธุรกรรมทางธุรกิจของ
องค์กร
Chapter 2
15
• TPS ใช้กบั งานประจาที่เป็ นแบบอัตโนมัติและงานแบบซ้ า ๆ งานเหล่านี้มีความ
สาคัญต่อการดาเนินการขององค์กรเป็ นอย่างมาก ตัวอย่างเช่น การจัดเตรี ยมการ
จ่ายเงินเดือน ส่ งใบเก็บเงินไปยังลูกค้า Point-of-Sale และ การดาเนินงานในแวร์
เฮาส์ (Warehouse)
• ข้อมูลที่ถูกรวบรวมจากงานข้างต้นจะเป็ นข้อมูลสนับสนุนในส่ วนของระบบ MIS
และ DSS ที่ถูกใช้โดยผูบ้ ริ หารระดับกลาง (Middle Management)
• การรวบรวมข้อมูลจะใช้คอมพิวเตอร์ เป็ นหลัก นอกจากนั้นคอมพิวเตอร์ จะถูกใช้
ดาเนินการเกี่ยวกับเรื่ องสายโซ่แห่งคุณค่า (Value Chain)
•
Chapter 2
16
Chapter 2
17
• ค) Functional and Management Information Systems
• แม้วา่ TPS จะครอบคลุมการดาเนินงานหลัก ๆ ขององค์กร แต่ functional area ยังมีการ
ดาเนินการอีกหลายเรื่ อง เช่น
• Functional Management Information Systems ถูกนามาใช้เพื่อให้มนั่ ใจว่า กลยุทธ์ทาง
ธุรกิจสามารถดาเนินการได้อย่างมีประสิ ทธิ ผล และรวมไปถึง การวางแผน การเฝ้าดู
การควบคุม การดาเนินงานต่าง ๆ ด้วย
• Functional information systems คือการจัดรู ปแบบให้สอดคล้องกับฟังก์ชนั การ
ทางานของแผนก(department)ที่ใช้กนั ทัว่ ๆไป หรื อ เรี ยกว่า Departmental IS ซึ่งก็
คือ IS ที่สนับสนุนการทางานของแต่ละแผนก(department)ในองค์กรหนึ่ง ๆ
(corporation) เช่น Operations, Accounting, Finance, Marketing, Human resources เป็ น
ต้น
Chapter 2
18
• ถ้ามองโดยกลุ่มคนผูใ้ ช้งานแล้ว Functional Information System แบ่งออกเป็ น 2
ประเภทได้แก่ สนับสนุนผูบ้ ริ หารและสนับสนุนพนักงานทั้งหลายที่อยูใ่ น functional
area ต่าง ๆ
• ระบบที่ให้การสนับสนุนผูบ้ ริ หาร เรี ยกว่า MIS (Management Information System)
ระบบเหล่านี้เป็ นการ เข้าถึง จัดรู ปแบบ สรุ ปผล และ แสดงสารสนเทศเพื่อสนับ สนุน
กระบวนการตัดสิ นใจตามฟั งก์ชนั ของพื้นที่ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง MIS จะเกี่ยวพันกับ
ผูบ้ ริ หารระดับกลาง ที่ใช้ MIS ในการทารายงานที่ตอ้ งสร้างขึ้นมาเป็ นประจา เช่น
รายชื่อพนักงานรายวัน จานวนชัว่ โมงที่ทางาน หรื อ ค่าใช้จ่ายรายเดือน เมื่อเทียบกับตัว
เงินที่มีอยู่ เป็ นต้น
Chapter 2
19
Sale forecast by region, generated by marketing MIS
Chapter 2
20
Example of Functional/Enterprise System
•
•
•
•
•
1) Computerized Analysis Helps Texas Collect $400 Million Additional Taxes.
2) The Dallas Mavericks: Using OT for Successful Play and Business.
3) Sate-of-Art Human Resources Management in China.
4) Mobile Banking at Handelsbanken of Sweden
อ่านเพิ่มเติมในหน้าที่ 45 - 47
Chapter 2
21
• ง) Enterprise Information Systems
• ในขณะที่ function system สนับสนุนกิจกรรมภายในแต่ละแผนกและแยกออกจาก
แผนกอื่น ๆ แผนกใครแผนกมันมันไม่เกี่ยวข้องกัน Enterprise System ให้การ
สนับสนุนกระบวนการทางธุรกิจต่าง ๆ (Business Processes) ที่ตอ้ งเกี่ยวข้องกับสอง
สามแผนกขึ้นไป
• กระบวนการทางธุรกิจ คือ การรวบรวมกิจกรรมต่าง ๆ ที่ถูกดาเนินการเพื่อให้บรรลุถึง
เป้าหมายที่วางไว้
• ดังนั้น Enterprise information systems จึงจัดรู ปแบบเพื่อรองรับหลาย ๆ แผนก หรื อ ทัว่
ทั้งองค์กร หรื อ เรี ยกว่า Enterprisewide Information System (EIS) (เป็ นการเชื่อมหลาย
ๆ แผนกเข้าด้วยกัน แต่ยงั ถือว่าอยูใ่ นภูมิศาสตร์ เดียวกัน) เช่น ระบบ ERP เป็ นต้น
Chapter 2
22
Business processes across and beyond the enterprise
Chapter 2
23
• จ) Inter-organizational systems (IOS) เป็ นระบบที่เชื่อมต่อองค์สององค์กรหรื อ
มากกว่าเข้าด้วยกัน ถือเป็ นส่ วนกลางที่เชื่อมพันธมิตรทางธุรกิจเข้าด้วยกันและมี
บทบาทที่สาคัญใน e-commerce เช่น สนับสนุนในด้านการบริ หารจัดการเรื่ อง supply
chain
• First type of IT system ถูกพัฒนาขึ้นมาเมื่อ 1980 เพื่อปรับปรุ งการสื่ อสารระหว่าง
พันธมิตรทางธุรกิจคือ electronic data interchange (EDI)
• Web-based systems (many using XML) เป็ นตัวช่วยส่ ง business applications ผ่านทาง
Internet โดยการใช้ browsers และ Internet ทาให้คนต่างองค์กรกันสามารถสื่ อสาร
ทางานร่ วมกัน เข้าถึงข้อมูลมากมายได้
Chapter 2
24
Departmental, enterprise and interorganizational information
system
Chapter 2
25
Inter-Organizational Systems (IOS)
Two or more organizations
Chapter 2
26
• ฉ) Global Information System หมายถึง IOS ทีเชื่อมต่อบริ ษทั ต่าง ๆ ที่คนละประเทศ
กัน ตัวอย่างเช่น ระบบ e-commerce หลาย ๆ ระบบเริ่ มเป็ น global
• ฌ) Very Large and Special System เป็ นระบบที่มีขนาดใหญ่และมักเป็ น global
ประกอบด้วยระบบย่อย ๆ หลายระบบ (ซึ่ งระบบย่อยมักเป็ น global Information
System) อ่านเพิ่มเติมใน IT at Work 2.1 “Generating $62 Million per Employee at
Western Petroleum” หน้า 49
• ดังนั้น ถ้าเรามองในเชิงการแบ่งตามระดับขององค์กร ระบบที่มีอยูใ่ น IT ต้องสนับสนุน
ได้ต้ งั แต่ระดับพนักงานไปจนกระทัง่ เป็ นระบบใหญ่แบบเชื่อมต่อบริ ษทั ในหลาย ๆ
ประเทศทัว่ โลกเข้าด้วยกัน
Chapter 2
27
2) แบ่งโดยอาศัยจุดมุ่งหมายในการให้การสนับสนุน (support provided)
Chapter 2
28
Chapter 2
29
ขยายความตารางที่ 2.2
• ผูบ้ ริ หารระดับสู ง (Executives) ทาหน้าที่ตดั สิ นใจเชิงกลยุทธ์ ต้องใช้ Business
Intelligence และ Corporate Performance Management
• กลุ่มสนับสนุน (Staff Support) ซึ่ งเป็ นพนักงานมีความรู ้ (Knowledge Workers) ต้อง
ใช้ Intelligent System, Decision Support System (DSS), Business Intelligence
Systems
• ผูบ้ ริ หารระดับกลาง (Middle Manager) ทาหน้าที่ตดั สิ นใจทางยุทธ์วธิ ี (Tactical
Decisions) ต้องใช้ Business Intelligence, Automated Decision Support (ADS),
Function System, MIS
• ผูบ้ ริ หารระดับต้น (Low-Level Managers) และพนักงานแถวหน้า (Frontline
Employees) ทาหน้าที่ตดั สิ นใจในระดับปฏิบตั ิการ (Operation Decisions) ต้องใช้
Automated Decision Support (ADS) (Intelligence System), Functional IS, MIS
• พนักงานธุรการ (Clerical Staff) ต้องใช้ Office Automation, Groupware, e-Mail,
Personal Productivity Software
Chapter 2
30
ลองมาดูทีละตัว
• Management Information System (MIS) ใช้โดยผูบ้ ริ หารระดับกลาง เพื่อจัดทา
สารสนเทศที่ตอ้ งใช้เป็ นประจา เช่น รายชื่อพนักงานรายวัน จานวนชัว่ โมงที่
ทางาน หรื อ ค่าใช้จ่ายรายเดือน เมื่อ เทียบกับตัวเงินที่มีอยู่ เป็ นต้น ซึ่ งนามาใช้ใน
การวางแผน จัดแบ่งการงาน และ ควบคุมการปฏิบตั ิงานในแผนกต่าง ๆ (Function
Areas) จุดมุ่งหมายหลักคือประมวลข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศ เราจะเรี ยนกันในบท
ที่ 7
• Office Automation System (OAS) ใช้โดยพนักงานออฟฟิ ศ เพื่อเพิ่มผลิตผลในการ
ทางาน ระบบสานักงานอัตโนมัติหมายถึง การสื่ อสารแบบอิเลคทรอนิคส์ต่าง ๆ ที่
ใช้อยูใ่ นสานักงาน รวมถึง word processing systems, document management
systems และ desktop publishing systems เราจะเรี ยนกันในบทที่ 4 และ 7
Chapter 2
31
• CAD (Computer Aided Design)/CAM (Computer Aided Manufacturing) ใช้โดย
วิศวกร เพื่อออกแบบและทดสอบงานต้นแบบ ถ่ายโอนข้อกาหนดต่าง ๆ ที่จาเป็ นไป
เป็ นสิ่ งอานวยความสะดวกในการผลิต เราจะเรี ยนกันในบทที่ 7
• Communication and Collaboration Systems (เช่น e-Mail, Voice Mail) ใช้โดย
พนักงานทุก ๆ คน เพื่อช่วยให้พนักงานและลูกค้าสื่ อสารและทางานร่ วมกันอย่างมี
ประสิ ทธิภาพ เราจะเรี ยนกันในบทที่ 4
• Desktop Publishing System ใช้โดยพนักงานออฟฟิ ศ เพื่อรวมข้อความ รู ปภาพ รู ปวาด
เข้าด้วยกันและสร้างเป็ นเอกสารที่คุณภาพอย่างมืออาชีพ เราจะเรี ยนกันในบทที่ 3
• Document Management System (DMS) ใช้โดยพนักงานออฟฟิ ศ เพื่อให้เอกสาร
อิเล็กทรอนิคส์ไปไปโดยอัตโนมัติ เราจะเรี ยนกันในบทที่ 3
Chapter 2
32
• Decision Support System (DSS) ใช้โดยผูบ้ ริ หารที่ตอ้ งตัดสิ นใจ ระบบเหล่านี้
รองรับการตัดสิ นใจที่ซบั ซ้อนและไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้นประจา (complex non-routine)
และ “การวิเคราะห์ในเชิง จะเกิดอะไรขึ้นถ้า (what-if analysis)” ซึ่ งเป็ นปัญหาแบบ
กึ่งโครงสร้าง เราจะเรี ยนกันในบทที่ 12
• Group Support System (GSS) ใช้โดยพนักงานที่ทางานเป็ นกลุ่ม เพื่อสนับสนุนการ
ทางานเป็ นกลุ่ม (รวมถึงการทางานต่างพื้นที่กนั ด้วย) เราจะเรี ยนกันในบทที่ 12
• Expert System (ES) ใช้โดยพนักงานที่มีความรู ้ แต่ยงั ไม่ชานาญการ เพื่อจัดหา
ความรู ้ในเรื่ องความชานาญการให้กบั ผูท้ ี่ยงั ไม่มีความชานาญได้เรี ยนรู ้และให้
คาแนะนาในการตัดสิ นใจบนพื้นฐานของความชานาญที่จดั เก็บเข้าไป เราจะเรี ยนกัน
ในบทที่ 10, 12
Chapter 2
33
• Knowledge Work System (KWS) ใช้โดยผูบ้ ริ หารและพนักงานผูม้ ีความรู ้ เพื่อ
สนับสนุนการเสาะหา จัดหมวดหมู่ และนาความรู ้ขององค์กรมาใช้ เราจะเรี ยนกันใน
บทที่ 10
• Neural Network และ Data mining ใช้โดยพนักงานที่มีความรู ้และผูเ้ ชี่ยวชาญ เพื่อ
เรี ยนรู ้เรื่ องต่าง ๆ จากอดีต แม้วา่ จะได้มาจากสารสนเทศขนาดใหญ่โตหรื อไม่
ครบถ้วนก็ตาม เราจะเรี ยนกันในบทที่ 9, 11, 12
• Business Intelligence ใช้โดยผูม้ ีหน้าที่ตดั สิ นใจ ผูบ้ ริ หาร พนักงานผูม้ ีความรู ้ เพื่อ
รวบรวมและใช้ขอ้ มูลขนาดใหญ่สาหรับทาการวิเคราะห์โดย Business Analytic และ
Intelligence System เราจะเรี ยนกันในบทที่ 11, 12
• Mobile Computing System ใช้โดยพนักงานที่ตอ้ งไปยังที่ต่าง ๆ เพื่อสนับสนุน
พนักงานที่อยูน่ อกขอบเขตขององค์กร ไปทางานร่ วมกับลูกค้าหรื อพันธมิตรธุรกิจ
เราจะเรี ยนกันในบทที่ 6
Chapter 2
34
• Automated Decision Support (ADS) ใช้โดยพนักงานแถวหน้าและผูบ้ ริ หาร เพื่อ
สนับสนุนการเอาใจใส่ ลูกค้า และพนักงานขาย ผูซ้ ่ ึ งต้องการทาอะไรทีร่ วดเร็ ว
ต้องการการตัดสิ นใจแบบทันทีทนั ใด เราจะเรี ยนกันในบทที่ 12
• ที่ผา่ นมาเป็ นการพัฒนาเพื่อสนับการใช้งานภายในองค์กร มีหลายสิ่ งทีพ่ ฒั นาขึ้นมา
เพื่อใช้กบั ภายนอกองค์กร
• Electronic Data Interchange (EDI) เพื่อให้คอมพิวเตอร์ กบั คอมพิวเตอร์ ของ
พันธมิตรทางธุรกิจ สื่ อสารกันโดยตรงผ่านเอกสารทางธุรกิจแบบมาตรฐาน ซึ่งต่อมา
ได้กลายเป็ นพื้นฐานของการตลาดอิเลคทรอนิคส์ (Electronic market) และพัฒนา
ต่อมา เป็ น e-commerce
• Customer Relationship Management (CRM) พัฒนาขึ้นมาเพื่อสนับสนุนลูกค้า
• Web-based system พัฒนาขึ้นมาเมื่อกลางปี 1990 และมาแรงเอาในปี 2000
Chapter 2
35
How do different information system relate to each other?
ถ้ามี 2 โมดูลรวมกัน เช่น ES-BI จะเรี ยกเป็ น Integrated Support Systems
Chapter 2
36
2.3) How IT Supports People and Organizational Activities
• การแบ่งระบบสารสนเทศที่สาคัญอีกแนวทางหนึ่ ง โดยการพิจารณาจากธรรมชาติของ
การดาเนินกิจกรรม ได้แก่
• ก) Operational Activities ใช้กบั การปฏิบตั ิงานรายวันขององค์กร เช่น การกาหนดงาน
ให้พนักงานทา บันทึกชัว่ โมงทางาน ออกใบสัง่ ซื้ อ เป็ นต้น สิ่ งเหล่านี้มกั เป็ นงานสั้น ๆ
ระบบที่นามาใช่สนับสนุน คือ TPS, MIS และ Mobile System ระบบที่เกี่ยวข้องกับการ
ปฏิบตั ิงานจะถูกใช้โดย Supervisors (first-line manager), operators และ clerical
employees
• ข) Managerial Activities (บางทีเรี ยก tactical activities หรื อ decisions) ใช้กบั กิจกรรม
ที่เกี่ยวข้องกับผูบ้ ริ หารระดับกลาง (middle-management activities) เช่น การวางแผน
การจัดองค์กร และการควบคุมในระยะสั้น ระบบบริ หารโดยอาศัยคอมพิวเตอร์ จะ
เทียบเท่ากับ MIS
Chapter 2
37
ตัวอย่าง S/W ที่สนับสนุนกิจกรรมเกี่ยวกับการบริ หารงาน
Chapter 2
38
• ค) Strategic activities คือ กิจกรรมหรื อการตัดสิ นใจในสถานการณ์ที่สาคัญต่อความ
เปลี่ยนแปลงของการทาธุรกิจ ถือเป็ นกิจกรรมในระยะยาว เช่น การวางแผนระยะยาว
การขยายธุรกิจโดยการซื้ อกิจการเข้ามาสนับสนุนส่ วนที่ขาดหายไป หรื อ outsourcing
• ในอดีตนั้นการวางแผนระยะยาว คือ แผนในอนาคต 5 ปี หรื อ 10 ปี แล้วเอามาแบ่งย่อย
ออกเป็ นแผนระยะสั้นในภายหลัง แต่ในยุค digital economy นั้นแผนเหล่านี้ลดลง
เหลือ 1 ถึง 2 ปี (หรื อ หลายๆเดือนแต่ไม่ถึงปี ) กิจกรรมเชิงกลยุทธ์ช่วยให้
• 1) ดาเนินกิจกรรมสนองตอบเชิงกลยุทธ์อย่างรวดเร็ วต่อการดาเนินกิจกรรมของคู่แข่ง
หรื อ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนยั สาคัญต่อสภาพแวดล้อมขององค์กร
• 2) เป็ นผูเ้ ริ่ มก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงก่อน แทนที่จะรอให้คู่แข่งเริ่ มก่อน
Chapter 2
39
Who performs what activities in Organizational, and how are they
supported by IT?
Chapter 2
40
• ก) Executives and Managers ผูบ้ ริ หารระดับสู งหรื อระดับวางกลยุทธ์ (the executive) จะ
อยูร่ ะดับสู งสุ ดของสามเหลี่ยมทาหน้าที่ในการตัดสิ นใจ เมื่อเผชิญกับสถานการณ์ที่อาจทา
ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนยั สาคัญในการ ดาเนินธุรกิจให้ลุล่วงไป สิ่ งสนับสนุน
ได้มาจาก BI และ Corporate Performance Management ส่ วนผูบ้ ริ หารระดับกลาง
(Middle managers) คือผูต้ ดั สิ นใจเชิงกลวิธี (tactical decision) จึงต้องการการสนับสนุน
จาก Functional information system, MIS ในส่ วนที่เขาทางาน ท้ายที่สุดแล้วเขายังชอบใช้
BI และ Intelligence system ซึ่ งมีให้ใช้บน intranet
• ข) Knowledge Worker, Clerical Staff, and Data Worker
• ระดับของ Staff support ถูกใส่ เข้ามาอยูร่ ะหว่าง top กับ middle management
Chapter 2
41
• The Knowledge workers
• พนักงานเหล่านี้ได้แก่ระดับ advisor และ ผูช้ ่วยต่าง ๆ ของผูบ้ ริ หารระดับกลางและ
ระดับสู ง และมักจะเป็ นผูช้ านาญงานในด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ พนักงานระดับ มือ
อาชีพต่าง ๆ เหล่านี้ ถูกจัดอยูใ่ นประเภทพนักงานผูช้ านาญ (knowledge workers) ซึ่ ง
หมายถึงกลุ่มคนที่สร้างสารสนเทศและองค์ความรู ้ (ถือเป็ นส่ วนหนึ่งของงาน ของพวก
เขา และรวมสิ่ งข้างต้นเข้าไปในธุรกิจ
• IS ที่สนับสนุน Knowledge worker จะเป็ นวงกว้างเริ่ มจาก Internet Search engines
(ช่วยค้นหาสารสนเทศที่ตอ้ งการ), expert system (ช่วยให้คาแนะนาและตีความ
สารสนเทศ) ไปจนถึง Web-based computer aided design (ปรับและเร่ งกระบวนการ
ออกแบบให้เร็ วขึ้น) และ sophisticated data management system (ช่วยเพิ่มผลิตผลและ
คุณภาพในการทางาน)
Chapter 2
42
• The Clerical workers
• พนักงานธุรการประกอบด้วยลูกจ้างจานวนมากหลายระดับชั้น ทาหน้าที่สนับสนุน
ผูบ้ ริ หารต่างๆในทุกระดับขั้นในบริ ษทั ในกลุ่มพนักงานธุรการเหล่านี้ ถ้าเขามีหน้า ใช้
หรื อ จัดเตรี ยม หรื อ เผยแพร่ ขอ้ มูล จะถูกเรี ยกว่า data workers พนักงานเหล่านี้
ประกอบด้วยพนักงานบัญชีต่างๆ เลขานุการที่ใช้โปรแกรมประเภท word processors,
electronic file clerks และ insurance claim processors.
• บรรดา Data Worker จะได้รับการสนับสนุนโดย Office Automation และ
Communication System อันประกอบด้วย document management, work flow, e-mail,
และ coordination software
Chapter 2
43
• The Operational Level
• ผูจ้ ดั การฝ่ ายปฏิบตั ิการ หรื อ first- line managers จะยุง่ เกี่ยวกับการปฏิบตั ิงานของ
องค์กรวันต่อวัน (ลักษณะงานเหมือนๆกันทุกวัน) ทาการตัดสิ นใจในงานที่ทาเป็ น
ประจา ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนิ นงานในรู ปแบบทัว่ ๆ ไป เช่น การวางแผนระยะสั้น การ
ปรับเปลี่ยนองค์กรและการควบคุมการปฏิบตั ิงาน
• ค) Infrastructure for the Support System ระบบสนับสนุนต่าง ๆ ด้านบน (สี เหลือง)
สร้างอยูบ่ น information infrastructure เช่น internet, intranet, corporate portals,
security systems และ corporate database
Chapter 2
44
2.4) How IT Supports Supply Chains and Enterprise Systems
• Supply chain
• ห่วงโซ่อุปทาน (supply chain) ขององค์กรหนึ่ง ๆ อธิบายถึงการไหลของวัตถุดิบ
ต่าง ๆ ข้อมูลทางการเงิน และ การบริ การต่าง ๆ ตั้งแต่ผขู ้ ายวัตถุดิบทั้งหลายมาจน
ถึงโรงงาน และ จากโกดังเก็บสิ นค้า (warehouse) ไปจนถึงลูกค้าท้ายสุ ด (end
customer) และยังรวมถึง องค์กรและกระบวนการที่สร้างผลิตภัณฑ์ สารสนเทศ
และ การบริ การต่าง ๆ ที่ส่งไปยัง end customer ด้วย
• Supply Chain แบ่งได้เป็ นสามส่ วน คือ
• 1) Upstream supply chain การดาเนินงานขององค์กรตั้งแต่ First Tier ออกไป
ส่ วนมากคือ procurement
Chapter 2
45
• 2) Internal supply chain คือ การดาเนินงานภายในองค์เพื่อเปลี่ยนวัตถุดิบให้เป็ น
สิ นค้า ได้แก่ production management, manufacturing และ inventory control
• 3) Downstream supply chain การดาเนินงานในการกระจายสิ นค้า การจัดเก็บ การ
ขนส่ ง และ การให้บริ การหลังการขาย
• นอกจาก IT จะต้องให้การสนับสนุนทั้งสามกรณี ขา้ งต้นแล้ว ยังต้องรวมถึงการ
บริ หารจัดการด้าน Supply Chain อีกด้วย ผ่านทางซอฟท์แวร์ หลัก ๆ 2 ประเภทซึ่ ง
เป็ นคาตอบของการบริ หารจัดการกับ การดาเนินการของห่ วงโซ่อุปทาน ตัวแรกก็คือ
enterprise resource planning ( ERP), และตัวที่สองก็คือ Supply Chain Management
(SCM) ซึ่ งเราจะคุยกันในบทที่ 8
Chapter 2
46
Downstream SC
Internal SC
Upstream SC
Chapter 2
47
IT support of other systems
• Industrial-Specific Systems
• เป็ นระบบที่ออกแบบมาเพื่อรองรับในเชิงอุตสาหกรรม เช่น Banking, Transportation,
oil, utilities หรื อ Universities ระบบสามารถใช้โปรแกรมประยุกต์ที่จาเพาะเจาะจงสอง
สามโปรแกรมมาใช้งาน
• Supporting E-Commerce Business Models
• ใช้งานเกี่ยวกับ e commerce เช่น e-auctions, exchanges, e-procurement หรื อ
electronic meeting
Chapter 2
48
2.5 Information Systems Infrastructure and Architecture
• Information Technology Infrastructure
• โครงสร้างของ IT จะประกอบด้วย:
• สิ่ งอานวยความสะดวกทางกายภาพต่าง ๆ ส่ วนประกอบต่าง ๆ ของ IT การให้บริ การ
ด้านต่าง ๆ ของ IT, และ การบริ หารด้าน IT ที่สนับสนุนการปฏิบตั ิงานทัว่ ทั้งองค์กร
• องค์ประกอบหลัก ๆ IT Infrastructure ได้แก่ เทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์ 1) ด้าน
ฮาร์ดแวร์ 2)ซอฟท์แวร์ 3) สิ่ งอานวยความสะด้วยในด้านโครงข่ายและการสื่ อสาร 4)
ฐานข้อมูล 5)บุคคลผูท้ าการบริ หารจัดการสารสนเทศ และ รวมไปถึง การบริ การด้าน IT
ประกอบ ด้วย การพัฒนาระบบบริ หารข้อมูล และ การรักษาความ ปลอดภัยในส่ วนที่
เกี่ยวข้อง
• นอกจากนั้น IT Infrastructure ยังประกอบด้วยทรัพยากรต่างๆ ที่กล่าวมาข้างต้น รวมไป
ถึง การประกอบเข้าด้วยกัน การทางานร่ วมกัน การจัดทาเอกสารต่าง ๆ การดูแลรักษา
และ การจัดการ
Chapter 2
49
Information Infrastructure (สรุ ปได้ดงั รู ป)
•
•
•
•
•
1) Hardware
2) Software
3) Networks & communication facilities
4) Databases and data workers
5) Information management personnel
Chapter 2
Information Systems
Function
50
• สถาปัตยกรรมของ IT (Information technology architecture) หมายถึง แผนที่หรื อ
แบบแผนระดับสู งหนึ่ง ๆ ที่แสดงทรัพยากรต่างๆ เกี่ยวข้องกับสารสนเทศในองค์กร
หนึ่ง ๆ ซึ่ งชี้ให้เห็นถึงแนวทางของการปฏิบตั ิงานในปั จจุบนั และเป็ นพิมพ์เขียว
(blueprint)ของทิศทางที่จะมุ่งไปในอนาคต เพื่อให้มนั่ ใจได้วา่ โครงสร้างของ IT ใน
องค์การนั้น ๆ สามารถรองรับกลยุทธ์ทางธุรกิจของบริ ษทั ได้ ในการจัดเตรี ยม IT
architecture ผูอ้ อกแบบจะต้องมีสารสนเทศอยูใ่ นมือสองส่ วน ได้แก่:
• ธุรกิจนั้นต้องการสารสนเทศอะไร หมายถึง วัตถุประสงค์ต่างๆ ปั ญหาต่าง ๆ ของ องค์กร รวมถึง
การนา IT เข้าไปมีส่วนร่ วม (สนับสนุน)
• IT infrastructure ที่มีอยูแ่ ล้ว ถูกวางแผนเอาไว้แล้ว และ การประยุกต์ใช้งานต่าง ๆ ในองค์กร มี
อะไรบ้าง สารสนเทศในส่ วนนี้รวมไปถึง ทรัพยากรต่าง ๆ ที่มีอยูแ่ ล้ว ในปั จจุบนั และแนวโน้ม
ในอนาคตด้วย
Chapter 2
51
• ระบบเว็บเบสด์ (Web based systems) หมายถึง การประยุกต์ใช้งานต่าง ๆ หรื อ การ
บริ การที่บรรจุอยูใ่ นเซิ ร์ฟเวอร์ ถูกเรี ยกใช้งานผ่านทาง web browser หนึ่ง ๆ และ
สามารถเข้าถึงจากที่ใดก็ได้โดยอาศัยเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต
• อินเตอร์เน็ต (Internet (“ the Net”)) หมายถึง ระบบคอมพิวเตอร์ ที่ครอบคลุมทัว่ โลก –
เป็ นเน็ตเวิร์คหลักของเน็ตเวิร์คต่าง ๆ; เป็ นสาธารณะ ใช้งานร่ วมกันและ สามารถ
ติดต่อกับประชาชนทัว่ โลกได้ดว้ ยตัวของมันเอง
• Information Superhighway หมายถึง โครงข่ายเน็ตเวิร์คที่ใช้ใยแก้วนาแสง (fiberoptic- based network) และ wireless infrastructure ที่จะเชื่อมต่อผูใ้ ช้อินเตอร์ เน็ต ใน
ประเทศหนึ่ง ๆ เข้าด้วยกัน
Chapter 2
52
World Wide Web/Internet/Extranet
• World Wide Web
• เป็ นแอพพลิเคชันตัวหนึ่งที่ใช้เป็ นฟั งก์ชนั สาหรับการส่ งผ่านของอินเตอร์ เน็ต; โดย มี
มาตรฐานที่ยอมรับกันทัว่ ไปในการ storing, retrieving formatting และ displaying
information ผ่านทาง client/server architecture
• Intranet
• เป็ นโครงข่ายภายในองค์กรหนึ่ ง ๆ ที่มกั ใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ของ web เช่น เบราเซอร์
(browser) และ อินเตอร์เน็ตโปรโตคอล มันจะถูกแยกออกจากอินเตอร์เน็ตโดย
security gateway เช่น firewall เป็ นต้น
• Extranet
• โครงข่ายที่มีการรักษาความปลอดภัยหนึ่ ง ๆ ที่เชื่อมต่ออินทราเน็ตหลาย ๆ วงเข้า
ด้วยกันโดยอาศัยอินเตอร์ เน็ต โดยทัว่ ไปแล้ว มันจะยอมให้องค์กรสององค์กร หรื อ
มากกว่าสื่ อสารกัน ร่ วมมือกัน เมื่อมองในแง่ของการควบคุม
Chapter 2
53
• Web sites ที่ทาตัวเป็ น gateway เข้าสู่ สารสนเทศขององค์กรจากการ access จากจุด
ๆ หนึ่ง มันจะสรุ ปสารสนเทศและเนื้อความจากหลาย ๆ แฟ้มข้อมูล แล้วแสดงขึ้น
มาให้ผใู ้ ช้ดู
• Corporate portals ยังถูกนามาใช้ในแง่ของการใช้เป็ นสารสนเทศส่ วนตัวสาหรับ
ลูกจ้าง หรื อ ลูกค้า
• Intranets และ Extranets มักถูกนามารวมอยูก่ บั corporate portal และ สามารถเข้า
ถึงได้โดยผ่านทาง corporate portal เช่นกัน
Chapter 2
54
Web-Based E-Commerce Systems
• Electronic Storefront: Web (ที่มีความทัดเทียมกับ showroom หรื อ physical store ที่เข้า
ไปซื้ อของได้) ที่สามารถทาธุรกรรมผ่านทาง e-business นัน่ คือสามารถแสดง และ/หรื อ
ขายสิ นค้าได้
• Electronic market: ความสามารถของโครงข่ายหนึ่ ง ๆ ในการตอบโต้ และมีความ
สัมพันธ์อยูบ่ น การแลกเปลี่ยน สารสนเทศ การให้บริ การเกี่ยวกับสิ นค้าต่าง ๆ และ การ
ชาระเงิน
• Electronic exchange: Web based public electronic market หนึ่ง ๆ ซึ่ งผูซ้ ้ื อหลาย ๆ ราย
และ ผูข้ ายหลาย ๆ รายสามารถตอบโต้กนั ได้ในเชิงอิเล็กทรอนิคส์
• Mobile commerce: การซื้ อ ขาย สิ นค้าและบริ การต่าง ๆ ในสภาพแวดล้อมของการ ใช้
อุปกรณ์ไร้สาย
Chapter 2
55
Web-Based E-commerce cont…
• Location based commerce: การทาธุรกรรมแบบ M–commerce โดยมีเป้าหมายอยู่ ลูกค้า
หลาย ๆ รายในพื้นที่ต่าง ๆ ที่กาหนดขึ้นมา และอยูใ่ นเวลาที่กาหนดด้วย
• Enterprise Web: Web application แบบเปิ ดสาหรับการบริ หารและส่ งข้อมูล โดย การ
รวมบริ การ(service)จาก different vendors ภายใต้ technology layer เดียวกัน อันเป็ นการ
ขยาย platform และ business systems.
• ลองมาดูแนวความคิดของ Electronic Storefront ในหน้าถัดไป รู ปแรกจะเป็ น กระบวน
การทาธุรกิจที่มีร้ายขายของ (Store) ที่เป็ นตึก มีโครงสร้างจริ งทางกาย ภาพ (ที่เรี ยกว่า
Brick-and-Mortar นัน่ เอง) รู ปต่อไป เป็ นโครงสร้างทาง H/W และ S/W (กลายเป็ น
Click-and-Mortar)
Chapter 2
56
Traditional store (Brick-and-Mortar)
รู ปนี้แสดงถึง กระบวนการค้าขายแบบปกติที่มีร้านค้าหรื อโชว์รูม แล้วลูกค้าเดินเข้ามาซื้ อของ
Chapter 2
57
Structure of Electronic Storefront (H/W)
รู ปนี้แสดงถึง โครงสร้างทางฮาร์ ดแวร์ ที่จะทา Electronic Storefront เข้ามาแทนโชว์รูม
Chapter 2
58
Structure of Electronic Storefront (S/W)
รู ปนี้แสดงถึง โครงสร้างทางซอฟท์แวร์ ที่จะทา Electronic Storefront
Chapter 2
59
2.6) Emerging Computing Environment
• The software-as-a-service (SaaS) business model
• ไม่วา่ จะเป็ น SaaS หรื อ on-demand computing หรื อ utility computing หรื อ hosted
services จะมีแนวความคิดเช่นเดียวกันคือ แทนที่จะซื้ อหรื อยุง่ ยากติดตั้งโปรแกรม
ประยุกต์ที่มีราคาแพง ผูใ้ ช้สามารถใช้โปรแกรมประยุกต์บนโครงข่ายซึ่ งมี internet
browser ดังนั้น จึงไม่ตอ้ งซื้ อ S/W หรื อ S/W ใด ๆ เพิ่มเติม เพียงจ่ายค่าบริ การโดยการ
เป็ นสมาชิกหรื อชาระค่าบริ การตามที่ใช้งาน (pay per usage)
• Suitability of SaaS
• CRM, โปรแกรมต่าง ๆ ที่สามารถ outsource ได้ เช่น HR/payroll, Finance/procurement,
B2C/e-commerce, product’s catalogs เป็ นต้น
Chapter 2
60
• SaaS and SOA
• แฟกเตอร์ ที่ทาให้เกิด SaaS คือตัวซอฟต์แวร์ ที่ถูกสร้างขึ้น ในอดีตนั้นตัวซอฟต์แวร์ถูก
สร้างในเชิงผูส้ ร้างรายเดียว ผูกติดทุกสิ่ งเอาไว้ดว้ ยกัน ในปั จจุบนั นี้ ซอฟต์แวร์จะมาจาก
หลายแหล่งผูกติดด้วยกันแค่จุดที่ตอ้ งการคานวณ (point of execution) จึงทาให้สามารถ
เปลี่ยน เพิ่มเติม ส่ วนต่าง ๆ ได้ตามต่องการ ทาให้มีความคล่องตัว แนวความคิดแบบนี้
เรี ยกว่า Service-oriented architecture (SOA)
• Implementing SaaS:
• Utility computing: พลังในการคานวณและความสามารถในการเก็บข้อมูลแบบไม่มี ขอบ
เขตจากัด (เหมือนกับการให้บริ การของไฟฟ้าและประปา) ทาให้สามารถรองรับ ความ
ต้อง การจาก virtual utilities ได้ท้ งั หมด
Chapter 2
61
• Subscription computing: Utility computing ชนิดหนึ่งที่วางส่ วนต่างๆ ซึ่ งอยูบ่ น
computing platform เดียวกัน เอาไว้ดว้ ยกัน (เมื่อในเชิงการให้บริ การต่าง ๆ) แทนที่จะ
เป็ นการรวบรวมในสิ่ งที่แยกย่อยที่แยกกันซื้ อมา
• Grid computing: การใช้การเชื่อมต่อของเน็ตเวิร์กต่าง ๆ เพื่อนา unused processing
cyclesของคอมพิวเตอร์ ต่าง ๆ มาใช้งาน เพื่อเป็ นการเพิ่มความสามารถในการคานวณให้
สู งขึ้น อ่านเพิ่มเติมใน IT at Work 2.2 “Grid Computing at J.P. Morgan” หน้า 61
• Mobile computing and mobile commerce
• Mobile computing หมายถึง ศักยภาพในการคานวณของพนักงานที่มีการเคลื่อนที่ไปยัง
ที่ต่าง ๆ แล้วต้องการเชื่อมต่อ(แบบเวลาจริ ง)จากที่ใด ๆ ไปยังจุดที่ตอ้ งการ (ซึ่ งมี
สภาพแวดล้อมในการคานวณอยูด่ ว้ ย)
Chapter 2
62
Emerging Computing cont…
• Mobile commerce หรื อ M-commerce คือการทาธุรกิจ (ซื้ อหรื อขายสิ นค้าหรื อ
บริ การ)ในสภาพแวดล้อมแบบไร้สาย (wireless) เช่น โทรศัพท์มือถือ หรื อ PDA
เป็ นต้น บางทีเรี ยกว่า “Next-generation of e-commerce”
• เมื่อมองในเชิง Wireless computing แล้ว จะหมายถึง การส่ ง content ผ่านทาง
อุปกรณ์ไร้สาย ซึ่ งปั จจุบนั นี้ทาได้เร็ วขึ้น ปลดภัยมากขึ้น อ่านเพิ่มเติมใน IT at
Work 2.3 “Wireless Pepsi Increase Productivity” page 61
• เทคโนโลยีของโมบายที่เผยโฉมออกมาได้แก่ Pervasive computing ซึ่ งหมายถึง
การคานวณต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นรอบ ๆ ตัวท่าน (มองไม่เห็น) ที่เกิด จากการฝังตัวชอง
อุปกรณ์เหล่านี้อยูใ่ นเครื่ องใช้ต่างๆ รอบ ๆ ตัวเรา
Chapter 2
63
•
•
•
•
•
•
•
Service-oriented architecture: ข้อดีของ SOA ได้แก่
ลด integration cost ลง
ปรับปรุ ง Business/IT alignment
เป็ นการขยายและเฉลี่ยการลงทุนทางด้าน IT ที่มีอยู่
การสร้างโปรแกรมประยุกต์ใหม่ ๆ ทาได้เร็ วขึ้น
ลดค่าดูและ/บารุ งรักษาทางด้าน IT ลง
Web services: โมดูลต่าง ๆ ของซอฟท์แวร์ ทางด้านกระบวนการทางธุรกิจทัว่ ๆไป ที่
จัดทาไว้ก่อนแล้ว(prefabricated) แล้วส่ งผ่านทางอินเตอร์ เน็ต เพื่อให้ผใู ้ ช้สามารถ
เลือกโมดูลต่าง ๆ แล้วนามารวมเข้าด้วยกัน เพื่อให้เหมาะสมกับอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้
งานอยู่ ทาให้ระบบที่แตกต่างกันใช้ขอ้ มูลและบริ การต่าง ๆ ร่ วมกันได้
Chapter 2
64
Using Web Services in software-oriented architecture
Chapter 2
65
• Virtualization หรื อ virtualization computing คือ แนวความคิดใหม่ซ่ ึ งมีหลาย
ความหมายใน IT และมีหลายนิยามด้วยกัน รู ปแบบหลัก ๆ ของ virtualization คือ
hardware virtualization และมีรูปแบบหลัก ๆ ได้แก่
• Storage virtualization คือ การ pool แหล่งเก็บข้อมูลทางกายภาพจากหลาย ๆ เน็ตเวิร์ค
ให้เหลือแค่แหล่งเดียว ทาให้บริ หารจัดการได้ง่าย
• Network virtualization เป็ นการรวมแหล่งทรัพยากรต่าง ๆ ในโครงข่ายหนึ่ง ๆ โดยทา
การแยก network load ออกเป็ นส่ วนที่บริ หารได้ แล้ว assign ให้ server ในโครงข่าย
• Hardware virtualization เป็ นการใช้ software จาลองการทางานของ hardware บางที
เรี ยก virtual machine
Chapter 2
66
2.7) MANAGERIAL ISSUES


1) Which IT resources are managed by whom?
ทรัพยากรของสารสนเทศจะถูกดูแลโดยสองฝ่ ายคือ Information systems
department (ISD) และ end users คาถามก้อคือ ทั้งสองฝ่ ายจะแบ่งการดูและ
ทรัพยากรอย่างไร หลักการกว้าง ๆ คือ ISD ดูแล corporate level และ shared
resources
Chapter 2
67
 2) The role of IS department
 บทบาทของ ISD มีความสาคัญมาก ผูบ้ ริ หารระดับสู งมักไม่สนใจเรื่ องนี้ ด้วย
ข้อจากัดของ ISD ที่มีหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องทางเทคนิค ผูบ้ ริ หารระดับสู ง
อาจทาให้องค์กรอยูใ่ นสภาวะที่อนั ตรายตลอดไปในอนาคตข้างหน้าในการ
พัฒนาและบริ หารจัดการ IT application ต่าง ๆ ในองค์กร ดังนั้น ผูบ้ ริ หารควร
บริ หารจัดการ end-user computing อย่างถูกต้องและระมัดระวัง เพราะ end user
ย่อมรู ้ดีวา่ เขาต้องการสารสนเทศอะไร และในระดับความสาคัญเท่าใด จึงควร
ถือว่า end user คือผูม้ ีบทบาทสาคัญในการพัฒนาและบริ หารจัดการ IT
 จะคุยกันในภายหลังเกี่ยวกับ CIO และ CFO
Chapter 2
68
 3) The transition to e-business.
 การเปลี่ยนองค์กรไปสู่ networked-computing-based e-business เป็ น
กระบวนการที่ซบั ซ้อน E-business ต้องการ client/ server architecture, intranet,
Internet connection, e-commerce policy and strategy การทาสิ่ งข้างต้นจะพบ
กับสิ่ งที่คาดไม่ถึงและมีความเสี่ ยงมากมาย ดังนั้น องค์กรควรจะพิจารณาอย่าง
รอบคอบว่า เมื่อใดควรทา และจะทาอย่างไร Information Technology
อะไรบ้างที่ควรจะนามาใช้ แล้วมีกระทบอย่างไร
Chapter 2
69
MANAGERIAL ISSUES Continued
 From legacy systems to client/server to intranets, corporate portals, and Webbased systems.
 เรื่ องสาคัญ ๆ ที่เกี่ยวข้องคือ จาเป็ นหรื อไม่ ถ้าจาเป็ น จะทาเมื่อใด และจะทาอย่างไร
ในการเปลี่ยนจาก legacy systems ไปเป็ น Web-based client/server enterprise-wide
architecture โดยทัว่ ไปแล้วมีแนวโน้มที่มุ่งไปยัง Web-based client/server ใน
ขณะเดียวกันมีมากมายที่ไม่สาเร็ จ และมีหลายเรื่ องที่ยงั แก้ปัญหาไม่สาเร็ จในการใช้
ระบบใหม่ การประยุกต์ใช้ intranets ทาได้ง่ายกว่า client/server นอกจากนั้น การมุ่ง
ไปสู่ new architecture มักต้องการ new infrastructure และการตัดสิ นใจว่าจะทา
อย่างไรกับ legacy systems ซึ่งอาจส่ งผลกระทบต่อ people, quality of work, และ
budget โดยเฉพาะอย่างยิง่ การวิง่ เข้าสู่ wireless infrastructure.
Chapter 2
70
MANAGERIAL ISSUES Continued
 4) How to deal with the outsourcing and utility computing trends.
Outsourcing น่าสนใจมากขึ้น เพราะ มีราคาถูกลง หาง่ายขึ้น มีความสาคัญมากขึ้น
ดังนั้นจึงถือว่า อนาคตที่ไม่ไกลนักเราจะเห็นรู ปแบบของ utility computing
 How much infrastructure?
 การตัดสิ นใจเกี่ยวกับ information system applications ไม่ใช่เรื่ องง่ายในด้าน
intangible benefits และ technology ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วทาให้ลา้ สมัยได้ง่าย
แต่การตัดสิ นใจเรื่ อง infrastructure ยิง่ ยากกว่าเพราะผูใ้ ช้และโปรแกรมประยุกต์
มากมายต้องเกี่ยวข้องอยูด่ ว้ ยหลายปี จึงเป็ นไปได้ยากในการที่จะทาการกาหนดถึง
จานวนผลประโยชน์ที่ได้ข้ ึนมา พึงถือว่า Basic architecture เป็ นสิ่ งจาเป็ น แต่
ขณะเดียวกัน ยังมีทางเลือกต่าง ๆ ให้เราเลือกด้วย
Chapter 2
71
MANAGERIAL ISSUES Continued
 5) Ethical issues

ระบบที่พฒั นาโดย ISD และดูแลโดย end users อาจนาปั ญหาที่เกี่ยวข้องกับ
เรื่ องจรรยาบรรณมาให้ เช่น เป้าหมายหลักของ ISD ควรสร้างระบบที่มี
ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล แต่ระบบข้างต้นอาจเข้าไปก้าวก่ายกับความเป็ น
ส่ วนตัวของผูใ้ ช้ หรื อ สร้างข้อได้เปรี ยบเฉพาะบุคคลขึ้นมา
อย่าลืมอ่าน
Minicase 1: E-Commerce Supports Field Employees at Maybelline
และ Minicase 2: How TrueCredit Utilizes SOA to Build Fast, Reliable Applications
Appendix 2A: Build-to-Order Production (Push/Pull System)
Appendix 3A: Basics of Supply Chains
Chapter 2
72
จบหัวข้อที่ 2
• มีคาถามมัย๊ ครับ…….
Chapter 2
73