มองอนาคตการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ของประเทศไทยกับการบริหารจัดการ โดย.. ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ ณ โรงแรมปริ๊นพาเลซ 15 มีนาคม 2553 www.chiraacademy.com 1. ผมขอขอบคุณที่กรุ ณามาร่ วม แสดงความคิดเห็นทั้งวัน กศน. มีหน้าที่สาคัญมาก ๆ คล้าย ๆ กับผมที่พยายามพัฒนาทุน มนุษย์ให้มีคุณภาพ และปัจจุบนั ต้องยัง่ ยืน และมีความสมดุลใน ชีวิต.

Download Report

Transcript มองอนาคตการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ของประเทศไทยกับการบริหารจัดการ โดย.. ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ ณ โรงแรมปริ๊นพาเลซ 15 มีนาคม 2553 www.chiraacademy.com 1. ผมขอขอบคุณที่กรุ ณามาร่ วม แสดงความคิดเห็นทั้งวัน กศน. มีหน้าที่สาคัญมาก ๆ คล้าย ๆ กับผมที่พยายามพัฒนาทุน มนุษย์ให้มีคุณภาพ และปัจจุบนั ต้องยัง่ ยืน และมีความสมดุลใน ชีวิต.

มองอนาคตการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ของประเทศไทยกับการบริหารจัดการ
โดย.. ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์
ณ โรงแรมปริ๊นพาเลซ
15 มีนาคม 2553
1
www.chiraacademy.com
1. ผมขอขอบคุณที่กรุ ณามาร่ วม
แสดงความคิดเห็นทั้งวัน กศน.
มีหน้าที่สาคัญมาก ๆ คล้าย ๆ
กับผมที่พยายามพัฒนาทุน
มนุษย์ให้มีคุณภาพ และปัจจุบนั
ต้องยัง่ ยืน และมีความสมดุลใน
ชีวิต
2
2.หน้าที่ของท่านสาคัญมาก
ผมขอเป็ นพันธมิตรและใช้
จุดแข็งของท่านทั้งหลาย
ให้เป็ นประโยชน์สูงสุ ด
3
3. จุดแข็งของท่านก็ คือ มี
โครงสร้าง ปัจจุบนั เรี ยกว่า
Structural Capital





มีกระทรวง
มีหน่วยงานเท่ากับกรม
มีงบประมาณ
มีคน (ข้าราชการ)
มีกฎหมายของรัฐ
แต่ Structural Capital = ความเป็ นเลิศ
4
โลกในอนาคต
Structural Capital +
Networking + Execution
ไปสู่ ..ความสาเร็จ
ซึ่ งเป็ นสิ่ งที่ยากและต้องใช้เวลา
5
4. การทางานในยุคต่อไปจึงต้อง
มองแนวร่ วม อย่างผมเองกับ
ดร.ไชยยศ ก็เริ่ มเป็ นแนว
ร่ วมกัน
6
5. ในเวลา 6 ชัว่ โมง ผมจึงมีหน้าที่มา
Share ความรู ้ แต่กอ็ ยากให้ทุก ๆ คน
ได้มีโอกาส feedback ให้ผมทราบ
และอาจจะมีแนวทางที่ทาอะไรที่
เป็ นประโยชน์ร่วมกันในอนาคต แต่
แค่ 6 ชัว่ โมงคงไม่พอ คงจะต้องมี
อะไร ผมเรี ยกว่า ทฤษฎี 3 ต – และ
ในอนาคตพอมี 3 ต ก็จะมี 3 V
7
6. ในช่วงแรก คงจะเป็ นการตั้ง
ข้อสังเกตกว้าง ๆ ว่าผมมี
ความคิดเห็นอย่างไร กับเรื่ อง
การศึกษานอกระบบหรื อ
การศึกษาตลอดชีวิต
(Lifelong Learning)
8
7. เรื่ องที่ 2 น่าจะมอง Concept ให้ชดั ว่า เรา
หมายถึงอะไร?
แต่ก่อนจะมองว่า Formal กับ Informal คือ
เรี ยนแบบไม่เป็ นทางการ อาจจะเก็บตกเด็กที่
ไม่ได้เข้าเรี ยน แต่ให้เขาจบมีกระดาษ และวัน
หนึ่งเขาอาจจะมาอยู่ Formal ได้ ซึ่ง กศน. ใน
อดีต ก็ทาเรื่ องนี้มาก เด็กยากจน เด็กพิการ
เด็กเกเร เด็กที่อยูต่ ามถิ่นกันดาร เด็กชาวเขา
หรื อปัจจุบนั เรื่ องใหญ่ที่สุดก็คือเด็กหรื อ
เยาวชนต่างด้าว
9
ผมคิดว่าบทบาทหน้าที่แค่น้ ีก็
มากแล้ว คงจะต้องทาต่อแต่ขอ
เน้นว่าอย่ามองแค่ Volume มอง
Value ด้วย อย่าใช้หลักสูตรหรื อ
Methodology ที่เหมือน Formal
ต้องสร้างความแตกต่างกับ
Formal Learning
10
8. ปัจจุบนั Non-formal เปลี่ยนไปมาก
กลายเป็ นสิ่ งสาคัญที่สุด แต่ในเมืองไทย
งบประมาณ คน วิธีการ อาจจะมอง
แบบเดิมคือเน้น Formal ดูรูป Life cycles
of learning
0
18
22
หลั
ง
60
เกษี ยณ
11
ผมเชื่อว่า Non-formal ซึ่งกลายมาเป็ น Lifelong
Learning หรื อ Learning Culture ต่างหากที่มี
ความสาคัญมากขึ้น และเรามี Paradox เกิดขึ้นแล้ว
ก็คือ
 งานสาคัญมากขึน้ แต่โครงสร ้าง งบประมาณ ยังไปติด
อยูท
่ ี่ formal
 จึงเกิดการพูดกันมากมาย ซงึ่ บางเรือ
่ งผมเป็ นคนเริม
่
่ ปริญญาไม่ใชป
่ ั ญญา
เชน
้
 ประเทศไทยล ้มละลายทางปั ญญาแบบชาๆ
ิ ธิ์ ไปพูดทีไ่ ทยรัฐบอก
 หรือเมือ
่ เร็ว ๆ นี้ นายกฯ อภิสท
ว่าสอบตกยากกว่า สอบได ้ เพราะทุก ๆ คนได ้เรียนและ
ได ้ประกาศนียบัตรแต่ไม่ได ้คุณภาพ
12
9. Lifelong Learning จึงเป็ นจุดสาคัญ
ของ Informal เพราะ
 ความรู้ลา้ สมัยทุก ๆ 2 ปี (Internet)
 ความรู ้แบบเฉพาะทาง ก็ไม่พอ ต้องมีความรู ้ขา้ มศาสตร์
 โลกในยุคใหม่ของไทย – จากเกษตร-มาอุตสาหกรรม-มา
IT + ความรู้ Ideas - มายุค Ideas + Creativity + Innovation
 สรุ ปก็คือ ปริ ญญาโทเต็มเมืองแถมยังมีปริ ญญาเอก เรี ยน
เต็มเมือง แล้วคนไทยเก่ง ฉลาดสู้กบั คนอื่นได้หรื อไม่? ต้อง
เน้น Formal Learning และ Lifelong Learning
13
ดังนั้น ผมจึงคิดว่าถ้าจะสร้างให้ กศน. - รับมือ
กับการเปลี่ยนแปลงได้อย่างไร ต้องเน้นการ
จัดการให้เกิดทุนมนุษย์ที่มีคุณภาพ
และต้องทาอะไรที่เกิดการเปลี่ยนแปลงวิธีการ
คิดวิธีการทางานอย่างมาก แต่ในเวลาที่มีจากัด
แค่ 6 – 7 ชัว่ โมง ผมจะฝากไว้ 3 เรื่ อง และเป็ น
เรื่ องที่ผมพูดไปแล้วหลายเวที ขอให้เวที กศน.
ได้นาไปคิดต่อและต่อยอด คือ
14
 ระบบบริ หารจัดการที่ทนั สมัย (Including
Innovation) และทุนมนุษย์ใน กศน.
 การสร้าง Learning Methodology และ
Learning Culture ที่เหมาะสม
 สุ ดท้ายการสร้างแนวร่ วม Networking และ
เครื อข่าย หลังจากนั้นก็เป็ นการนาไปสู่การสร้าง
Partnership ซึ่งทั้งหมดนี้กต็ อ้ งไปตอบเป้ าหมาย
ของการศึกษา คือ ความยัง่ ยืน ความสุ ขและ
ความอยูร่ อด
15
แนวคิดเพือ
่ การ
บริหารจัดการ
และการสร ้าง
ทุนมนุษย์
Demand side
Supply Side
HR Architecture
ประชากรเกิด
กาลังแรงงานและประชาชน
Agriculture,
Industry,
Service,
Government
Self
Employment
การแข่งข ัน
Education
Health
Nutrition
Family
คิดเป็ น วิเคราะห์ เป็ น คิดแบบ
วิทยาศาสตร์ คิดแบบ Creativity Innovation
สังคมการเรียนรู้ จิตสาธารณะ
ประชาธิปไตย
ความยากจน
Peace
ความยง่ ั ยืน
Sustainability
และความสุข ความสมดุล
สงิ่ แวดล้อม
Global warming
โลกาภิว ัตน์
17
ทฤษฎี 3 วงกลม
เพื่อการบริหารทรั พยากรมนุษย์
1
Context
2
Competencies
3
Motivation
18
วงกลมที่ 1
ดู context หรือสภาพแวดล้ อมในองค์ กรในองค์ กรว่ า
เอือ้ อานวยต่ อการทางานอย่ างมีประสิทธิภาพหรือไม่ ?
- ระบบโครงสร้ างองค์ กรที่คล่ องตัว
- การนาระบบ IT มาใช้ ในการบริหารงาน
- Process ของงาน
- การนา data และ knowledge
มาสร้ างมูลค่ าเพิ่ม
19
Organization : แบบเดิม
ครัง้ ที่ 2
20
Organization : แบบใหม่
ครัง้ ที่ 2
ลูกค้ า
New Process
21
วงกลมที่ 2
มองดูคุณภาพจาก Gap
Analysisว่ ามี Skills และ
Competencies อะไร? และ
ขาดอะไร? ..
แล้ วพยายามลดช่ องว่ าง
22
ผมว่าคนไทยยังไม่มี...
วงกลมที่ 2
• การแสวงหาความรู้ (Learning Culture )
• เป็ นองค์ กรแห่ งการเรียนรู้
• ภาวะผู้นา
• การมองโลกทัศน์ ท่ กี ว้ างและกาหนดวิสัยทัศน์ ท่ ดี ี
23
วงกลมที่ 2
• Innovation
• การบริหารเวลา (Time Management)
• Creativity
• การมีทศั นคติเป็ นบวก
(Positive Thinking)
24
วงกลมที่ 2
• ทางานเป็ นทีม
• การบริหาร Knowledge
• Change management
• การกระจายอานาจให้ ได้ ผล
25
วงกลมที่ 2
• ความสามารถในการตัดสินใจ
• ความสามารถในการรับฟั งและ
ยอมรั บความจริง
26
โดยสรุป Competencies แบ่งเป็ น 5 เรื่ อง
1) Functional Competency
คือ ความรู้ท่ เี ราต้ องเพิ่มเติม
เกี่ยวกับการทางาน เช่ น
วิศวกรต้ องฝึ กเรื่องช่ าง
วงกลมที่ 2
บัญชีก็ต้องฝึ กเรื่องบัญชี
27
2) Organizational Competency
เน้ นเรื่องความรู้ท่ มี ีประโยชน์ ให้ องค์ กร
มีการศึกษาเรื่อง
– Re-engineering
– Six Sigma
– การปรับองค์ กร
– TQM
– วัฒนธรรมองค์ กร
28
3) Leadership Competency
– เน้ นเรื่ อง People Skill
– เน้ นเรื่ อง Vision
– เน้ นเรื่ องการสร้ าง Trust
29
4) Entrepreneurial Competency
(1) Have good ideas
(2) Execute ideas
(3) Face failures and overcome
(4) Risk Management
30
5) Macro and Global Competency
(1) Know what going on at
national and global level
(2) Explore opportunity and
avoid danger
31
จะทาอย่ างไร
ให้ การ motivation
มีประสิทธิภาพ
และเกิดผลจริงกับงาน
วงกลมที่ 3
32
MOTIVATION
วงกลมที่ 3
- การมีระบบโครงสร้ างเงินเดือนและค่ าตอบแทน
ที่เหมาะสม และเน้ น Pay for Performance
และการอยู่ร่วมกันอย่ างสันติสุขในองค์ กร
- การมีโอกาสและความก้ าวหน้ าในงานและ
องค์ กร
- การมีส่วนร่ วม
- การทางานที่ท้าทาย
- การทางานเป็ นทีม
- การให้ รางวัลพิเศษ
33
MOTIVATION
วงกลมที่ 3
-
การให้ โอกาสไปเพิ่มพูนความรู้
วัฒนธรรมองค์ กร
การประเมินผลอย่ างโปร่ งใส
ความเป็ นธรรม
34
MOTIVATION
วงกลมที่ 3
-
Style การบริหาร
สภาพแวดล้ อมในการทางาน
Empowerment
อื่นๆ
35
(7) 8 K’s : ทฤษฎีทุน 8 ประเภท
พื้ นฐานของการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์
Human Capital
ทุนมนุ ษย์
Intellectual Capital
ทุนทางปั ญญา
Ethical Capital
ทุนทางจริยธรรม
Happiness Capital
ทุนแห่งความสุข
Social Capital
ทุนทางสังคม
Sustainability Capital
ทุนแห่งความยังยื
่ น
Digital Capital
ทุนทาง IT
Talented Capital
ทุนทางความรู ้ ทักษะ
และทัศนคติ
36
(8) 5 K’s (ใหม่) : ทฤษฎีทุนใหม่ 5 ประการ
เพือ่ การพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ในยุคโลกาภิวตั น์
Creativity Capital
Knowledge Capital
Innovation Capital
Emotional Capital
Cultural Capital
ทุนแห่งการสร้างสรรค์
ทุนทางความรู ้
ทุนทางนวัตกรรม
ทุนทางอารมณ์
ทุนทางวัฒนธรรม
37
38
การสร้างสังคมแห่ง
การเรี ยนรู ้
39
40
ทฤษฎี 4 L’s
เพื่อการเรียนรู้และสร้ างสังคมแห่งการเรียนรู้
Learning Methodology มีวิธีการเรียนรูท้ ี่ดี
Learning Environment สร้างบรรยากาศในการเรียนรู ้
Learning Opportunities สร้างโอกาสในการเรียนรู ้
Learning Communities สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู ้
41
กฎของ Peter Senge
อยู่ในหนังสือ Rethinking the Future
Personal Mastery รูอ้ ะไร รูใ้ ห้จริง
Mental Models มีแบบอย่างทางความคิด
Shared Vision มีเป้าหมายร่วมกัน
Team Learning เรียนรูเ้ ป็ นทีม ช่วยเหลือกัน
System Thinking มีระบบการคิด มีเหตุมีผล
42
การสร้างเครื อข่าย
ใครคือ Stakeholders ของเรา?
43
Social Capital - Networking
ภาครัฐ
ภาคธุรกิจ
นักเรียนเก่ า
สื่ อมวลชน
เพือ่ นสนิท
ทีท่ างาน
วิชาการ
ญาติพนี่ ้ อง
เล่ นกอล์ ฟ
ภาคต่ างประเทศ
ภาคประชาชน
44
และเรามาสรุ ปต่อยอดร่วมกนั
วา่ เราจะทาอะไรต่อไป
45
โปรดติดตาม
รายการ คิดเป็ น.. ก้ าวเป็ น กับ“ดร.จีระ”
ทาง Tre Visions 08 (TNN2)
ทุกวันเสาร์ เวลา 12.00 - 23.30 น.
• Re-run
– ทุกวันอาทิตย์ เวลา 23.00 - 23.30 น.
– ทุกวันพุธ เวลา 22.00 - 22.30 น.
46
โปรดติดตาม
•รายการโทรท ัศน์
่ ตวรรษใหม่”
รายการ “สูศ
•
่ ง11)
ออกอากาศทาง NBT (ชอ
•
ั ดาห์ท ี่ 4 ของเดือน
ทุกวันเสาร์สป
เวลา 01.00 – 02.00 น.
47
โปรดติดตาม
•
รายการวิทยุ
Human Talk
• ทุกวันอาทิตย์ทางโมเดิรน
์ เรดิโอ
(คลืน
่ ความคิด) F.M. 96.5 MHz.
เวลา 06.00 – 07.00 น.
48
ติดตามอ่ านบทความ
“บทเรี ยนจากความจริง”
ทาง นสพ. แนวหน้ า ฉบับทุกวันเสาร์
(หน้ า 5)
49
ติดตามชุมชนการเรียนรู ้ออนไลน์ (Blog)
ของผมที่
www.chiraacademy.com หรือ
www.gotoknow.org/blog/chirakm
www.gotoknow.org/blog/chiraacademy
50
Thank You
Chira Academy
มูลนิธิพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ
Tel: 0-2619-0512 – 3
Email : [email protected]
www.chiraacademy.com
Fax: 0-2273-0181
www.fihrd.org
51