CHANGE MANAGEMENT รองศาสตราจารย์ ดร.สุเทพ เชาวลิต ผูอ้ านวยการหลักสูตรปริญญาเอก Doctor of Management (Public Management) อดีต ที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี นบส.

Download Report

Transcript CHANGE MANAGEMENT รองศาสตราจารย์ ดร.สุเทพ เชาวลิต ผูอ้ านวยการหลักสูตรปริญญาเอก Doctor of Management (Public Management) อดีต ที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี นบส.

CHANGE MANAGEMENT
รองศาสตราจารย์ ดร.สุเทพ เชาวลิต
ผูอ้ านวยการหลักสูตรปริญญาเอก
Doctor of Management (Public Management)
อดีต ที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี
นบส. กศน. รุน่ 2
องค์การที่ประสบความสาเร็จ
การบริการที่เป็ นเลิศ
วิสยั ทัศน์ นโยบาย วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ชัดเจน
พนักงานมีคุณภาพ
ผูน้ าเก่ง มีวิสยั ทัศน์ที่ยอดเยี่ยม
เทคนิค วิธีการ ทันสมัย
โครงสร้าง คน งาน เทคโนโลยี เหมาะสม
วัฒนธรรมองค์การเอื้อต่อการพัฒนา
สมาชิกทุกคนมีจติ สานึกเป็ นเจ้าของ
การบริหารจัดการที่ดี
พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
THE NATURE OF CHANGE
W.E.MOOR
เกิดขึ้นในสังคม รวดเร็ว เกิดขึ้นเสมอ
เกิดขึ้นเกี่ยวพันกันเป็ นลูกโซ่ ต่อเนื่องกัน
เกิดขึ้นได้ทุกสถานที่ ทุกสถานการณ์ มีความสาคัญต่อองค์การ
มักจะมีผลมาจากการวางแผน นวัตกรรมมากกว่าสมัยก่อน
เทคโนโลยีกา้ วหน้า แผ่ขยาย รวดเร็วกว้างขวาง
ผลกระทบถึงปั จเจกบุคคล ทุกคนหลีกเลี่ยงไม่ได้
แนวคิดพื้นฐานการบริหารจัดการงานบริการยุคใหม่
3C
CHANGE
COMPETITION
CUSTOMER
CHANGE MANAGEMENT
Change Management is the use of
systematic methods to ensure that a planned
organizational change can be guided in the
planned direction, conducted in a costeffective and efficient manner, and completed
within the targeted time frame and with the
desired results.
ความจาเป็ นในการเปลี่ยนแปลง
องค์การราชการ
1.
พลังผลักดันภายใน
Internal Forces
2.
พลังผลักดันภายนอก
External Forces
PUBLIC MANAGEMENT PROBLEM
STRUCTURE
HUMAN RESOURCE
QUALITY
BEHAVIOR
VALUE
LAW & REGULATION
MISSION
TECHNOLOGY
MANAGEMENT
CORPORATE CULTURE
การบริหารจัดการภาครัฐ
ปั ญหาการบริหารจัดการภาครัฐ
1. องค์การราชการกาลังเสื่อม
( BUREAUCRATIC PATHOLOGY )
การขาดประสิทธิภาพ
การขยายอานาจ หน้าที่ ไม่มีที่ส้ ินสุด
การใช้ทรัพยากรการบริหารฟุ่ มเฟื อย
ความล่าช้า เฉื่อยชา เพิกเฉย
การวิ่งเต้นแสวงหาความก้าวหน้า
การต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
การบริหารจัดการภาครัฐ
ปั ญหาการบริหารจัดการภาครัฐ(ต่อ)
2. การขาดหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
( Dirty Governance )
การบริหารแบบไม่มีส่วนร่วม
การทุจริต ประพฤติมิชอบ
ความไม่โปร่งใสทางการบริหาร
วงจรอุบาทว์การบริหารจัดการภาครัฐ
การต่อต้าน
การเปลีย่ นแปลง
การขยายอานาจ
หน้าที่ไม่มีท่ีส้ นิ สุด
ความไม่โปร่งใส
ทางการบริหาร
การขาดประสิทธิภาพ
วงจรว่าด้วยความเสื่อม
ขององค์กรราชการ
การวิ่งเต้นแสวงหาความก้าวหน้า
วงจรว่าด้วยการขาดการ
บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
การบริหารแบบไม่มีส่วนร่วม
การใช้ทรัพยากร
ฟุ่ มเฟื อย
ความล่าช้า
เฉือ่ ยชา เพิกเฉย
การทุจริต
ประพฤติมิชอบ
ผลกระทบจากการบริหารจัดการภาครัฐ
1. การบั ่นทอนศักยภาพของทรัพยากรบุคคลภาครัฐ
2. ไม่สนับสนุนการเจริญเติบโตของภาคธุรกิจเอกชน
3. อุปสรรคต่อการบริหารการพัฒนาประเทศ
แรงผลักดันภายนอกการจัดการการเปลี่ยนแปลง
องค์การราชการ
•
•
•
•
•
•
กระแสโลกาภิวตั น์
ความก้าวหน้าเทคโนโลยี
วิกฤตเศรษฐกิจ
การเข้าสูสงั คมการเรียนรู ้
ความต้องการมีส่วนร่วมของประชาชน
การเมือง รัฐธรรมนูญใหม่
การเปลี่ยนแปลงองค์การภาครัฐ
1. บทบาทขององค์การภาครัฐที่สอดคล้องกับ
สถานการณ์อนาคต
2. ลักษณะขององค์การภาครัฐที่สอดคล้องกับ
สถานการณ์อนาคต
3. การบริหารจัดการองค์การภาครัฐที่สอดคล้องกับ
สถานการณ์อนาคต
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการ
AS IS
Bureaucratic
Pathology
Dirty
Governance
CHANGE
TO BE
Corporatization
Efficient
Good Governance
Customer Driven
Enterprising
Result-Oriented
Mission Driven
Participatory
Transparency
NEW PUBLIC MANAGEMENT
NPM
The Commonwealth Association for Public
Administration and Management
1994
องค์ประกอบ N P M
1. รัฐพึงทาเฉพาะบทบาทที่ตนทาได้ดี
2. การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน
3. การลดการควบคุมจากส่วนกลาง เพิ่มอิสระในการบริหารแก่
หน่วยงาน
4. การกาหนด วัด ให้รางวัลแก่การดาเนินงานโดยมีระบบการ
บริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์( Performance Based Management System :
PBMS)
5. การสร้างระบบสนับสนุนทั้งในด้านบุคลากร เทคโนโลยี
6. การเปิ ดกว้างต่อแนวคิดในเรื่องการแข่งขัน ทั้งภายในหน่วยงาน
และระหว่างหน่วยงาน
CHANGE PROCESS MODEL
: Kurt Lewin
CHANGING
UNFREEZING
OR
MOVING
REFREEZING
การวางแผนการเปลี่ยนแปลง
ขัน้ ตอนที่ 1 การสร้างการรับรูแ้ ละตระหนักถึงความ
จาเป็ นในการเปลี่ยนแปลงองค์การ
ขัน้ ตอนที่ 2 ผูน้ าในองค์การจะต้องมีความสนใจให้
ความสาคัญและสนับสนุนการเปลี่ยนแปลง
ขัน้ ตอนที่ 3 สื่อสารและสร้างความเข้าใจกับผูท้ ี่
เกี่ยวข้อง
1.การที่ผบ
ู ้ ริหารตระหนักถึงผลของแรงขับทั้งภายในและ
ภายนอก
2.การตั้งเป้าหมายในการจัดการการเปลี่ยนแปลงร่วมกัน
ขั้นตอนในการ
จัดการการ
เปลี่ยนแปลง
ในองค์การ
3.การวิเคราะห์ตว
ั แปรในการเปลี่ยนแปลงอย่างละเอียด
4.การเลือกสรรเครื่องมือที่เหมาะสมกับองค์กร
5.การวางแผนร่วมกันในการจัดการการเปลี่ยนแปลง
6.
การจัดการการเปลี่ยนแปลง
7.
การประเมินผลและติดตามผล
CHANGE MANAGEMENT PROCESS
Seven Steps
1. Mobilize Energy and Commitment through Joint
Identification of the Organization Problems and Their
Solutions
2. Develop a Shared Vision of How to Organize and Manage
for Competitiveness
3. Identify the Leadership
4. Focus on Results, Not on Activities
5. Start Change at the Periphery, Then Let It Spread to Other
Units without Pushing It from the Top
6. Institutionalization Success through Formal Policies,
Systems and Structures
7. Monitor and Adjust Strategies in Response to Problems
in the Change Process
Principle for Sustainable Development
7 F : FIND
THE ISSUE
FORGET THE PAST
FOCUS THE PRESENT
FORESEE THE FUTURE
FORGIVE THE MISTAKE
FILL THE GAP
FORM THE NETWORK
REACTION OF CHANGE
A Sense of Loss and Anxiety
STAGES IN REACTION TO CHANGE
1. SHOCK
2. DEFENSIVE RETREAT
3. ACKNOWLEDGMENT
4. ACCEPTANCE AND ADAPTATION
แรงต้านด้านบุคคล
1. กลัวการประเมิน
2. กลัวการสูญเสียอานาจ ตาแหน่ง
3. กลัวการปรับตัว
4. กลัวกระทบวิถีเดิม
5. ความไม่ไว้วางใจ
6. กลัวการแตกแยก
แรงต้านด้านองค์การ
1. โครงสร้างเสถียร
2. ระบบที่เข้มงวด เคร่งครัด
3. บรรทัดฐานกลุม่ ที่ช้ ีนา
4. วัฒนธรรมองค์การ
5. บั ่นทอนอานาจ
การจัดการกับแรงต้าน
1.
2.
3.
4.
5.
สร้างความเข้าใจร่วมกัน
ชี้ชัดความปลอดภัยจากการเปลี่ยนแปลง
สร้างสัมพันธภาพที่ดี
เคารพความคิดเห็นของทุกฝ่ าย
การบริหารจัดการแบบมีสว่ นร่วม
ปั จจัยที่ทาให้การเปลี่ยนแปลงประสบผลสาเร็จ
1. ดาเนินการให้เป็ นภาพองค์รวม
2. ความร่วมมือของผูบ้ ริหารระดับสูง
3. การมีส่วนร่วมในทุกระดับ
4. การส่งเสริมให้มีการสื่อสารระบบเปิ ด
5. การเข้าใจวัฒนธรรมองค์การ
6. ดาเนินการอย่างต่อเนื่อง
7. ความน่าเชื่อถือของผูน้ าการเปลี่ยนแปลง
8. การให้รางวัลแก่ผสู ้ นับสนุน
CELEBRATE MILESTONES
Tips for Celebrating Short-Term Wins
1.Treat change participants to a catered
lunch and bring in an outside speaker
2. Have a picnic
3. Take the afternoon off for a softball
game
4. Recognize the deeds of exceptional
contributors
รองศาสตราจารย์ ดร.สุเทพ เชาวลิต
suthep24@ hotmail.com
089 7600555