3. การอ้างเหตุผล การให้ เหตุผล 1. การให้ เหตุผลแบบอุปนัย 2. การให้ เหตุผลแบบนิรนัย กระบวนการของการให้ เหตุผลนั้นเป็ นการตอบคาถาม ว่ า ทาไมซึ่งประกอบด้ วยสาคัญสองส่ วนคือ ส่ วนที่เป็ นเหตุ ส่ วนที่เป็ นผล ในชีวติ จริ งของเราบ่อยครั้งที่ถูกถามว่า.

Download Report

Transcript 3. การอ้างเหตุผล การให้ เหตุผล 1. การให้ เหตุผลแบบอุปนัย 2. การให้ เหตุผลแบบนิรนัย กระบวนการของการให้ เหตุผลนั้นเป็ นการตอบคาถาม ว่ า ทาไมซึ่งประกอบด้ วยสาคัญสองส่ วนคือ ส่ วนที่เป็ นเหตุ ส่ วนที่เป็ นผล ในชีวติ จริ งของเราบ่อยครั้งที่ถูกถามว่า.

3. การอ้างเหตุผล
การให้ เหตุผล
1. การให้ เหตุผลแบบอุปนัย
2. การให้ เหตุผลแบบนิรนัย
กระบวนการของการให้ เหตุผลนั้นเป็ นการตอบคาถาม
ว่ า ทาไมซึ่งประกอบด้ วยสาคัญสองส่ วนคือ
ส่ วนที่เป็ นเหตุ
ส่ วนที่เป็ นผล
ในชีวติ จริ งของเราบ่อยครั้งที่ถูกถามว่า ทาไม เราจึงต้องมี
การให้เหตุผล และในบางครั้งเราก็ตอบได้เป็ นที่พอใจของ
ผูถ้ าม เช่นครู ถามนักเรี ยนว่า “วันนี้ทาไมนักเรี ยนตั้งใจ
เรี ยนดีมากเป็ นพิเศษ” เหตุผลที่นกั เรี ยนตอบคือ “เรี ยนโดย
ใช้สื่อ CAI สนุกและทาให้มีความรู้และเข้าใจดี ” เป็ นต้น
การให้ เหตุผล
มนุษย์ ร้ ูจักใช้ การให้ เหตุผล เพื่อสนับสนุน
ความเชื่อ หรือเพื่อหาความจริง หรือข้ อสรุ ปในเรื่องใด
เรื่องหนึ่งมาแต่ ครัง้ โบราณ การให้ เหตุผลที่สาคัญมี
อยู่ 2 วิธี ได้ แก่
1.การให้ เหตุผลแบบอุปนัย(Inductive Reasoning)
2.การให้ เหตุผลแบบนิรนัย(Deductive Reasoning)
1. การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning)
การให้เหตุผลแบบอุปนัย เป็ นการให้เหตุผลโดยยึดความจริ ง จากส่ วนย่อยที่
พบเห็นไปสู่ความจริ งที่เป็ นส่ วนรวม เช่น เราพบว่าทุกเช้าพระอาทิตย์จะขึ้น
ทางทิศตะวันออก และตอนเย็นพระอาทิตย์จะตกทางทิศตะวันตก จึงให้
ข้อสรุ ปว่า พระอาทิตย์ข้ ึนทาง ทิศตะวันออก และตกทางทิศตะวันตก
พระอาทิตย์ ขนึ ้
พระอาทิตย์ ตก
ในวิชาคณิตศาสตร์ กม็ กี ารใช้ การให้ เหตุผลแบบอุปนัย
เพือ่ สรุปคาตอบหรือช่ วยในการแก้ ปัญหาเช่ นกัน เช่ น
จากแบบรู ป 1, 3, 5, 7, 9 ถ้าต้องการหาจานวนนับถัดจาก 9 อีก 5
จานวน เมื่อใช้ขอ้ สังเกตจากแบบรู ปของจานวนที่กาหนดให้พบว่า แต่
ละจานวนมีค่าเพิ่มขึ้นทีละสอง โดยใช้การให้เหตุผลแบบอุปนัยที่ได้จาก
การสังเกตข้างต้น จะได้จานวนนับอีก 5 จานวน ซึ่งได้แก่ 11, 13, 15,
17 และ 19
อาจสรุ ปความหมายของการให้เหตุผลแบบอุปนัยได้ดงั นี้
การให้ เหตุผลแบบอุปนัย หมายถึง วิธีการสรุ ปผลในการ
ค้ นหาความจริงจากการสังเกต หรือการทดลองหลายครัง้ จาก
กรณีย่อยๆ แล้ วนามาสรุ ปเป็ นความรู้ท่ วั ไป
การให้ เหตุผลแบบอุปนัย
ตัวอย่ าง
1. เต๋ าเคยเห็นพระอาทิตย์ ขนึ้ ตอนเช้ าทางทิศตะวันออก
มาโดยตลอด เต๋ าจึงสรุปว่ า “พรุ่งนีเ้ ช้ าพระอาทิตย์ จะ
ขึน้ ทางทิศตะวันออก”
ขอบอกว่ า ข้ อสรุปดังกล่ าวเป็ นข้ อสรุปทีไ่ ด้ มาด้ วยการ
ให้ เหตุผลแบบอุปนัย
2. หมอดูอาศัยประสบการณ์ จากตัวอย่ างชีวติ
คนทั้งที่ดี และไม่ ดมี าหลายชั่วอายุคนแล้ว
สรุปเป็ นวิชาหมอดูทานายโชคชะตาราศี
สาหรับคนในปัจจุบัน ความรู้ ดงั กล่ าวเป็ น
ตัวอย่ างหนึ่งของความรู้ทไี่ ด้ มาด้ วย การให้
เหตุผลแบบอุปนัย
ใครชอบให้ หมอดูดวงบ้ างเอ่ ย ?
3. แม่ ค้ากล้ วยทอดใส่ งา และมะพร้ าวในส่ วน
ผสมในแป้ งที่ทอด ปรากฏว่ ากล้ วยทอด กรอบ
หอม เมื่อลดมะพร้ าวให้ น้อยลง ปรากฏว่ ากล้ วย
ทอดกรอบน้ อยลง หลังจากสั งเกตหลายครั้ง แม่
ค้ าจึงได้ ข้อสรุปว่ าควรจะใส่ มะพร้ าวปริมาณเท่ า
ใด จึงจะทาให้ กล้ วยทอดกรอบพอดี
ข้ อสรุปดังกล่ าวเป็ นข้ อสรุปทีไ่ ด้ มาด้ วยการให้ เหตุ
ผลแบบอุปนัย
ข้ อสั งเกต สู ตรอาหารรสเด็ด สู ตรขนมต่ างๆ
มักจะได้ มาด้ วยการให้ เหตุผลแบบอุปนัยทั้งสิ้น
4. นักเรียน สั งเกตการบวกจานวนคี่ ดังนี้
2
1+3
= 4 สั งเกตว่ า ได้ ผลเป็ น 2
2
1+3+5
= 9 สั งเกตว่ า ได้ ผลเป็ น 3
2
1+3+5 +7
= 16 สั งเกตว่ า ได้ ผลเป็ น 4
2
1+3+5 +7+9 = 25 สั งเกตว่ า ได้ ผลเป็ น 5
นักเรี ยนทดลองอีกหลายตัวอย่างแล้วจึงสรุ ปว่า
“ ถ้าบวกจานวนคี่ n เทอมแรกน่าจะได้ผลลัพธ์เป็ น n2 ”
ข้อสรุ ปนี้ได้มาด้วยการให้เหตุผลแบบอุปนัย เช่นกัน
5. นกอินทรีเป็ นนก
นกพิราบเป็ นนก
นกนางนวลเป็ นนก
นกอินทรีบินได้
นกพิราบบินได้
นกนางนวลบินได้
จึงสรุปว่ า นกทุกชนิดบินได้
ข้ อสรุปนีไ้ ด้ มาด้ วยการให้ เหตุผลแบบอุปนัย
ข้ อสั งเกต ข้ อสรุปนีไ้ ม่ เป็ นจริงสาหรับนกบางชนิด
เช่ นนกเพนกวิน นกกระจอกเทศ ทีบ่ ินไม่ ได้
การสรุ ปความรู ้จากตัวอย่างที่กล่าวมา มีจุดอ่อน
อยูท่ ี่วา่ เราสังเกต ทดลองจากตัวอย่างจานวนหนึ่ง
และสรุ ปว่าทั้งหมดว่าเป็ นไปตามที่เราสังเกตได้ซ่ ึ ง
อาจสรุ ปผิดอาจมีตวั อย่างที่เราไม่ได้สงั เกต ทดลอง
ไม่เป็ นตามที่เราสรุ ปไว้กไ็ ด้
อย่างไรก็ตาม แม้การให้เหตุผลแบบอุปนัยจะมีจุด
อ่อน แต่กม็ ีคุณค่ามาก เพราะมนุษย์เรามักจะนาการ
ให้เหตุผลแบบอุปนัยมาใช้ในชีวติ ประจาวันเสมอ
สรุปความหมาย
การให้ เหตุผลแบบอปุ นัย หมายถึง วิธีการสรุป
ผลในการค้ นหาความจริงจากการสั งเกตหรือ
การทดลองหลายๆครั้งจากกรณีย่อยๆแล้ วนามา
สรุปเป็ นความรู้ แบบทัว่ ไปหรือเป็ นการให้ เหตุผล
โดยยึดหลักความจริงจากส่ วนย่ อยทีพ่ บเห็นไปสู่
ความจริงทีเ่ ป็ นส่ วนรวม
ข้ อสั งเกต
1.ถ้ าเหตุการณ์ ใดเกิดขึน้ อยู่อย่ างสมา่ เสมอ เราอาจสรุปว่ า
สิ่ งนั้นจะเกิดอย่ างสมา่ เสมอในอนาคต การให้ เหตุผลนี้
เรียกว่ า “การให้ เหตุผลแบบอุปนัย”
2. การหาข้ อสรุป หรือความจริงโดยใช้ วธิ ีการให้ เหตุผล
แบบอุปนัยนั้น ไม่ จาเป็ นต้ องถูกทุกครั้ง เนื่องจากการให้
เหตุผลแบบอุปนัยเป็ นการสรุปผลเกินจากหลักฐาน
ข้ อเท็จจริงทีม่ อี ยู่ ดังนั้นข้ อสรุปจะเชื่อถือได้ มากน้ อย
เพียงใดนั้นขึน้ อยู่กบั ลักษณะของข้ อมูล หลักฐานและ
ข้ อเท็จจริงทีน่ ามาอ้ าง
3. นักสถิติใช้การให้เหตุผลแบบอุปนัยเมื่อต้องการหาข้อ
สรุ ปจากการรวบรวมข้อมูล การศึกษาแบบรู ปของจานวน
โดยศึกษาความสัมพันธ์ของลาดับจากพจน์ต่างๆแล้วลง
ข้อสรุ ป เป็ นการให้เหตุผลแบบอุปนัย
4. การให้เหตุผลแบบอุปนัยเป็ นกระบวนการคาดคะเนข้อ
ความคิดที่อาจเป็ นจริ ง แต่ยงั ไม่ได้พิสูจน์วา่ เป็ นจริ งหรื อ
เท็จ การให้เหตุผลแบบอุปนัยเป็ นเทคนิคที่ดียงิ่ ที่ใช้สาหรับ
การคาดคะเน แต่การให้เหตุผลแบบอุปนัยบางครั้งก็อาจ
สรุ ปผิดพลาดได้
ตัวอย่ างการให้ เหตุผลแบบอุปนัย
1. ให้ เติมแบบรู ปต่ อไปอีกสามรู ป ของแต่ ละแบบรู ปที่
กาหนดให้ ในแต่ ละข้ อพร้ อมทั้งบอกเงือ่ นไขของแบบรู ป
1)
2)
เงือ่ นไขของแบบรู ปคือ แต่ ละรู ปทีอ่ ยู่ถัดกันเกิดจากการ
พลิกรู ป หัวตั้งขึน้ เป็ นหัวควา่ ลงสลับกันไปเรื่อยๆ
2.ให้ หาสามพจน์ ถดั ไปของแบบรู ปทีก่ าหนดให้
โดยใช้ การให้ เหตุผลแบบอุปนัย
22
20
18
,
,
1) 30, 28, 26, 24,
21
34
55
,
,
2) 1, 1, 2 , 3, 5, 8, 13,
d
8
e
,
,
3) a, 2, b , 4, c, 6,
36
49
64
,
,
4) 1, 4, 9, 16, 25,
16 , 22 , 29
5) 1, 2, 4, 7, 11,
3.ให้ใช้วธิ ีการบวก เพื่อหาจานวนที่ขาดหายไป
1
2
3
1 8
5 13
21 34
?
คิดให้ ออกบอกคาตอบให้ ถูกนะครับ
4. ให้ หาจานวน a จากแบบรู ปของจานวนที่
กาหนดให้ โดยใช้ การให้ เหตุผลแบบอุปนัย
1. -20, -15, -10, -5, a
2. 14, 24, 34, 44, a
3. -3, 0, 3, 6, a
4. 1, 2, 5, 10, 17, 26, a
5. 2, 4, 8, 14, 22, 32, a
a =0
a = 54
a =9
a = 37
a = 44
3
6
2
4
24
12
16
8
1
2
5
10
8
4
40
?
จานวนที่หายไปคือ
20
1
5
3
11 3
3
2
12
3
3
2
5
12
6
2
4
3
จานวนที่หายไปคือ
?
1
13
2
2.การให้ เหตุผลแบบนิรนัย (Deductive Reasoning)
การให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็ นการนาความรู ้พ้นื ฐานซึ่งอาจเป็ นความเชื่อ
ข้อตกลง กฎ หรื อบทนิยาม ซึ่งเป็ นสิ่ งที่รู้มาก่อนและยอมรับว่าเป็ นจริ ง
เพืเหตุ
่อหาเหตุ1)ผลน
เช่น
รู ปาไปสู
สี่ เหลี่ ขอ่ย้ สรุ
มด้ปานขนานเป็
นรู ปสี่ เหลี่ยมที่มีดา้ นตรงข้าม
2 คู่ ยกปูนเป็ นรู ปสี่ เหลีย่ มทีม่ ีด้าน
2) รูขนานกั
ปสี่ เหลีนย่ มขนมเปี
ตรงข้ ามขนานกัน 2 คู่ และด้ านทุกด้ านยาวเท่ ากัน
ผลสรุป 3) รู ปสี่ เหลีย่ มขนมเปี ยกปูนเป็ นรู ปสี่ เหลีย่ มด้ านขนาน
เรี ยกข้อความหรื อประโยคในข้อ 1) และ 2) ว่า เหตุ หรื อข้อกาหนดที่ให้มา
(Premise) เรี ยกข้อความหรื อประโยคในข้อ 3) ว่า ผล หรื อข้อสรุ ป (Conclusion)
และเรี ยกวิธีการสรุ ปข้อเท็จจริ งซึ่งเป็ นผลมาจากเหตุซ่ ึงเป็ นความรู ้พ้นื ฐานว่า
การให้เหตุผลแบบนิรนัย
ตัวอย่ างการให้ เหตุผลแบบนิรนัย
1.เหตุ 1.แพทย์ แผนปัจจุบันต้ องมีใบประกอบวิชาชีพ
2.ทานตะวันเป็ นแพทย์ แผนปัจจุบัน
จึงสรุปผลว่ า ทานตะวันต้ องมีใบประกอบวิชาชีพ
2.เหตุ 1. เส้ นขนานทุกเส้ นไม่ ตดั กัน
2. เส้ นตรง m และเส้ นตรง n ขนานกัน
จึงสรุปผลว่ า เส้ นตรง m และเส้ นตรง n ไม่ ตัดกัน
3. เหตุ 1. สิ่ งมีชีวติ ทุกชนิดต้ องกินอาหาร
2. คนเป็ นสิ่ งมีชีวติ
จึงสรุปว่ า คนต้ องกินอาหาร
4. เหตุ 1. ดาวฤกษ์ ทุกดวงมีแสงสว่ างในตัวเอง
2. ดวงอาทิตย์ เป็ นดาวฤกษ์
จึงสรุปว่ า ดวงอาทิตย์ มแี สงสว่ างในตัวเอง
ตัวอย่ างที่ 1 การสรุปผลต่ อไปนีส้ มเหตุสมผลหรือไม่
1) สุ นขั ทุกตัวเป็ นสัตว์ที่มีสี่ขา
2) ตูบเป็ นสุ นขั
ผลสรุป… ตูบมีสี่ขา …
เหตุ
สัตว์ที่มีสี่ขา
สุ นัข
แผนภาพข้ างบนแทน กลุ่มของสั ตว์ ทมี่ สี ี่ ขา ซึ่งมีสุนัขอยู่ในกลุ่มด้ วย
ให้
แทนตูบ จะพบว่า ตูบอยูใ่ นกลุ่มของสุ นขั
สัตว์ที่มีสี่ขา
สุ นัข
ตูบ
จากแผนภาพ สรุ ปได้วา่ การสรุ ปผลว่า ตูบมีสี่ขา สมเหตุสมผล
ทดสอบความก้าวหน้ า
1. เราทราบว่ า
จึงสรุปว่ า
นักกีฬาทุกคนต้ องมีสุขภาพดี
ภราดรเป็ นนักกีฬา
ภราดรมีสุขภาพดี
2. เราทราบว่ า ผลคูณระหว่ างจานวนหนึ่ง
กับศูนย์ ได้ ศูนย์
3x0 
3 x0 = 0
จึงสรุปว่ า
3. นักยิมนาสติกทุกคนอายุไม่ เกิน 20 ปี
ดวงเดือนเป็ นนักยิมนาสติก
ผลสรุป ดวงเดือนอายุไม่ เกิน 20 ปี
4. ถ้ าแก้ วมีเงินตั้งแต่ 10,000 บาทขึน้ ไป
แก้ วจะซื้อจักรยาน
ขณะนีแ้ ก้ วมีเงิน 12,500 บาท
ผลสรุป
แก้ วซื้อจักรยาน
จะเห็นได้ ว่า การให้ เหตุผลแบบนิรนัย เป็ นการให้
เหตุผลโดยกาหนดให้ หรือยอมรับเหตุเป็ นจริง นั่นคือ เหตุทตี่ ้งั
ขึน้ บังคับให้ เกิดผลลัพธ์ อย่ างหลีกเลีย่ งไม่ ได้ ซึ่งการตัดสิ นใจว่ า
ผลสรุปถูกต้ องก็ต่อเมื่อสมเหตุสมผล (Valid) ซึ่งผลจะ
สมเหตุสมผลหรือไม่ สมเหตุสมผลจะ ต้ องตรวจสอบความ
สมเหตุสมผลนั้น
สรุป
การให้ เหตุผลแบบนิรนัยคือวิธีการสรุปผล
ในการค้ นหาความจริงของเหตุการณ์ ย่อยๆ
โดยอ้ างอิงเหตุผลจากเหตุใหญ่ หรือสมมติฐานทัว่ ไป
ที่เรายอมรับว่ าเป็ นความจริงในขณะนั้น
การอ้ างเหตุผล
การตรวจสอบความสมเหตุสมผล หมายถึง
การตรวจสอบว่ าประโยคสรุป หรือผลสรุ ป
ของการอ้างเหตุผลนั้นเป็ นจริงตามประโยค
อ้างหรือเหตุทกี่ าหนดให้ หรือไม่
ถ้ าประโยคสรุปหรือผลสรุปเป็ นจริงตามเหตุ
ที่กาหนดให้ เรากล่าวว่ า การอ้างเหตุผลนี้
สมเหตุสมผล
ถ้ าประโยคสรุ ปหรือผลสรุปไม่ เป็ นจริงตาม
เหตุทกี่ าหนดให้ เรากล่าวว่ า การอ้างเหตุผลนี้
ไม่ สมเหตุสมผล
การตรวจสอบความสมเหตุสมผลโดยใช้ แผนภาพ
เวนน์ - ออยเลอร์ มีวธิ ีการดังนี้
1. เขียนวงกลมแต่ ละวงแทนประโยคแต่ ละประโยค
2. ถ้ าประโยค 2 ประโยคสั มพันธ์ กนั ก็เขียนวงกลม
คาบเกีย่ วกัน
3. ถ้ าประโยค 2 ประโยคไม่ สัมพันธ์ กนั ก็เขียนวงกลม
ให้ แยกห่ างกัน
แผนภาพทีใ่ ช้ ตรวจสอบความสมเหตุสมผลมี
4 รู ปแบบ ดังนี้
ให้ a เป็ นสมาชิกของเซต A
b เป็ นสมาชิกของเซต B
B
A
รู ปแบบที่ 1
“ a ทุกตัวเป็ น b ”
ให้ a เป็ นสมาชิกของเซต A
b เป็ นสมาชิกของเซต B
รู ปแบบที่ 2
“ ไม่ มี a ตัวใดเป็ น b ”
B
A
ให้ a เป็ นสมาชิกของเซต A
b เป็ นสมาชิกของเซต B
A
B
รู ปแบบที่ 3
“ a บางตัวเป็ น b ”
(บริเวณที่แรเงา )
ให้ a เป็ นสมาชิกของเซต A
b เป็ นสมาชิกของเซต B
รู ปแบบที่ 4
A
B
“ a บางตัวไม่ เป็ น b ”
(บริเวณที่แรเงา )
ถ้ าไม่ ทราบความสั มพันธ์ ระหว่ าง A กับ B จะเขียน
แผนภาพได้ หลายแบบดังนี้
A
A
A
A
B
A
B
B
B
A
B
A
B
B
ตัวอย่ างการตรวจสอบความสมเหตุสมผล
1. เหตุ 1) นักเรียนทุกคนเป็ นมนุษย์
2) มนุษย์ ทุกคนต้ องหายใจ
ผล นักเรียนทุกคนต้ องหายใจ
กระบวนการคิด
นักเรียน
มนุษย์
การหายใจ
จากเหตุที่ 1 จะได้ ว่า
นักเรียนทุกคน
เป็ นมนุษย์
นักเรียน
มนุษย์
จากเหตุที่ 2 จะได้ ว่า
มนุษย์ ทุกคน
ต้ องหายใจ
มนุษย์
การหายใจ
จากเหตุที่ 1 และ 2 จะได้ ว่า
นักเรียนทุกคน
ต้ องหายใจ
นักเรียน
มนุษย์
การหายใจ
จากแผนภาพข้ างต้ นแสดงได้ ว่า นักเรียนทุกคนต้ องหายใจ
การให้ เหตุผลจึง สมเหตุสมผล และตรงกับความเป็ นจริ ง
2. เหตุ
ผล
1) สั ตว์ ทุกชนิดมี 4 ขา
2) นกเป็ นสั ตว์ ชนิดหนึ่ง
นกเป็ นสั ตว์ มี 4 ขา
กระบวนการคิด
นก
นก
สั ตว์
สิ่ งทีม่ ี 4 ขา
สั ตว์
สรุปได้ ว่า นกเป็ นสั ตว์ ทมี่ ี 4 ขา ดังนั้นการให้ เหตุผลจึงสมเหตุ
สมผล แต่ ไม่ ตรงกับความเป็ นจริง เพราะว่ านกมี 2 ขา
3. เหตุ
ผล
1) แพทย์ ทุกคนเป็ นคนฉลาด
2) แพทย์ บางคนร่ารวย
คนฉลาดบางคนร่ารวย
กระบวนการคิด
คนร่ารวย
แพทย์
คนฉลาด
สรุปได้ ว่า คนฉลาดบางคนร่ารวย ดังนั้นการให้ เหตุผลจึง
สมเหตุสมผล และตรงกับความเป็ นจริง
4. เหตุ
1) นักเรียนบางคนเป็ นคนมีนา้ ใจ
2) มลฤดี เป็ นนักเรียน
ผล
มลฤดี เป็ นคนมีนา้ ใจ
กระบวนการคิด A แทนนักเรียน, B แทนคนมีนา้ ใจ
C แทน มลฤดี
A
B
A C
B
C
แผนภาพที่ 1 แทนมลฤดีเป็ น แผนภาพที่ 2 แทนมลฤดี
นักเรียนแต่ ไม่ มนี า้ ใจ
เป็ นนักเรียนและมีนา้ ใจ
แผนภาพที1่ และ 2 ขัดแย้ งกันสรุปว่ าการให้ เหตุผลไม่ สมเหตุสมผล
ทดสอบความก้าวหน้ า
ให้ ตรวจสอบการให้ เหตุผลต่ อไปนีว้ ่ าสมเหตุสมผลหรือไม่
1. เหตุ 1) คนดีบางคนเป็ นคนยากจน
2) คนยากจนทุกคนมีนา้ ใจ
ผล คนดีบางคนมีนา้ ใจ
สมเหตุสมผล
เนื่องจากมีคนดี
บางคนมีนา้ ใจ
ดังแผนภาพ
คนมีนา้ ใจ
คนดี
คน
ยากจน
2. เหตุ 1) ผู้ชายทุกคนชอบเล่ นกีฬา
2) สมหญิงชอบเล่ นกีฬา
ผล
สมหญิงเป็ นผู้ชาย
ไม่ สมเหตุสมผล
เนื่องจากสมหญิง
ไม่ เป็ นผู้ชาย
ดังแผนภาพ
คนชอบเล่ นกีฬา
ผู้ชาย
หน้ าสุ ดท้ ายของบทเรียน
การให้เหตุผลในบางครั้งเราไม่อาจใช้แผนภาพเซต
แทนได้มีอีกวิธีหนึ่งคือ การตรวจสอบความสมเหตุ
สมผลโดยใช้ตรรกศาสตร์สญ
ั ลักษณ์นะครับ
ควรศึกษา ค้นคว้าเพิม่ เติมอีกจากแหล่งเรี ยนรู้
ต่างๆ
ฝากไว้
“วันนีย้ งั ไม่ สายเกินไปที่จะฝึ กฝน
ตนเองให้ เป็ นคนทีม่ เี หตุผลนะครับ”
สวัสดีครับ
เวฟสอนเรื่ อง การให้เหตุผล
http://www.prakan.ac.th/Link-Data/Reasoning/content1.htm