“ศกร.กศน.ในต่ างประเทศทีม่ คี ุณภาพ ” ศกร.กศน.ในต่ างประเทศทีม่ คี ุณภาพ 1. ความหมาย 2.

Download Report

Transcript “ศกร.กศน.ในต่ างประเทศทีม่ คี ุณภาพ ” ศกร.กศน.ในต่ างประเทศทีม่ คี ุณภาพ 1. ความหมาย 2.

“ศกร.กศน.ในต่ างประเทศทีม่ คี ุณภาพ ”
ศกร.กศน.ในต่ างประเทศทีม่ คี ุณภาพ
1. ความหมาย
2. ทาไมต้ องทา
3. ทาอย่ างไร
ความหมาย
• เอ็ดเวิร์ด เดมมิง (Edward • การปรับปรุงคุณภาพ
หมายถึง การปรับปรุ ง
Demming) คุณภาพคือ
คุณค่ าและเกณฑ์ ทผี่ ู้บริโภค
กระบวนการเพือ่ ผลผลิต
เป็ นผู้กาหนดขึน้ ไม่ ใช่
สม่าเสมอลดข้ อผิดพลาด
ลดการแก้ ไข
ผู้ประกอบการ
ความหมาย
จูแรน (Joseph Juran)
คุณภาพ หมายถึง สิ่ งทีต่ รง
และเหมาะสมกับการใช้
งาน (fitness to use) และ
เป็ น ทีพ่ งึ พอใจต่ อลูกค้ า 2
ประการ ดังนี้
1. คุณภาพ หมายถึง
คุณสมบัตขิ องผลผลิตทีไ่ ด้
ตามความต้ องการและเป็ น
ทีพ่ งึ พอใจของลูกค้ า
2. ปราศจากความไม่ มี
ประสิ ทธิภาพ ไร้
ข้ อบกพร่ อง
ความหมาย:สรุ ป
เป็ นมาตรฐานทีเ่ กีย่ วกับการจัดการและการประกัน
คุณภาพ โดยเน้ นความพึงพอใจของลูกค้ าเป็ นสาคัญ
บนแนวคิดพืน้ ฐานทีว่ ่ า เมื่อกระบวนการดี ผลลัพธ์ ที่
ออกมาก็จะดีตามไปด้ วย เป็ นการตอบสนองผู้ใช้ และ
ผู้รับบริการให้ เกิดความพึงพอใจในผลผลิตนั่นเอง
ทาไมต้ องทา
พ.ร.บ.การศึกษาแห่ งชาติพ.ศ.2542
หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรา 47 ให้ มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ
ประกอบด้ วย ระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการ
ประกันคุณภาพภายนอก
ทาไมต้ องทา
• มาตรา 48 หน่ วยงานต้ นสั งกัด และสถานศึกษา จัดให้ มี
ระบบการประกับคุณภาพภายใน ซึ่งเป็ นส่ วนหนึ่งของการ
บริหาร และจัดทารายงานประจาปี เสนอต่ อหน่ วยงานที่
เกีย่ วข้ องและเปิ ดเผยต่ อสาธารณชน
• มาตรา 49 ให้ มีการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา
ทุกแห่ งอย่ างน้ อยหนึ่งครั้งทุกห้ าปี โดยสานักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
ทาอย่ างไร
มาตรฐานที่ 1 ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายวัตถุประสงค์
กลยุทธ์ และแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานที่ 2 การจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น
พืน้ ฐาน
มาตรฐานที่ 3 การจัดการศึกษานอกระบบประเภทการศึกษา
ต่ อเนื่อง
ทาอย่ างไร
มาตรฐานที่ 4
มาตรฐานที่ 5
มาตรฐานที่ 6
การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย
การบริหารจัดการ
การทางานร่ วมกับภาคีเครือข่ าย
ทาอย่ างไร(มาตรฐานเฉพาะทีเ่ กีย่ วข้ อง)
มาตรฐานที่ 2 การจัดการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
มาตรฐานที่ 3 การจัดการศึกษานอกระบบประเภท
การศึกษาต่ อเนื่อง
มาตรฐานที่ 2 การจัดการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน (7 ตัวบ่ งชี้)
ตัวบ่ งชี้ 2.1 การพัฒนาหลักสู ตรสถานศึกษา
ตัวบ่ งชี้ 2.2 การพัฒนาสื่ อและแหล่ งการเรียนรู้ ทสี่ อดคล้ องกับ
หลักสู ตรและกิจกรรมการเรียนรู้ ของผู้เรียน
ตัวบ่ งชี้ 2.3 การจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
ตัวบ่ งชี้ 2.4 ครู และบุคลากรทางการศึกษามีความสามารถใน
การจัดกระบวนการเรียนรู้ ตามหลักการจัด
การศึกษานอกระบบ
มาตรฐานที่ 2 การจัดการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน (7 ตัวบ่ งชี้)
ตัวบ่ งชี้ 2.5 คุณภาพของครู และบุคลากรทางการศึกษา
ตัวบ่ งชี้ 2.6 คุณภาพของพนักงานราชการ ครู อตั ราจ้ างและครู
สอนเสริม
ตัวบ่ งชี้ 2.7 คุณภาพของผู้เรียน / ผู้สาเร็จการศึกษานอกระบบ
มาตรฐานที่ 3 การจัดการศึกษานอกระบบประเภทการศึกษา
ต่ อเนื่อง (5 ตัวบ่ งชี้)
ตัวบ่ งชี้ 3.1 การพัฒนาหลักสู ตรทีส่ อดคล้ องกับสภาพปัญหาและ
ความต้ องการของท้ องถิ่น
ตัวบ่ งชี้ 3.2 สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้ สอดคล้ องกับหลักสู ตรและ
กิจกรรมการเรียนรู้ ของผู้เรียน
ตัวบ่ งชี้ 3.3 ครู และผู้สอนมีความสามารถในการจัดกระบวนการ
เรียนรู้ ตามหลักสู ตร
มาตรฐานที่ 3 การจัดการศึกษานอกระบบประเภทการศึกษา
ต่ อเนื่อง (5 ตัวบ่ งชี้)
ตัวบ่ งชี้ 3.4 คุณภาพครู และผู้สอน
ตัวบ่ งชี้ 3. 5 คุณภาพของผู้เรียน / ผู้รับบริการเป็ นไปตามที่
หลักสู ตรกาหนด
แม้ หนักดังขุนเขา
พวกเรากศน. ไม่ เคยถอย