รายวิชา ง30226 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4-6 เริ่มต้ นกับภาษาซี ผู้สอน ครู สุ นิสา บุญเต็ม LOGO การเรียนต้ องมีจุดมุ่งหมายก่อน นักเรี ยนเรี ยนคอมพิวเตอร์เพื่ออะไร? • เพื่อเพิม่ พูนความรู ้ดา้ นนี้ เผือ่ ไว้ในอนาคต • เพื่อเอาไปใช้ในการทางานด้านคอม • เพือ ่

Download Report

Transcript รายวิชา ง30226 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4-6 เริ่มต้ นกับภาษาซี ผู้สอน ครู สุ นิสา บุญเต็ม LOGO การเรียนต้ องมีจุดมุ่งหมายก่อน นักเรี ยนเรี ยนคอมพิวเตอร์เพื่ออะไร? • เพื่อเพิม่ พูนความรู ้ดา้ นนี้ เผือ่ ไว้ในอนาคต • เพื่อเอาไปใช้ในการทางานด้านคอม • เพือ ่

รายวิชา ง30226
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4-6
เริ่มต้ นกับภาษาซี
ผู้สอน
ครู สุ นิสา บุญเต็ม
LOGO
การเรียนต้ องมีจุดมุ่งหมายก่อน
นักเรี ยนเรี ยนคอมพิวเตอร์เพื่ออะไร?
• เพื่อเพิม่ พูนความรู ้ดา้ นนี้ เผือ่ ไว้ในอนาคต
• เพื่อเอาไปใช้ในการทางานด้านคอม
• เพือ
่ ให้หางานงายขึ
น
้
่
• เพราะวาทางบ
านอยากให
่
้
้
เรี ยน
• หรือเพราวานั
่ กเรียนชอบ
อยากเรี ยนคอม
Your site here
LOGO
ทีเ่ ราเรียนกันก็เพือ่ ทีจ่ ะให้ ผ้ ูเรียน
คอมพิวเตอร์ ได้ ทราบว่ า..
โปรแกรมสวย ๆ ทีเ่ ราใช้ กนั อยู่น้ัน
เกิดขึน้ มาได้ อย่ างไรและจะพัฒนาได้
อย่ างไร
Your site here
LOGO
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เกิดขึน้ มา
ได้ อย่ างไร!!!!
Your site here
LOGO
ความจาเป็ นในการเรียนเขี ยน
โปรแกรม
ทำไมเรำจึงต้องเรียนเขียนโปรแกรม ?
กำรเรียนเขียนโปรแกรมสำมำรถนำไปใช้
ประโยชน์อะไรได้บำ้ ง ?
Your site here
LOGO
ปัจจุบนั คอมพิวเตอร์ ได้เข้ามามีบทบาทในด้านต่างๆอย่าง
มากเช่น ในด้านธุรกิจใช้ในการเก็บข้อมูลสิ นค้าระบบบัญชี การ
สื่ อสาร โทรศัพท์ โทรคมนาคม การธนาคาร ระบบบัญชี การ
เบิกจ่ายในระบบ ATM เพื่อความบันเทิงระบบมัลติมีเดีย
ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต งานอุตสาหกรรม
การควบคุมการผลิต งานทางด้านการศึกษา เราจะนาเสนอ
ทางด้านพื้นฐานการเขียนโปรแกรม
Your site here
LOGO
โครงสร้ างคอมพิวเตอร์
ฮาร์ ดแวร์ Hardware
คอมพิวเตอร์
ซอฟต์ แวร์ Software
ซอฟต์ แวร์ ระบบ
System Software
บุคลากร Peopleware
ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์
Application Software
ซอฟต์ แวร์ สาเร็จรูปทัว่ ไป
ซอฟต์ แวร์ สาเร็จรูปเฉพาะงาน
General Package
Special Package
ซอฟต์ แวร์ ที่เขียนใช้ งาน
ส่ วนบุคคล
Your site here
LOGO
หลักการทางานของโปรแกรม
ส่ วนประกอบหลักทีท่ ุกโปรแกรมต้ องคานึงถึง
input
Input
ข้ อมูลเข้ า
process
Process
คานวณ
ประมวลผล
output
Output
ผลลัพธ์
Your site here
LOGO
1.2 ส่ วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่ วยรับข้ อมูล
หน่ วยประมวลผล
หน่ วยแสดงผล
รู ปที่ 1.2 ส่ วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์
Your site here
LOGO
ภาษาคอมพิวเตอร์
 ภาษาทีเ่ ป็ นสื่ อกลางหรือเป็ นเครื่องมือทีใ่ ช้ แลกเปลีย่ น
ความคิดความรู้ สึกระหว่ างผู้พูดกับผู้ฟัง
 แต่ ในทางคอมพิวเตอร์ ภาษา เป็ นเครื่องมือสื่ อสารระหว่ าง
บุคคลกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งข้ อมูลและคาสั่ งที่
คอมพิวเตอร์ รับรู้ ได้ คอื 0 และ 1 ระบบจะต้ องเป็ น
เลขฐานสอง ซึ่งเราเรียกว่ า ภาษาเครื่อง Machine language
Your site here
LOGO
ภาษาสั่ งงานคอมพิวเตอร์
ภาษาสัง่ งานคอมพิวเตอร์ หมายถึง ชุดคาสัง่ ที่เขียนขึ้นตาม
รู ปแบบและโครงสร้างของภาษาเพื่อสัง่ งานให้คอมพิวเตอร์ทางานตาม
ชุดคาสัง่ หรื อโปรแกรมซึ่งเขียนถูกขึ้นโดยโปรแกรมเมอร์
(Programmer)ภาษาสัง่ งานคอมพิวเตอร์สามารถจาแนกออกได้ 3
ระดับดังนี้
1. ภาษาระดับต่า (Low Level Language)
2. ภาษาระดับกลาง (Medium Level
Language)
3. ภาษาระดับสู ง (High Level Language)
Your site here
LOGO
1. ภาษาระดับต่า (Low Level Language)
เป็ นภาษาที่คอมพิวเตอร์ สามารถเข้าใจคาสั่งได้ง่ายแต่มนุษย์เข้าใจได้ยาก ใช้เวลา
ในการศึกษาและเขียนโปรแกรมนานภาษาระดับต่าสามารถติดต่อกับฮาร์ ดแวร์ ได้ดีทาให้
ทางานได้เร็ ว ซึ่ งภาษาระดับต่ามีอยู่ 2 ภาษาคือ
1.1 ภาษาเครื่อง (Machine Language)
1.2 ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language)
Your site here
LOGO
2. ภาษาระดับกลาง (Medium Level Language)
เป็ นภาษาที่มีลกั ษณะผสมกันระหว่างภาษาระดับสู งกับภาษาระดับต่า คือมี
ลักษณะของคาสั่งคล้ายกับประโยคทางภาษาอังกฤษ แล้วยังมีบางคาสั่งไปคล้าย
ภาษาระดับต่าอยู่ ซึ่ งสามารถทางานได้เร็ วและใช้เวลาในการศึกษาและเขียนโปรแกรม
น้อยกว่าภาษาระดับต่า การสั่ งงานให้คอมพิวเตอรท
์ างานต้องมี
การแปลความหมายให้เป็ นภาษาเครื่ องก่อนโดยใช้ตวั แปลภาษาที่เรี ยกว่า คอมไพล์เลอร์
(Compiler) ตัวอย่างของภาษาระดับกลางอย่างเช่นภาษาซี เป็ นต้น
Your site here
LOGO
3. ภาษาระดับสู ง (High Level Language)
เป็ นภาษาที่สามารถศึกษาและเข้าใจได้ง่ายมีลกั ษณะของคาสั่งคล้ายกับประโยค
ทางภาษาอังกฤษ ซึ่ งง่ายต่อการทาความเข้าใจและใช้เวลาในการเขียนโปรแกรมน้อยแต่
การสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ ทางานได้ชา้ กว่าและสั่งงานได้เพียงบางส่ วนของคอมพิวเตอร์
เท่านั้น การสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ ทางานต้องมีการแปลความหมายให้เป็ นภาษาเครื่ อง
ก่อนโดยใช้ตวั แปลภาษาที่เรี ยกว่าอินเทอร์ พรี เทอร์ (Interpreter) หรื อคอมไพล์เลอร์
(Compiler) ตัวอย่างเช่น ภาษาเบสิ ค(BASIC),ปาสคาล(PASCAL)และ
ดีเบส(Dbase)เป็ นต้น
Your site here
LOGO
Your site here
LOGO
องค์ ประกอบภาษาคอมพิวเตอร์
1.
คาศัพท์ Keyword
2. ไวยากรณ์ Syntax
3. โครงสร้ างภาษา Structure
4. ตัวแปรภาษา Translator
Your site here