ใน การแก้ปัญหาภัยทีร่ า้ ยแรงของวิกฤติน้ าท่วมกรุงเทพ ฯ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงมีพระราชดาริผ่อนคลายทุกข์เข็ญของพสก นิกรหลายประการ อาทิการเร่งระบายน้ าออกสู่ทะเล โดยผ่านแนวคลองทางฝัง่ ตะวันออกของกรุงเทพ ฯ ให้มีพนที ื้ ส่ ีเขียว เพือ่ กันการขยายตัวของเมือง และ เพือ่ แปรสภาพให้เป็ นทางระบายน้ าเมือ่ ถึงฤดูน้

Download Report

Transcript ใน การแก้ปัญหาภัยทีร่ า้ ยแรงของวิกฤติน้ าท่วมกรุงเทพ ฯ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงมีพระราชดาริผ่อนคลายทุกข์เข็ญของพสก นิกรหลายประการ อาทิการเร่งระบายน้ าออกสู่ทะเล โดยผ่านแนวคลองทางฝัง่ ตะวันออกของกรุงเทพ ฯ ให้มีพนที ื้ ส่ ีเขียว เพือ่ กันการขยายตัวของเมือง และ เพือ่ แปรสภาพให้เป็ นทางระบายน้ าเมือ่ ถึงฤดูน้

ใน
การแก้ปัญหาภัยทีร่ า้ ยแรงของวิกฤติน้ าท่วมกรุงเทพ ฯ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงมีพระราชดาริผ่อนคลายทุกข์เข็ญของพสก
นิกรหลายประการ อาทิการเร่งระบายน้ าออกสู่ทะเล โดยผ่านแนวคลองทางฝัง่
ตะวันออกของกรุงเทพ ฯ ให้มีพนที
ื้ ส่ ีเขียว เพือ่ กันการขยายตัวของเมือง และ
เพือ่ แปรสภาพให้เป็ นทางระบายน้ าเมือ่ ถึงฤดูน้ า ก่อสร้างระบบป้องกัน
น้ าท่วม ขยายทางน้ า การสร้างพื้ นทีร่ บั น้ า หรือ แก้มลิง
โครงการแก้มลิง
โครงการแก้มลิง คือการจัดให้มีสถานทีเ่ ก็บกักน้ าตามจุ ดต่าง ๆ
ในกรุงเทพ ฯ เพือ่ ทาหน้าทีเ่ ป็ นบึงพักให้หน้าน้ า โดยรองรับน้ าฝนไว้
ชัว่ คราว ก่อนทีจ่ ะระบายน้ าสาธารณะ ฉะนั้นเมือ่ ฝนตก น้ าฝนจึ งไม่ไหล
ลงสู่ทางระบายน้ าในทันที แต่จะถูกขังไว้ในพื้ นทีพ่ กั น้ า รอเวลาให้คลอง
ต่างๆ ซึ่งเป็ นทางระบายน้ าหลักพร่องน้ าพอจะรับน้ าได้จึงค่ อยๆระบาย
น้ าลง เป็ นการช่วยลดปั ญหาน้ าท่วมขัง ได้ในระดับหนึง่
นอกจากการระบายนา้ แล้ว แนวพระราชดาริ แก้มลิง จึงผสมผสาน
ในการอนุรักษ์ นา้ และสิ่ งแวดล้อมเข้ าไปด้ วย คือเมื่อนา้ ถูกเก็บกักไว้ ถูกส่ ง
เข้ าไปในคลองต่ างๆ ก็จะไปบาบัด เจือจางนา้ เน่ าเสี ย ในคลองเหล่านีใ้ ห้
เบาบางลงแล้วในทีส่ ุ ดก็จะผลักนา้ เน่ าเสี ยทีเ่ จือจางลงสู่ ทะเล
การจัดหาและการออกแบบแก้มลิง
เพือ่ ชะลอน้ าท่วม
ในการออกแบบพื้ นทีช่ ะลอน้ าหรือ
พื้ นทีเ่ ก็บกักน้ า จะต้องทราบปริมาตร
น้ าผิวดินทีเ่ ก็บกักและอัตราการไหลผิว
ดินทีม่ ากทีส่ ุดทีจ่ ะยอมให้ปล่อยออกได้
ในช่วงเวลาฝนตก ปริมาตรทีเ่ ก็บกัก
ควรจะเป็ นปริมาตรน้ าทีเ่ พิม่ ขึ้ นเมือ่
พื้ นทีร่ ะบายน้ าทีเ่ พิม่ ขึ้ นเมือ่ พื้ นทีร่ ะบาย
น้ าได้รบั การพัฒนาแล้ว
เส้ นทางแก้ มลิงฝั่งตะวันออก
สานักการระบายน้ าได้
ดาเนินการจัดหาพื้ นทีร่ องรับและ
เก็บกักน้ า ซึ่งในชั้นแรกจะทาการ
จัดหาพื้ นทีฝ่ ัง่ พระนคร โดยมีเป้า
หมายในการจัดหาพื้ นทีเ่ ก็บกักน้ า
ปริมาตร 13 ล้านลูกบาศก์เมตร
ปัจจุบันสานักการระบายนา้ ได้ จัดหา
พืน้ ทีแ่ ก้มลิงได้ 20 แห่ ง และ สามารถ
ในการเก็บกักนา้ ได้ 10,062,525 ลูกบาศก์
เมตร
ประเภทและขนาดของแก้มลิงแบ่งเป็ น 3 แบบ ดังนี้
1.แก้มลิงขนาดใหญ่ (Retarding Basin) คือ สระ หรือบึง
ขนาดใหญ่ ทีร่ วบรวมน้ าฝนจากพื้ นทีบ่ ริเวณนั้นๆ โดยกักเก็บไว้เป็ น
ระยะเวลาหนึง่ ก่อนทีจ่ ะระบายลงสู่แม่น้ า เช่น เขื่อน อ่ างเก็บน้ า
ฝาย ทุ่งเกษตรกรรม เป็ นต้น
2.แก้มลิงขนานกลาง เป็ นพื้ นทีช่ ะลอน้ าทีม่ ีขนาดเล็กกว่า
ได้มีการก่อสร้างในระดับลุ่มน้ า ส่วนใหญ่จะเป็ นพื้ นทีธ่ รรมชาติ
เช่น หนอง บึง คลอง เป็ นต้น
3.แก้มลิงขนาดเล็ก (Regulating Reservoir) คือ แก้มลิงที่มี
ขนาดเล็กกว่ า อาจเป็ นพืน้ ทีส่ าธารณะ สนามเด็กเล่น ลานจอด
รถ หรือสนามในบ้ าน ซึ่งต่ อเข้ ากับระบบระบายนา้ หรื อคลอง
ความจาเป็ นในการดาเนิน
โครงการแก้ มลิง
1.การเปลีย่ นแปลงการใช้ทีด่ ิน จากลักษณะธรรมชาติ
มาเป็ นทีด่ ินพัฒนา โดยเฉพาะอย่างยิง่ พื้ นทีก่ รุงเทพมหานครทา
ให้ปริมาณการไหลสูงสุดของน้ าผิวดินในพื้ นทีเ่ พิม่ ขึ้ น
2.ปริมาตรและอัตราการไหลของนา้ ผิวดินทีเ่ พิม่ ขึน้ ของพืน้ ที่
ทึบนา้ ก่อปัญหาให้ เกิดนา้ ท่ วมทางด้ านท้ ายนา้ หรือที่ต่ามากขึน้
3.ขนาดของคลองและความจุเก็บกักทางระบายนา้ เป็ นประการสาคัญ
เพราะมีขนาดเล็กกว่ าการรองรับปริมาณ และอัตราการไหลสู งสุ ดของนา้
ผิวดินทีเ่ พิม่ ขึน้
ข้อมูลของแก้มลิง
ลา
ดับ
ชื่อบึง
รับน้ า
1 บึงหนองบอน
2 บึงมักกะสัน
3 บึงพระราม9
4 บึงพิบูลวัฒนา
5 บึงลาพังพวย
6 บึงกระเทียม
7 บึงกุ่ม
8 บึงสนามกอล์ฟ
รถไฟ
พื้ นทีบ่ งึ รับน้ า ปริมาตรเก็บ
(ตร.ม.) กัก (ลบ.ม.)
ผลประโยชน์ที่ได้รบั
ในการแก้ ไขปัญหานา้ ท่วม
8,000,000 5,000,000 เขตประเวศ พระโขนง
650,000
261,600 ถ.ราชปรารภ ศรีอยุธยา ถ.อโศก
300,000
64,000
403,970
233,400
581,530
160,000
10,875
48,000
155,000
110,000
121,000
150,000
ดินแดง เขตราชเทวี
ถนนพระราม9 เขตห้ วยขวาง
ถ.พหลโยธิน ประดิพัทธ์ พญาไท
บริเวณคลองจั่น เขตบึ่งกุ่ม
เขตมีนบุรี
ม.เสรีนครวัฒนา ม.ทวีสขุ บึงกุ่ม
สี่แยกลาดพร้ าว สวนจตุจักร
ลา
ดับ
ที่
ชื่อบึง
รับน้ า
พื้ นทีบ่ ึง
รับน้ า
(ตร.ม.)
9 บึงตาเกตุ
19,600
10 บึงกรมทหารราบที่1 250,000
11 บึงเรือนจาคลอง
225,000
เปรม
12 บึงข้ างรพ.บุรฉัตร
ไชยากร
13 บึงเสือดา
14 บึงปูนซีเมนต์ไทย
15 บึงเอกมัย
ปริมาตร
เก็บกัก
(ลบ.ม.)
15,600
94,000
53,000
ผลประโยชน์ที่ได้รบั
ในการแก้ ไขปัญหานา้ ท่วม
เขตมีนบุรี
ถ.พหลโยธิน หน้ าสนามเป้ า
ถ.งามวงศ์วาน ถ.วิภาวดีรังสิต
64,000
12,800
เขตราชเทวี
65,000
270,000
3,500
22,750
78,000
3,500
ถ.อโศก ถ.เลียบทางรถไฟ
ถ.วิภาวดีรังสิต เขตราชเทวี
ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ เขตห้ วยขวาง
ลา
ดับ
ที่
ชื่อบึง
รับน้ า
16 บึงสวนสยาม
17 บึงในกรม
ทหารราบที่11
18 บึงสีกนั
พื้ นทีบ่ ึง
รับน้ า
(ตร.ม.)
316,900
430,000
ปริมาตร
เก็บกัก
(ลบ.ม.)
190,000
288,000
100,000
11,000
40,000
8,400
ผลประโยชน์ที่ได้รบั
ในการแก้ ไขปัญหานา้ ท่วม
ถ.รามอินทรา เขตมีนบุรี
ถ.พหลโยธิน ถ.รามอินทรา
-
19 บึงข้ างโรงเรียน
ซ.แอนเนกซ์
แอนเนกซ์
20 แก้ มลิงคลอง 8,300,000 3,400,000 ฝั่งธนบุรี และปริมณฑล
สนามชัย
รวมปริมาณเก็บกัก 20,447,900 10,062,525
-
โครงการแก้มลิง
คืออะไรใคร
รู ้บา้ ง
เอ๊ะแก้มลิงแบ่ง
ออกเป็ นกี่ขนาด
มีอะไรบ้างจ๊ะ
เป้ าหมายที่ต้ งั ไว้
ในการจัดหาพื้นที่
เก็บกักน้ าปริ มาตร
เท่าไร
ใครก็ได้ช่วยตอบคาถาม
ผมหน่อยนะครับ ใครรู้บา้ ง
อยากรู ้จงั ว่าแก้มลิงที่มีอยูใ่ น
ปัจจุบนั สามารถเก็บกักน้ าได้
กี่ลบ.ม. แล้วเพียงพอไหมน้า
ว่าปัจจุบนั
แก้มลิงในกทม.
มีกี่แห่ง แล้วมี
อะไรบ้างครับผม
ปริมาตร = พืน้ ที่ฐาน x สู ง
ตัวอย่ าง บึงหนองบอน มีพนื้ ที่บึง 80,00,000 ตารางเมตร มีปริมาตร
เก็บกัก 5,000,000 ลูกบาศก์ เมตร จงหาความสู งของบึงหนองบอน
วิธีทา
ปริมาตร
= พืน้ ทีฐ่ าน x สู ง
5,000,000 = 8,000,000 x y
5 , 000 , 000
 y
8 , 000 , 000
0.625
) เมตร
ตอบ 0.625
=
y
( ให้ y แทนความสู ง
จงหาความสู งของบึงเก็บกักนา้ ต่ อไปนี้ แล้ วประมาณค่ า
เป็ นจานวนเต็มพันของปริมาตรของบึงกักเก็บนา้
ลา
ดับ
ที่
ชื่อบึง
รับน้ า
1 บึงมักกะสัน
2 บึงพระราม9
3 บึงพิบูลวัฒนา
4 บึงลาพังพวย
5 บึงกระเทียม
พื้ นทีบ่ งึ
รับน้ า
(ตร.ม.)
650,000
ปริมาตร
เก็บกัก
(ลบ.ม.)
261,600
300,000
64,000
403,970
233,400
10,875
48,000
155,000
110,000
ความสู ง การประมาณค่ า
จานวนเต็มพัน
(ม.)
ลา
ดับ
ชื่อบึง
รับน้ า
พื้ นทีบ่ งึ รับน้ า ปริมาตรเก็บ ความสู ง
(ตร.ม.) กัก (ลบ.ม.) (ม.)
6 บึงกุ่ม
581,530
121,000
7 บึงสนามกอล์ฟ
รถไฟ
8 บึงตาเกตุ
160,000
150,000
19,600
250,000
15,600
94,000
225,000
53,000
64,000
12,800
9 บึงกรมทหาร
ราบที่1
10 บึงเรือนจา
คลองเปรม
11 บึงข้ างรพ.บุร
ฉัตรไชยากร
การประมาณค่ า
จานวนเมพัน
ลา
ดับ
ชื่อบึง
รับน้ า
พื้ นทีบ่ งึ รับน้ า ปริมาตรเก็บ ความสู ง
(ตร.ม.) กัก (ลบ.ม.) (ม.)
12 บึงเสือดา
65,000
22,750
13 บึงปูนซีเมนต์
ไทย
14 บึงเอกมัย
270,000
78,000
3,500
316,900
430,000
3,500
190,000
288,000
100,000
11,000
40,000
8,400
15 บึงสวนสยาม
16 บึงในกรม
ทหารราบที่11
17 บึงสีกนั
18 บึงข้ างโรงเรียน
แอนเนกซ์
การประมาณค่ า
จานวนเมพัน
ใบงาน
นักเรียนช่ วยกันสร้ างแก้มลิง (อ่างเก็บนา้ ) ตามจินตนาการของนักเรียน
1.นักเรี ยนลองคิดสิ วา่ จะตั้งชื่ออ่างเก็บน้ าของนักเรี ยนชื่อว่าอะไรดี
.................................................................................
2.นักเรี ยนจะกาหนดขนาดของอ่างเก็บน้ าให้มีขนาดความกว้าง ความยาว และความ
สู งเท่าใด
.................................................................................
3.นักเรี ยนใช้สูตรในการคานวณหาปริ มาตรของอ่างเก็บน้ าที่นกั เรี ยนสร้างขึ้นสามารถ
จุน้ าได้เท่าไร
.................................................................................
4.นักเรี ยนคิดว่าบึง หรื ออ่างเก็บน้ าที่มีเพียงพอหรื อไม่กบั ปั ญหาน้ าท่วมในกรุ งเทพ
และเขตปริ มณฑล หากยังไม่เพียงพอจะต้องสร้างบึง หรื ออ่างเก็บน้ าอีกปริ มาณ
เท่าใด……………………………………………………