การบูรณาการ ICT กับการเรียนก
Download
Report
Transcript การบูรณาการ ICT กับการเรียนก
LOGO
Internet for
Education
CMS & LMS
ระบบบริ หารการเรียนการสอน
(Learning Management System :LMS)
ระบบจัดการเนือ้ หา
(Content Management System :CMS
LOGO
)
อ้างถึงที่มาในการรวบรวมเรี ยบเรี ยงเนื้อหาเกี่ยวกับ LMS,CMS :ดร.วรัท พฤกษากุลนันท์
2
LOGO
ระบบบริ หารการเรี ยนการสอน
(Learning Management System :LMS)
3
ระบบบริหารการเรียนการสอน (Learning Management System :LMS)
ระบบบริ หารการเรี ยนการสอน (Learning Management
System :LMS)
เป็ นระบบจัดการการเรี ยนการสอนออนไลน์ หรื อ e-Learning โดยเป็ น
ซอฟต์แวร์ที่ช่วยจัดการดูแล สนับสนุนการจัดการเรี ยนการสอนที่เป็ นสื่ อกลาง
ระหว่างผูด้ ูแลระบบ (administrator) ผูส้ อน (teacher) และนักเรี ยน(student)
4
Company Logo
ระบบบริหารการเรียนการสอน (Learning Management System :LMS)
ผู้ดูแลระบบ
• การเปิ ด-ปิ ดรายวิชา
• การนารายวิชาเข้า
• การจัดการฐานข้อมูลนักเรี ยน
• การสารองข้อมูล
• ฯลฯ
ผู้สอน
ระบบบริหารการเรียนการสอน
(Learning Management
System :LMS)
ผู้เรียน
• การเข้าเรี ยน
• การศึกษาสื่ อการเรี ยน
• การดูสถิติการเรี ยน คะแนนสอบ
• การสื่ อสารกับอาจารย์/เพื่อน
• การส่ งการบ้านและเก็บข้อมูลการบ้าน
5
• ฯลฯ
• การนาสื่ อการเรี ยนเข้าระบบ
• การติดตามพฤติกรรมการเรี ยน
ของนักเรี ยน
• การสื่ อสารกับนักเรี ยน/กลุ่ม
นักเรี ยน
• การสร้างแบบทดสอบ การให้
ข้อมูลป้ อนกลับ การประเมินผล
• ฯลฯ
Company Logo
สรุปการใช้งาน สาหรับ อาจารย์
การลงทะเบียนเป็ นอาจารย์
การสร้างสื่อการเรียนการสอนอย่างง่ายๆ
การติดตามประเมินผลการเรียนของนักเรียนในชั้นเรียน
การสร้างแบบทดสอบ
การติดตามผลการทาแบบทดสอบ
การตัดเกรดผลการเรียน
การจัดกิจกรรมการเรียนเป็ นกลุ่มย่อยให้นักเรียนในชั้นเรียน
Company Logo
สรุปการใช้งาน สาหรับ นักเรียน
การลงทะเบียนเป็ นนักเรียน
การเข้าเรียนรายวิชา
การส่งการบ้าน
การปฏิสมั พันธ์ในการเรียน
การดูสถิติการเข้าเรียนในแต่ละบทเรียนของตนเอง
การติดต่อขอคาปรึกษา คาแนะนา เป็ นการส่วนตัวกับอาจารย์
การเข้าทากิจกรรมกลุ่มย่อยกับเพื่อนร่วมชั้นเรียน
Company Logo
องค์ ประกอบของระบบบริ หารการเรี ยนการสอน
1) ระบบจัดการรายวิชา (Course Management)
อานวยความสะดวกให้กลุ่มผูใ้ ช้งานสามารถเข้าสู่ระบบจากที่ไหน เวลา
ใดก็ได้ โดยผ่านเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต
นอกจากนี้ระบบสามารถรองรับจานวนผูใ้ ช้และจานวนบทเรี ยนได้ไม่
จากัด ขึ้นอยูก่ บั ฮาร์ดแวร์และ/หรื อซอฟท์แวร์ที่ใช้
8
Company Logo
องค์ ประกอบของระบบบริ หารการเรี ยนการสอน
2) ระบบการสร้ างบทเรียน (Content Management)
ประกอบด้วยเครื่ องมือในการช่วยสร้างเนื้อหา ระบบนี้สามารถ
ใช้งานได้ดีท้ งั กับบทเรี ยนในรู ป Text-based และบทเรี ยนใน
รู ปแบบ Streaming media
9
Company Logo
องค์ ประกอบของระบบบริ หารการเรี ยนการสอน
3) ระบบบริหารจัดการข้ อมูลผู้เรียน (User Management System)
ประกอบด้วยระบบบริ หารการจัดการผูใ้ ช้งานสามารถจัดกลุ่ม
ผูใ้ ช้ตามการเข้าใช้งานได้หลายระดับ
ระบบตรวจสอบสมาชิกผูใ้ ช้งาน และการเก็บรายละเอียดข้อมูล
ผูใ้ ช้
10
Company Logo
องค์ ประกอบของระบบบริ หารการเรี ยนการสอน
4) ระบบการทดสอบและประเมินผล
(Test and Evaluation System)
เป็ นระบบคลังข้อสอบที่สามารถสุ่ มข้อสอบ จับเวลาการทา
ข้อสอบและตรวจข้อสอบได้อย่างอัตโนมัติ พร้อมเฉลย
รวมทั้งมีการรายงานสถิติ คะแนน และสถิติการเข้าเรี ยนของ
ผูเ้ รี ยน
11
Company Logo
องค์ ประกอบของระบบบริ หารการเรี ยนการสอน
5) ระบบส่ งเสริมการเรียน (Course Tools)
ประกอบด้วย เครื่ องมือต่างๆ ที่ใช้สื่อสารระหว่าง ผูเ้ รี ยนกับ
ผูส้ อน และผูเ้ รี ยนกับผูเ้ รี ยน ได้แก่ เว็บบอร์ด (Web board)
และ ห้องสนทนา (Chat room) ที่สามารถเก็บข้อมูลเหล่านี้ได้
12
Company Logo
องค์ ประกอบของระบบบริ หารการเรี ยนการสอน
6) ระบบจัดการข้ อมูล (Data Management System)
ประกอบด้วย ระบบจัดการไฟล์และโฟลเดอร์ ที่มีเนื้อที่เก็บ
ข้อมูลบทเรี ยนเป็ นของผูส้ อนด้วยตนเอง ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั เนื้อที่
ตามที่ผดู ้ ูแลระบบกาหนดให้
13
Company Logo
LMS และเทคโนโลยีทใี่ ช้ ในการติดตั้ง
14
Sirichai Namburi : Faculty of Science Technology and Agriculture : YRU : 16-Aug-06
Company Logo
LMS และเทคโนโลยีทใี่ ช้ ในการติดตั้ง
ที่มา : http://www.learnsquare.com/modules/Message/images/diagram.gif
15
Sirichai Namburi : Faculty of Science Technology and Agriculture : YRU : 16-Aug-06
Company Logo
การดาเนินการพัฒนาระบบบริหารการเรียนการสอน
การพัฒนาระบบ LMS จาแนกออกเป็ นด้ านต่ าง ๆ ดังนี้
การดาเนินการด้านเทคโนโลยี
การดาเนินการด้านเนื้อหาบทเรี ยน
การดาเนินการด้านการบริ หารและจัดการระบบ
16
Company Logo
การดาเนินการพัฒนาระบบบริหารการเรียนการสอน
การดาเนินการด้ านเทคโนโลยี
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (Computer Technology)
• เซิ ร์ฟเวอร์ ส่วนกลาง (Central Servers) ที่มีความเร็ วในการประมลผลสูง มีหน่วย
เก็บความจุที่มีปริ มาณมากเพียงพอ
เทคโนโลยีเครื อข่ าย (Network Technology)
• เครื อข่ายอินเทอร์เน็ต หรื ออินทราเน็ต
เทคโนโลยีการสื่ อสาร (Communication Technology)
• สายโทรศัพท์ สายเช่า ดาวเทียมเพื่อการสื่ อสาร หรื อระบบการสื่ อสารอื่น
17
Company Logo
การดาเนินการพัฒนาระบบบริหารการเรียนการสอน
การดาเนินการด้ านเนือ้ หาบทเรียน
ผู้จัดเตรี ยมเนือ้ หาบทเรี ยน (Content Provider)
• ออกแบบ วิเคราะห์ และสังเคราะห์เนื้อหาสาระ ตั้งแต่โครงสร้างของบทเรี ยน
เนื้อหาบทเรี ยน สื่ อการเรี ยนการสอน วิธีการสอน กิจกรรม และการประเมินผล
การเรี ยน
ผู้จัดการบทเรี ยน (Program Director)
• ออกแบบเป็ นคอร์สแวร์ของบทเรี ยน ซึ่ งผลลัพธ์ในขั้นนี้คือบทดาเนินเรื่ อง
(Storyboard) และผังงานของบทเรี ยน (Lesson Flowchart)
นักโปรแกรม (Programmer)
ผู้เชี่ ยวชาญ (Expert) จาแนกออกเป็ น 2 ด้ าน
• ด้านเนื้อหา และด้านเทคนิคและวิธีการ
18
Company Logo
การดาเนินการพัฒนาระบบบริหารการเรียนการสอน
การดาเนินการด้ านการบริหารและจัดการระบบ เป็ นการเลือกใช้ LMS
ในการ
การจัดตารางเวลาการเข้าเรี ยน/การใช้งาน
การลงทะเบียนเรี ยน
การกาหนดสิ ทธิ์ในการใช้
การรักษาความปลอดภัย
การดาเนินการเรี ยนการสอน
การรายงานผลการเรี ยน
19
Company Logo
การดาเนินการพัฒนาระบบบริหารการเรียนการสอน
การพิจารณาในการนาระบบ LMS ใช้
สมรรถนะของระบบ (ตรงตามความต้องการ)
การคุม้ ค่าต่อการลงทุน (งบประมาณ)
การช่วยส่ งเสริ มและพัฒนาทักษะของผูเ้ รี ยน (ผลสัมฤทธิ์)
กระบวนการสร้างปฏิสมั พันธ์ที่ผเู ้ รี ยนมีต่อบทเรี ยน (การเรี ยนรู ้)
การใช้ทรัพยากรที่มีอยูใ่ ห้เกิดประโยชน์สูงสุ ด (ประสิ ทธิภาพ)
การพิจารณาปัจจัยด้านกาลังคน (ความรู ้ ความสามารถ ทัศนะคติ)
20
Company Logo
การดาเนินการพัฒนาระบบบริหารการเรียนการสอน
ในปัจจุบันระบบจัดการเรียนรู้ (LMS) ที่มีการใช้ กนั มาก
สามารถแยกได้ เป็ น 3 ประเภท คือ
ระบบจัดการเรียนรู้ ทมี่ บี ริษัทผู้พฒ
ั นาเป็ นเจ้ าของ (Commercial LMS) มีการขาย
ระบบฯ พร้อมบริ การ โดยคิดเป็ นค่าเช่าใช้เป็ นรายปี เช่น Blackboard™ WebCT™
เป็ นต้น
ระบบจัดการเรียนรู้ แบบเปิ ดเผยรหัส (Open source LMS) เช่น Moodle, ATutor,
เป็ นต้น
ระบบจัดการเรียนรู้ ทอี่ นุญาตให้ เฉพาะสถาบันสมาชิกนาไปใช้ โดยสมาชิกจะต้อง
เสี ยค่าสมาชิกและร่ วมในกิจกรรมต่างๆ
21
Company Logo
สรุประบบจัดการบทเรียน(LMS)จะทาหน้ าทีเ่ หมือนกับ
โรงเรียนแห่ งหนึ่งทีป่ ระกอบไปด้ วยระบบจัดการด้ านต่ างๆ
ดังนี้
1. ระบบจัดการหลักสู ตร เป็ นส่ วนของการจัดการเกีย
่ วกับระบบการเรียนการสอน
ซึ่งเป็ นหน้ าทีข่ องครู ผ้ สู อน ทีจ่ ะเป็ นผู้จัดทา ระบบจัดการหลักสู ตรถือเป็ นหัวใจ
สาคัญของ E-learning โดยประกอบไปด้ วยระบบย่อย ๆ 2 ระบบ คือ
1.1 ระบบจัดการบทเรียน
1.2 ระบบการวัดและประเมินการเรียนรู้
22
Company Logo
สรุประบบจัดการบทเรียน(LMS)จะทาหน้ าทีเ่ หมือนกับ
โรงเรียนแห่ งหนึ่งทีป่ ระกอบไปด้ วยระบบจัดการด้ านต่ างๆ
2. ระบบส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้
เป็ นระบบช่วยเหลือในการจัดทาบทเรี ยนของครู ผสู ้ อน และช่วยในการเรี ยนรู ้
ของผูเ้ รี ยน ประกอบด้วย
โปรแกรมจัดทาบทเรี ยน ผูส้ อนบรรจุขอ้ มูล เนื้อหา คาสั่งกิจกรรม และข้อมูลอื่น
ๆ ลงในระบบได้โดยง่าย รวมถึงการใส่ ภาพประกอบ ภาพเคลื่อนไหว วิดีโอ หรื อ
ไฟล์ขอ้ มูลต่าง ๆ
นอกจากนี้ ระบบส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ยงั มีระบบการ
ติดต่อสื่ อสารระหว่างผูส้ อนกับผูเ้ รี ยนได้แก่ กระดานข่าว (Web board) กระดานสนทนา
(Chat) จดหมายอิเลคทรอนิ กส์ (e-mail)
23
Company Logo
สรุประบบจัดการบทเรียน(LMS)จะทาหน้ าทีเ่ หมือนกับ
โรงเรียนแห่ งหนึ่งทีป่ ระกอบไปด้ วยระบบจัดการด้ านต่ างๆ
3. ระบบจัดการข้ อมูล เป็ นระบบจัดการด้านฐานข้อมูล ซึ่งจะเก็บ
รวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ของครู ผสู ้ อน ข้อมูลของผูเ้ รี ยน สถิติต่าง ๆ เช่น สถิติการเข้า
มาเรี ยน วันที่ เวลา ระยะเวลา ข้อมูลส่ วนตัว รหัสผ่าน สถิติการทาแบบฝึ กหัด
แบบทดสอบ คะแนนที่ได้ ฯลฯ
24
Company Logo
เปรี ยบเทียบให้เห็นภาพ LMS กับ คอนโดมิเนียม
คอนโดมิเนียม
LMS
ความปลอดภัย (ยาม, วงจรปิ ด)
ระบบลอกอิน (log in)
ตรวจสอบพฤติกรรมผู้ใช้
ความสะอาด
ระบบจัดการแฟ้มข้ อมูล
ประกาศ ข้ อมูลข่าวสาร
เครื่ องมือให้ คาแนะนาการเรี ยน ประกาศ
จากผู้สอน สัง่ งานต่างๆ
โทรศัพท์และระบบสื่อสาร
E-mail / web board
พักผ่อน
Game / chat
เครื่ องมือและบริการในการตกแต่งห้ อง
เครื่ องมือสร้ างเนื ้อหา
Company Logo
ตัวอย่ างระบบจัดการเรียนการสอน หรือ LMS
• WebCT (www.webct.com)
• Blackboard’s CourseInfo (www.blackboard.com)
• Lotus Learning Space (www.lotus.com)
• SAP (www.sap.com)
• TopClass (www.wbtsystems.com)
• IntraLearn (www.intralearn.com)
• Education Sphere (www.sumsystem.com)
• MaxLearn (www.maxlearn.com)
• Chula ELS (www.chulaonline.com) or TCU-LMS
(www.thaicyberu.go.th)
• Learn Loop (learnloop.sourceforge.net)
• Moodles (www.moodle.org)
• ATutor (www.atutor.ca)
• Claroline (www.claroline.net)
ึ ษาเพิม
ศก
่ เติม LMS ได ้ที่ www.edutools.info, www.opensourcecms.com,
http://www.cmsthailand.com
26
Sirichai Namburi : Faculty of Science Technology and Agriculture : YRU : 16-Aug-06
Company Logo
Moodle LMS (www.moodle.org)
27
Sirichai Namburi : Faculty of Science Technology and Agriculture : YRU : 16-Aug-06
Company Logo
แนะนา Moodle LMS
• Moodle ย่ อมาจาก Modular Object Oriented Dynamic
Learning Environment (เป็ นการจัดการเรียนรู้แบบหน่ วยการเรียนเชิงวัตถุ
ในสภาพแวดล้ อมแบบเคลือ่ นไหว)
• Moodle เป็ นซอฟต์ แวร์ ระบบบริหารจัดการเรียนการสอนในสภาพแวดล้ อมแบบอีเลิร์
นนิ่งหรือ
ห้ องเรียนเสมือน (Virtual Classroom) เรียกทัว่ ไปว่ า Moodle LMS
28
Sirichai Namburi : Faculty of Science Technology and Agriculture : YRU : 16-Aug-06
Company Logo
แนะนา Moodle LMS
• เริ่มต้ นพัฒนาโดย Martin Dougiamas, Ph.D. (Computer
Science and Education) แห่ ง Curtin University,
Australia (http://dougiamas.com or www.moodle.com)
• การพัฒนา Moodle รองรับแนวคิดหรือปรัชญาทางการเรียนการสอน
แบบ Social Constructivism คือ ความรู้ เกิดจากทีส่ ั งคมมี
แลกเปลีย่ น ความรู้ และประสบการณ์ ระหว่ างกัน เรียนรู้ แบบร่ วมมือกันสร้ าง
องค์ ความรู้ ใหม่ เกิดการเรียนรู้ ร่วมกัน ผู้เรียนแต่ ละคน
สามารถเรียนรู้ ได้ จากประสบการณ์ เดิม บวกกับประสบการณ์ หรือความรู้ ใหม่
ทีไ่ ด้ รับจากสั งคม
29
Company Logo
Moodle Features
• การออกแบบระบบโดยรวมง่ ายต่ อการใช้ งาน (Overall Design)
• การจัดการระบบ (Site Management)
• การจัดการผู้ใช้ ระบบ (User Management)
• การจัดการรายวิชา (Course Management System)
• การสร้ างงานมอบหมาย (Assignment Module)
• ห้ องเสวนาออนไลน์ (Chat Module)
30
Sirichai Namburi : Faculty of Science Technology and Agriculture : YRU : 16-Aug-06
Company Logo
Moodle Features
• การสารวจออนไลน์ (Choice Module)
• กระดานสนทนา (Forum Module)
• การจัดการคลังข้ อสอบ (Quiz Module)
• ทรัพยากรการเรียนการสอน (Resource Module)
• แบบสอบถามออนไลน์ (Survey Module)
• แบบปฏิบัติงานออนไลน์ (Workshop Module)
31
Company Logo
ปัจจัยสนับสนุนการใช้ Moodle
• รองรับการจัดการเรียนการสอนในระบบ e-Learning ได้ ครอบคลุมและผ่ าน
การทดลองใช้ งาน
ในหน่ วยงานขนาดใหญ่ ได้ แก่ มหาวิทยาลัย วิทยาลัย
• มีการลงทะเบียนใช้ งานจาก 150 ประเทศ แปลเป็ นภาษาต่ าง ๆมากกว่ า 70 ภาษา
(รวมทั้งภาษาไทย ซึ่งแปลโดย ดร. วิมลลักษณ์ สิ งหนาท)
• สนับสนุนการเรียนการสอนแบบสร้ างองค์ ความรู้ ร่วมกันของผู้เรียน เน้ นผู้เรียนเป็ น
ศูนย์ กลางการเรียนรู้ (Learner Centred)
• Moodle LMS มีข้นั ตอนการติดตั้งและทดลองใช้ งานใน คอมพิวเตอร์ ส่วน
บุคคลได้ ง่าย
32
Sirichai Namburi : Faculty of Science Technology and Agriculture : YRU : 16-Aug-06
Company Logo
ปัจจัยสนับสนุนการใช้ Moodle
• รู ปแบบการติดต่ อของ Moodle กับผู้เรียน ผู้สอนหรือผู้บริหารระบบ เป็ น
มาตรฐานเดียวกัน
ทาให้ ง่ายต่ อการเรียนรู้ และสะดวกในการใช้
• Moodle มีการพัฒนาอย่างต่ อเนื่องตั้งแต่ เวอร์ ชั่น 1.0 จนถึง ปัจจุบัน
Version xxx
• มีสถาบันการศึกษา องค์ กรเอกชนในไทยนามาติดตั้งและใช้ งานจริงมากกว่ า 400 แห่ ง
(www.moodle.org) และมีเอกสารทีเ่ กีย่ วข้ องกับ Moodle มากกว่ า 48,000
pages (www.google.com)
• มีคู่มอื และเอกสารใช้ งานภาษาไทยเผยแพร่ จานวนมาก ทั้งหนังสื อและเอกสารอิเล็กทรอนิกส์
• มีชุมชนผู้ใช้ Moodle ในไทย (www.thaimoodle.net)
33
Company Logo
ตัวอย่ างระบบการเรียนการสอนทีใ่ ช้ Moodle
• มหาวิทยาลัย
• http://sutonline.sut.ac.th/moodle/ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
• http://freedom.lru.ac.th/moodle-mysql-ascii/ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
• http://elearning.rsu.ac.th/ มหาวิทยาลัยรังสิต
• http://mlearning.wu.ac.th/moodle145/index.php มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
• http://tsl.tsu.ac.th/ มหาวิทยาลัยทักษิณ
• http://etc.pn.psu.ac.th/LMS/ ภาควิชาเทคโนโลยีฯ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
• http://course.buu.ac.th/moodle/index.php มหาวิทยาลัยบูรพา
• http://learning.kku.ac.th/eLearning/index.php สานักนวัตกรรมฯ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
• http://moodle.arc.cmu.ac.th/moodle/ คณะสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
• http://elearning.it.kmitl.ac.th/ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีลาดกระบัง
• วิทยาลัยเทคนิค/อาชีวศึกษา
• http://ytc.vecict.net/ วิทยาลัยเทคนิคยะลา
• http://ewbi.htc.ac.th/ewbihtc/ วิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ่
• http://www3.chainat.ac.th/ วิทยาลัยเทคนิคชัยนาท
• http://elearning.cvc.ac.th/moodle/ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย
• โรงเรียนมัธยมศึกษา/ประถมศึกษา
• http://www.kham.ac.th/moodle/ โรงเรียนขามแก่ นนคร
• http://www3.rn.ac.th/moodle/โรงเรียนราชินีบูรณะ นครปฐม
• หน่ วยงานเอกชน/ส่ วนบุคคล
• www.thaimoodle.net ชมรมผู้ใช้ Moodle แห่ งประเทศไทย
• http://www.e107thailand.com/moodle/ ผศ.ประชิต ทิณบุตร
• http://phenpit.net/moodle/ ครู สมบัติ
• http://class.yonok.ac.th/ ห้ องเรียนโยนก
• http://www.drpaitoon.com/moodle/ ดร. ไพฑูรย์ ศรีฟ้า
( ดูเว็บไซต์ ทใี่ ช้ Moodle LMS ของไทยทีล่ งทะเบียนไว้ ได้ แก่ http://moodle.org/sites/)34
Sirichai Namburi : Faculty of Science Technology and Agriculture : YRU : 16-Aug-06
Company Logo
ซอฟท์ แวร์ สาหรับพัฒนา LMS อืน่ ๆ
35
Company Logo
ซอฟท์ แวร์ สาหรับพัฒนา LMS
36
Company Logo
LOGO
ระบบจัดการเนื้อหา
(Content Management System :CMS)
37
ระบบจัดการเนื้อหา (Content Management System :CMS)
ระบบจัดการเนื้อหา(Content Management System :CMS)
คือ ระบบที่พฒั นาคิดค้นขึ้นมาเพื่อช่วยลดทรัพยากรในการพัฒนา
(Development) และ บริ หาร(Management) เว็บไซต์ ไม่วา่ จะเป็ น
เรื่ องของกาลังคน ระยะเวลา และงบประมาณที่ใช้ในการสร้าง
และควบคุมดูแลเว็บไซต์
38
Company Logo
ที่มา Content Management System (CMS)
CMS ถูกนามาใช้ ราวช่ วงปี ค.ศ. 1995 โดย CNET เป็ นผู้ริเริ่มใช้
ระบบดังกล่ าวเป็ นรายแรก ในยุคแรก ถูกนามาจัดการพวกเอกสาร เช่ น ข่ าว
ประจาวัน บทความ สารคดีอนื่ ๆ ทีใ่ ช้ เผยแพร่ ผ่านทางเว็บไซต์
ต่ อมา CMS เป็ นทีน่ ิยมใช้ ในองค์ กรขนาดเล็กและเว็บไซต์ ส่วนบุคคล อีก
ทั้งยังมีทมี พัฒนาเกิดขึน้ อีกเป็ นจานวนมาก ซึ่งมีท้งั แบบเปิ ดและแบบปิ ด
สาหรับ CMS ทีเ่ ป็ นแบบเปิ ดนั้น มีเงื่อนไขว่ า ใครก็สามารถดาวน์ โหลด
และนาไปใช้ โดยไม่ มีค่าใช้ จ่ายใดๆ
ขณะเดียวกัน CMS ระบบปิ ดจะต้ องเสี ยค่ าใช้ จ่าย ให้ กบั เจ้ าของลิขสิ ทธิ์เสี ยก่ อนจึง
นาไปใช้ งานได้ ซึ่ง CMS ระบบปิ ดจะมีราคาตั้งแต่ ไม่ กพี่ นั จนถึงหลักล้ าน
39
Company Logo
ระบบจัดการเนื้อหา (Content Management System :CMS)
•ระบบจัดการเนือ้ หาเป็ นระบบที่สนับสนุนการสร้ างบรรจุ
เนือ้ หา ความรู้ จากบุคคลทีห่ ลากหลาย (ทีม่ สี ิ ทธิในการใช้
งาน) เข้ าสู่ ระบบฐานข้ อมูล
•โดยมีการจัดระบบการทาสารบัญ ดัชนี เพือ่ ให้ สามารถค้ น
คืน (Search and retrieve) ได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ รวมทั้ง
เครื่องมือทีเ่ อือ้ ให้ ผ้ ูใช้ นาเนือ้ หาทีผ่ ่ านการตรวจสอบและ
รับรองแล้ ว มาเรียบเรียงเป็ นเนือ้ หาความรู้ เป็ นเรื่องราวได้
40
Company Logo
ระบบจัดการเนื้อหา (Content Management System :CMS)
•โดยส่ วนใหญ่ แล้ ว มักจะนาเอา ภาษาสคริ ปต์ (Script languages)
ต่ างๆมาใช้ เพือ่ ให้ วธิ ีการทางานเป็ นแบบอัตโนมัติ ไม่ ว่าจะเป็ น
PHP, Perl, ASP หรื อภาษาอื่นๆ
•(แล้ วแต่ ความถนัดของผู้พัฒนา) ซึ่ งมักต้ องใช้ ควบคู่กันกับโปรแกรมเว็บ
เซิ ร์ฟเวอร์ (เช่ น Apache) และดาต้ าเบสเซิ ร์ฟเวอร์ (เช่ น MySQL)
41
Company Logo
อะไรคือ CMS
CMS เป็ นซอฟต์ แวร์ ที่ใช้ จัดการเนือ้ หาบนเว็บไซต์ โดยโครงสร้ างของ
CMS ประกอบด้ วย ส่ วนควบคุม ส่ วนจัดการเนือ้ หา เช่ น รูปภาพ สื่ อ
มัลติมีเดีย เป็ นต้ น
CMS สามารถสร้ างเอกสารสาหรับเผยแพร่ ต่อสาธารณะในปริมาณมากๆ
ได้ และ CMS ยังเหมาะแก่การเก็บข้ อมูล การควบคุม การกระจายข้ อมูล
ระดับอุตสาหกรรม เช่ น ข่ าว บทความ เอกสารคู่มือออนไลน์ เอกสารด้ าน
เทคนิค คาแนะนาการขาย เอกสารด้ านการตลาด เช่ น โบว์ ชัวร์ สินค้ า
42
Company Logo
อะไรคือ CMS
CMS จะเน้ นทีก่ ารทางานผ่ านเว็บไซต์ ทาให้ ผู้ดูแลสามารถเข้ ามาแก้ไข
ข้ อมูลได้ ทุกทีท่ ุกเวลา
CMS สามารถเพิม่ เติม ดัดแปลง แก้ไขและประยุกต์ เพือ่ ให้ เหมาะสมตาม
รูปแบบและประเภทของแต่ ละเว็บไซต์ ได้ อย่ างเช่ น การนาเสนอบทความ,
เว็บไดเรคทอรี่, การเผยแพร่ ข่าวสารต่ างๆ และหัวข้ อข่ าว, รายงานสภาพ
ดินฟ้าอากาศ, ถาม/ตอบปัญหา, ห้ องสนทนา, กระดานข่ าว และส่ วนอืน่ ๆ
อีกมากมายทีต่ ้ องมีการเปลีย่ นแปลงข้ อมูลเป็ นประจา
43
Company Logo
คณ
ุ สมบัติของ CMS
สามารถนาเอกสารและมัลติมีเดียเข้ ามาจัดการ
สามารถกาหนดให้ ผู้ใช้ ทุกคนสามารถแสดงตนหรือทาตามข้ อบังคับใน
การจัดการเนือ้ หา
สามารถกาหนดกฎระเบียบและความรับผิดชอบในแต่ ละหมวด
สามารถตรวจสอบเนือ้ หาข้ อคิดเห็น คาเตือนจากสมาชิกหรือผู้ใช้ งาน
สามารถกาหนดรูปแบบ (Template) เพิม่ ลดเมนู และโมดูลต่ างๆ ทีใ่ ช้ งาน
ในเว็บไซต์ ได้ โดยง่ าย
สามารถนาไปประยุกต์ ใช้ ในองค์ กรขนาดใหญ่ และระบบนีเ้ อือ้ ต่ อการ
กาหนดรูปแบบการแสดงผล เช่ น สี สัน ตัวอักษร หรือ การแสดงผลอืน่ ๆ
ที่เกีย่ วข้ องกับเนือ้ หา
44
Company Logo
ฟังก์ ชันการทางานของ CMS
ฟังก์ ชันการทางาน ได้ แก่
ระบบจัดการสมาชิก(Member)
การนาเสนอบทความ (Articles)
เว็บไดเรคทอรี (Web directory)
เผยแพร่ ข่าวสารต่ างๆ (News) ,หัวข้ อข่ าว (Headline)
รายงานสภาพดินฟ้าอากาศ (Weather)
ข้ อมูลข่ าวสารทีน่ ่ าสนใจ (Informations)
ระบบสื บค้ นข้ อมูล(Search)
ระบบจัดการป้ ายโฆษณา(Banner)
45
Company Logo
ฟังก์ ชันการทางานของ CMS
ถาม/ตอบปัญหา (FAQs)
ห้ องสนทนา (Chat)
กระดานข่ าว (Forums)
การจัดการไฟล์ในส่ วนดาวน์ โหลด (Downloads)
แบบสอบถาม (Polls)
ข้ อมูลสถิตติ ่ างๆ (Statistics)
และส่ วนอืน่ ๆอีกมากมาย ทีส่ ามารถเพิม่ เติมดัดแปลง แก้ไขแล้วประยุกต์
นามาใช้ งานให้ เหมาะสมตามแต่ รูปแบบและประเภทของเว็บไซต์ น้ันๆ
46
Company Logo
Content Management System (CMS)
องค์ ประกอบหลักของ CMS
โดยทั่วไปแล้วซอฟต์ แวร์ CMS จะมีองค์ ประกอบหลักๆ ได้ แก่
บล็อก (Blog) คือ ส่ วนทีใ่ ช้ เชื่อมโยงกับเว็บเพจต่ างๆ โดยปกติบล็อกจะ
อยู่ตาแหน่ งด้ านซ้ ายมือหรือขวามือของหน้ าเว็บเพจ
โมดูล (Module) คือ ส่ วนทีใช้ จัดการรู ปแบบเนือ้ หาบนเว็บไซต์ เช่ น
โมดูลจัดการบทความ โมดูลจัดการ FAQ โมดูลสมาชิก เป็ นต้ น
ธีม (Theme) คือ กราฟิ กของเว็บไซต์ ใช้ ควบคุมคุณสมบัตทิ ุกเว็บเพจ
เช่ น สี หรือแบบตัวอักษรและขนาด เป็ นต้ น
47
Company Logo
ประโยชน์ ของ CMS
ช่ วยการจัดการเนือ้ หาบนเว็บไซต์ อย่ างง่ ายดาย
ช่ วยให้ สามารถจัดการควบคุมเนือ้ หาจานวนมาก
ง่ ายต่ อการเข้ าถึง และง่ ายต่ อการแก้ ไขของผู้ดูแลเว็บไซต์
ซึ่งลักษณะสาคัญของ CMS ก็คอื การใช้ จัดการเอกสาร การทดสอบ การแก้ ไข
การกาหนดขอบเขตเวลา
ประโยชน์ ของการใช้ งาน CMS สรุ ปได้ ดงั นี้
มีเทมเพลทให้ ใช้ งาน – CMS จะแสดงแม่ แบบของเอกสารหรือเทมเพลท
ให้ โดยอัตโนมัติ นอกจากนั้นยังสามารถทาการเปลีย่ นแปลงเทมเพลทได้
มีความง่ ายในการแก้ไขเนือ้ หา และสามารถทดลองเผยแพร่ เนือ้ หาก่ อนที่จะ
เผยแพร่ จริงให้ ผ้ อู นื่ ได้ อ่าน เช่ น ทดสอบการจัดคอลัมน์ การจัดเรียงรู ปภาพ
ตารางและตัวอักษร ก่อนเผยแพร่ ใช้ งานจริง
48
Company Logo
ประโยชน์ ของ CMS
สามารถเพิม่ ปลัก๊ อินหรือโมดูลเข้ าไปในระบบได้ ซึ่ง CMS แต่ ละตัว มีให้
เลือกใช้ จานวนมากทั้งแบบฟรีและเสี ยค่ าใช้ จ่าย และแก้ไขภายหลังได้
การอัพเกรด CMS รองรับการเปลีย่ นแปลงทั้งระบบ รู ปแบบการจัดการ
เนีอ้ หา ด้ วยการอัพเกรดเวอร์ ชันใหม่ ของ CMS นั้น ๆ
จัดลาดับการจัดการ สามารถจัดการกับเนือ้ หาที่สมาชิกหรือคอลัมนิสต์ ส่งเข้ า
มาได้ อย่างกึง่ อัตโนมัติ
จัดการเอกสารได้ อย่างง่ ายดาย CMS ใช้ การจัดการเอกสารแบบกาหนด
รอบเวลา ทั้งช่ วงเวลาเริ่มต้ นและช่ วงเวลาสิ้นสุ ดของการเผยแพร่ ชิ้นงาน ทา
ให้ สามารถกาหนดรอบเวลาเผยแพร่ งานแต่ ละชิ้นได้ อย่างอิสระ
49
Company Logo
ข้ อดีของ CMS ระบบเปิ ด
ผู้ใช้ งานไม่ จาเป็ นต้ องมีความรู้ เรื่องการทาเว็บไซต์ เพียงแค่ เคยใช้ งาน
อินเทอร์ เน็ต ก็สามารถมีเว็บไซต์ เป็ นของตัวเองได้
ไม่ เสี ยเวลาในการพัฒนาเว็บไซต์ ไม่ เสี ยเงินจานวนมาก
ง่ ายต่ อการดูแล เพราะมีระบบจัดการทุกอย่ างให้ เราหมด
มีระบบจัดการทีเ่ ราสามารถหามาใส่ เพิม่ ได้ มากมาย อย่างเช่ น ระบบแกลลอรี่,
ฟอรัม, กระดานสนทนา , ระบบจัดการเอกสาร ฯลฯ
สามารถเปลีย่ นหน้ าตาเว็บไซต์ ได้ ง่ายๆ เพียงแค่ โหลดทีม (Theme) ของ
CMS นั้นๆ
มีผ้ ทู สี่ ามารถให้ ความรู้ และคาปรึกษาด้ านนีก้ บั เราได้ อย่ างมากมาย ใน
อินเตอร์ เน็ต และมีชุมชนผู้ใช้ CMS เป็ นจานวนมาก
50
Company Logo
CMS ในปัจจุบัน
ปัจจุบันมีผ้ สู ร้ าง CMS เป็ นจานวนมาก และมีชุมชนผู้ใช้ หลากหลาย เช่ น
Drupal
PostNuke
PHP-Nuke
MyPHPNuke
Mambo
eNvolution
Joomla!
51
Company Logo
ซอฟต์ แวร์ ที่ใช้ สร้ าง CMS
ปัจจุบันซอฟต์ แวร์ ที่ใช้ สร้ าง CMS มีหลายตัวด้ วยกัน เช่ น
PostNuke, PHP-Nuke, MyPHPNuke, Mambo, Joomla เป็ นต้ น
52
Company Logo
การประยกุ ต์ ใช้ CMS ในวงการต่ างๆ
การนา CMS มาใช้ในการสร้างเว็บไซต์สถาบันการศึกษา ธุรกิจ
บันเทิง หนังสื อพิมพ์ การเงิน การธนาคาร หุน้ และการลงทุน
อสังหาริ มทรัพย์ งานบุคคล งานประมูล สถานที่ท่องเที่ยว งานให้บริ การ
ลูกค้า
การนา CMS มาใช้ในหน่วยงานของรัฐ อาทิเช่น งานข่าว
งานประชาสัมพันธ์ การนาเสนองานต่างๆ ขององค์กร
การใช้ CMS สร้างเว็บไซต์ส่วนตัว ชมรม สมาคม สมาพันธ์ โดยวิธีการ
แบ่งงานกันทา เป็ นส่ วนๆ ทาให้เกิดความสามัคคี ทาให้มีการทางานเป็ น
ทีมเวิร์คมากยิง่ ขึ้น
53
Company Logo
การประยกุ ต์ ใช้ CMS ในวงการต่ างๆ
การนา CMS มาใช้ในการสร้างเว็บไซต์สาหรับธุรกิจ SME โดยเฉพาะ
สิ นค้าหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ หรื อ OTOP กาลังได้รับความนิยมสูง
การนา CMS มาใช้แทนโปรแกรมลิขสิ ทธิ์ อื่นๆ เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย
และง่ายต่อการพัฒนา
การใช้ CMS ทาเป็ น Intranet Web Site สร้างเว็บไซต์ใช้ภายในองค์กร
54
Company Logo
ความแตกต่ างระหว่ าง LMS/CMS
55
Company Logo
ความแตกต่ างระหว่ างระบบ
LMS
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
LMS
การบริหารจัดการทั้งระบบ
กระบวนการจัดการสมบูรณ์ แบบ องค์ ประกอบเต็มรู ปแบบ
ดาเนินการด้ วยบุคลากรจานวนมาก
ค่ าใช้ จ่ายการดาเนินการสู ง
เหมาะสาหรับองค์ กรขนาดใหญ่
ใช้ เป็ นสื่ อหลักในการเรียนการสอน
เนือ้ หามาจากผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ชานาญการ
การผลิตยุ่งยากและใช้ เวลานาน
การสร้ างเน้ นการทางานกับเครื่องแม่ ข่าย
** **ความรับผิดชอบอยู่ทอี่ งค์ กรหรือหน่ วยงาน
56
Company Logo
ความแตกต่ างของระบบ CMS
CMS
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
การบริหารจัดการเฉพาะเนือ้ หา
กระบวนการจัดการเฉพาะเนือ้ หาและองค์ ประกอบบางส่ วน
ดาเนินการโดยผู้สอน
ค่ าใช้ จ่ายการดาเนินการต่า
เหมาะสาหรับอาจารย์ ทมี่ คี วามรู้ เฉพาะ
ใช้ เป็ นสื่ อเสริมในการเรียนการสอน
เนือ้ หาตรงตามความต้ องการผู้สอน
การผลิตง่ ายและใช้ เวลาน้ อย
การสร้ างเน้ นการทางานกับเครื่องลูกข่ าย
*** ความรับผิดชอบอยู่ที่ผ้ สู ร้ างหรือผู้สอน
57
Company Logo
CMS ยอดนิยม
DotNetNuke
dotnetnukethai.com
58
Company Logo
CMS ยอดนิยม
phpNuke
phpnuke.org
thaiNuke
thainuke.org
59
Company Logo
CMS ยอดนิยม
Mambo
mambothailand.net
60
Company Logo
CMS ยอดนิยม
Joomla
joomlacorner.com
61
Company Logo