No Slide Title

Download Report

Transcript No Slide Title

ภาวะโลหิตจางในสตรี ตงครรภ์
ั้
ของประชาชน
จังหวัดพิษณุโลกสัมพันธ์กบั ภาวะเศรษฐกิจกิจไทย
อย่างไร
ผ้ ูวจิ ยั
นิสิตแ พทย์ พนมพร สายอินต๊ ะ
นิสิตแ พทย์ วุฒพ
ิ งษ์ ใจภักดี
นิสิตแ พทย์ สุริยา คุณาชน
คาถามหลัก
ภาวะโลหิตจางในสตรี ตงครรภ์
ั้
ของประชาชนจังหวัดพิษณุโลกสัมพันธ์
กับภาวะเศรษฐกิจกิจไทยอย่างไร
วัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของภาวะเศรษฐกิจที่สง่ ผลต่อภาวะโลหิตจาง
ในสตรี ตงครรภ์
ั้
ผลที่คาดว่ าจะได้ รับ
• ทราบถึงผลกระทบของภาวะเศรษฐกิจที่มีผลต่ อภาวะสุขภาพ
ของประชาชน โดยเฉพาะแม่ และเด็ก ของจังหวัดพิษณุโลก
• เป็ นแนวทางในการวางแผนการดูแลสุขภาพตามแนวโน้ มของ
ภาวะเศรษฐกิจ
ความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหา
• ภาวะเศรษฐกิจของประเทศในช่ วงหลายปี ที่ผ่านมามีการปรับตัว
ลดลง อาจส่ งผลกระทบต่ อการพัฒนาประเทศหลายด้ าน รวมถึง
สุขภาพของประชาชน
• ภาวะโลหิตจางในสตรีตงั ้ ครรภ์ พบได้ บ่อยในประเทศที่กาลัง
พัฒนา และมีสาเหตุจากหลายปั จจัย
• เป็ นปั ญหาสาธารณสุขที่สาคัญ และเป็ นปั ญหาระดับประเทศ
• การทราบแนวโน้ มของปั ญหาจะทาให้ สามารถวางแผนรับมือได้
ถูกต้ อง
โลหิตจางระหว่ างการตั้งครรภ์ ***
• คาจากัดความของ WHO = ระดับฮีโมโกลบินต่ากว่ า 11
กรัม/ดล.
• CDC จากัดความว่า
– โลหิตจางในสตรี ตงครรภ์
ั้
เมื่อฮีโมโกลบินต่ากว่า 11 กรัม/ดล. ในไตรมาส
ที่สอง และระยะหลังคลอด และต่ากว่า 10.5 กรัม/ดล.
*** (ธีระ ทองสง และ จตุพล ศรี สมบูรณ์, ภาวะแทรกซ้ อนทางอายุรศาสตร์ ในสตรี ตั ้งครรภ์, 2538)
“การศึกษาสถานะสุขภาพของมารดาที่มาฝากครรภ์ใน
โรงพยาบาลกาฬสินธุ์โดยใช้ เครื่ องมือชี ้วัดแผนฯ 8” **
• Descriptive research ในหญิงตังครรภ์
้
รายใหม่ ทุกคนที่มาฝากครรภ์ในคลินิค
ฝากครรภ์ รพ.กาฬสินธุ์
• ตังแต่
้ 1 ตุลาคม 2541 ถึง 31 มีนาคม 2542 และติดตามจนสิ ้นสุดการ
ตังครรภ์
้
รวมระยะเวลาทังสิ
้ ้น 18 เดือน
• ตัวอย่างทังสิ
้ ้น 891 คน พบว่า
– ภาวะโลหิตจาง 40 คน (40.49 %)
– มีเด็กแรกเกิดน ้าหนัก<2,500 กรัม 59 คน (6.85%)
– Thalassemia ( 0.67%)
* .ร้ อยเอ็ดรพ.กาฬสินธุ์ รพ.มหาสารคาม 2543;1:40-52
“Prevalence of anemia in pregnancy”
• descriptive study เก็บข้ อมูลจาก Coimbatore Medical College
hospital, Sithalakshmi Maternity Centre, Meenalshi maternity
centre and Sengaalappan
• จานวนประชากร 1040 คน โดยใช้ blood sample จาก finger
prick พบว่า
– 29.6% ไม่มีภาวะโลหิตจาง และ 70.4% มีภาวะโลหิตจาง
– โดยแบ่งเป็ น mild anemia 23%, moderate anemia 38.2%, sever
anemia 9.2%
• ในด้ านระดับการศึกษาของสตรี มีครรภ์พบว่า
– ผู้มีระดับการศึกษาสูงจะเกิดภาวะโลหิตจางน้ อยกว่าผู้มีการศึกษาต่า
– โดยพบภาวะโลหิตจางในสตรี มีครรภ์ คิดเป็ น 80% ของสตรี ที่ไม่ได้ รับ
การศึกษา, 72.56% ของสตรี ที่ได้ รับการศึกษา Primary level, 48.19%
ของสตรี ที่ได้ รับการศึกษา Secondary level และ 42.25% ของสตรี ที่จบ
ปริญญาตรี
• ในด้ านจานวนสมาชิกในครอบครัว พบว่า
– จานวนสมาชิกที่เพิ่มขึ ้นจะทาให้ มีโอกาสเกิดภาวะโลหิตจางในสตรี มี
ครรภ์เพิ่มขึ ้น
– โดย 80.2% ของครอบครัวที่มีสมาชิกมากกว่า 7 คนขึ ้นไป พบว่าสตรี
จะมีภาวะโลหิตจางขณะตังครรภ์
้
– 67.1% ของครอบครัวที่มีสมาชิกน้ อยกว่า 5 คน จะพบว่าสตรี มีภาวะ
โลหิตจางขณะตังครรภ์
้
• ในด้ านรายได้ พบว่า
– ผูท้ ี ม่ ี รายได้สูง มี โอกาสเกิ ดภาวะโลหิ ตจางในขณะตัง้ ครรภ์ นอ้ ยกว่าผูม้ ี
รายได้ต่า โดยพบว่า
• อัตราการเกิดโลหิตจางในขณะตังครรภ์
้
คิดเป็ น 40.54% ของกลุม่ ที่มีรายได้ สงู
• ในขณะที่ 89 จาก 96 คนของมารดาที่มีภาวะโลหิตจางขณะตังครรภ์
้
เป็ นผู้ที่มี
รายได้ ต่า
กรอบแนวคิดการวิจยั
พฤติกรรม การเจ็บป่ วย
ศก.ครัวเรือน การตั้งครรภ์ สมาชีก
ครอบครัว
แนวโน้ มปัญหา
FACTOR
ตัวแปรอิสระ
ผลิตภัณฑ์ มวลรวมภายในประเทศ
-GDP 5 ปี ย้ อนหลัง (2541 -2545)
พฤติกรรม การเจ็บป่ วย
ศก.ครัวเรื อน การตั้งครรภ์ สมาชีก
ครอบครัว
ตัวแปรตาม
statistics
FACTOR
สุขภาพของแม่ และเด็ก
 ภาวะโลหิตจางในหญิงตัง้
ครรภ์
 นา้ หนักเด็กแรกคลอด
 ภาวะทุโภชนาการ
ระเบียบวิธีการวิจัย
• ประชากรกลุ่มตัวอย่ าง
• หญิงที่มีการตัง้ ครรภ์ ในช่ วงที่ศึกษา
• รูปแบบการวิจัย
• Retrospective descriptive trend study
• เครื่องมือการวิจัย
•
•
•
•
•
ตารางการเก็บข้ อมูลที่สร้ างและพัฒนาขึ ้นเอง***
แบบสารวจ
เครื่ องบันทึกเสียง
บทสัมภาษณ์
โปรแกรมทางสถิติสาหรับการวิเคราะห์ผล
• วิธีการเก็บข้ อมูล
• .เก็บข้ อมูลในช่วง พ.ศ. 2541-2545 จากโรงพยาบาลพุทธชินราช จังหวัด
พิษณุโลก
ผลการวิจัย
ตารางที่ 1 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างภาวะโลหิตจางในสตรี ตงครรภ์
ั้
ที่มาฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลพุทธชินราช ในช่วงปี พ.ศ. 2541 – 2545
YEAR*
2541
2542
2543
2544
2545
ANEMIA (case )** ANC( case)*** percent ( % )**** GDP /100*****
826
13354
6.19
2749.684
511
12757
4.01
2871.521
351
13005
2.7
3004.659
364
309
12992
14025
2.8
2.2
3058.7
3202.5
กราฟที่ 1 แสดงค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2541 – 2545
330 0000
320 0000
310 0000
300 0000
Value GDP
290 0000
280 0000
270 0000
254 1.00
YEAR
254 2.00
254 3.00
254 4.00
254 5.00
กราฟที่ 2 แสดงอุบตั ิการณ์ของภาวะโลหิตจางในสตรี ตงครรภ์
ั้
ที่มาฝากครรภ์
PERCENT
Aalu
7
6
5
4
3
2
1
2541
2542
2543
2544
2545
YEAR
กราฟที่ 3 แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง GDP กับอุบตั ิการของภาวะโลหิตจางในสตรี ตงครรภ์
ั้
7
6
5
PERCENT
4
3
2
270 0000
GDP
280 0000
290 0000
300 0000
310 0000
320 0000
330 0000
• ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของตัวอย่าง (r ) มีคา่ เป็ น -0.93 แสดงถึง
ว่า ตัวแปรทังสองมี
้
ความสัมพันธ์ในทิศทางผกผันกัน
• ทดสอบโดยใช้ pair-t-test ที่ระดับความเชื่อมัน่ 95% (p=0.022)
แสดงว่ายอมรับ H1
• ภาวะโลหิตจางในสตรี ตงครรภ์
ั้
สัมพันธ์ กบั ค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมใน
ประเทศ อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ
Y = -8.55*10-6X+ 29.042
ผลการสัมภาษณ์ เชิงลึก
•
•
•
•
ภาวะเศรษฐกิจมีผลต่ อสุขภาพหรือไม่
มีความคิดเห็นตรงกันว่า ภาวะเศรษฐกิจมีผลต่อภาวะสุขภาพ
ผู้ป่วยมีความวิตกกังวล รายได้ ไม่เพียงพอสาหรับครอบครัว
“ ถ้ าเศรษฐกิจดี สุขภาพจะดีขึ ้น”
• ระบบบริการสาธารณสุขกับผู้ป่วยเป็ นอย่ างไร
• การให้ บริการสาธารณสุขดีขึ ้นกว่าแต่ก่อน
• การให้ บริการของโรงพยาบาลพุทธดีขึ ้น ทังการพู
้
ดจา การต้ อนรับ
ดีขึ ้นกว่าแต่ก่อน แต่ก่อนบางคนก็กลัว ไม่กล้ าไปฝากท้ อง กลัว
หมอ
สรุ ปผลการศึกษา
• ค่า GDP ของประเทศมีมลู ค่าเพิ่มขึ ้น ซึง่ บ่งบอกถึงภาวะเศรษฐกิจ
ที่มีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ ้น
• ส่วนอุบตั ิการของภาวะโลหิตจางในช่วงดังกล่าว มีแนวโน้ มลดลง
• ทดสอบทางสถิติด้วยค่า t- test
• ตัวแปรทังสองมี
้
ความสัมพันธ์กนั อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ ( p =
0.022 )
• การสัมภาษณ์เชิงลึกในกลุม่ ศึกษาที่มีภาวะโลหิตจาง สนับสนุนว่า
ภาวะเศรษฐกิจมีผลต่อครอบครัว รวมถึงสุขภาพของสตรี ตงครรภ์
ั้
ด้ วย
วิจารณ์ ผลการวิจัย
• อาจมีตัวชีว้ ัดทางเศรษฐกิจอื่น ๆ ที่สามารถบ่ งบอกภาวะทาง
เศรษฐกิจได้ ดีกว่ า GDP
• ปั จจัยที่มีผลต่ อภาวะโลหิตจางมีหลายปั จจัยและมีความ
ซับซ้ อน
• การศึกษาเชิงคุณภาพโดยสัมภาษณ์ โดยสัมภาษณ์ เชิงลึก ใช้
กลุ่มที่ศึกษาน้ อยราย และมีความลาเอียงในการเลือกกลุ่ม
ศึกษา
• มีสตรีตงั ้ ครรภ์ บางส่ วนไปฝากครรภ์ ท่ อี ่ นื นอกจาก ร.พ.พุทธ
ชินราช ซึ่งอาจเป็ นข้ อมูลที่มีความสาคัญกับการแปรผล
ข้ อเสนอแนะ
• ควรใช้ ดัชนีชีว้ ัดทางเศรษฐกิจตัวอื่น ๆ ด้ วยในการศึกษา
• ควรมีการควบคุมปั จจัยที่เกี่ยวข้ องในกลุ่มที่ศึกษาและมี
Control group เพื่อเปรียบเทียบผล
• การศึกษาเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์ เชิงลึกควรมีความ
หลากหลายเพื่อเพิ่มความน่ าเชื่อถือของข้ อมูล
• การศึกษานีบ้ อกได้ เพียงความสัมพันธ์ แต่ ไม่ สามารถบอกได้
ว่ าเป็ นสาเหตุ
• การศึกษาต่ อไปควรทาเป็ น Case control study เพื่อบอกการ
เป็ นปั จจัยเสี่ยงของโรค
กิตติกรรมประกาศ
• งานวิจยั ครัง้ นี ้ดาเนินไปด้ วยความสะดวกและสามารถสาเร็จลุลว่ ง
ได้ ด้วยดี ด้ วยความร่วมมือช่วยเหลือ และอานวยความสะดวก
จากหลาย ๆ ฝ่ าย คณะผู้วิจยั ขอขอบพระคุณ
• รองศาสตราจารย์นายแพทย์ศภุ สิทธิ์ พรรณารุโณทัย
• อาจารย์นายแพทย์พินิจ ฟ้าอานวยผล
• สานักงานสาธารณสุขจังหวัด , สาธารณสุขอาเภอ , เทศบาลเมือง
พิษณุโลก , ศูนย์สขุ ภาพชุมชน
• บุรุษไปรษณีย์และเจ้ าหน้ าที่เก็บค่าไฟฟ้า
• ผู้ให้ ความร่วมมือในการสัมภาษณ์
เอกสารอ้ างอิง
• 1.ธีระ ทองสง และจตุพล ศรี สมบูรณ์ . ภาวะแทรกซ้ อนทาง
อายุรศาสตร์ ในสตรีตงั ้ ครรภ์ . พี.บี. ฟอ เรนบุ๊คเซนเตอร์ : 2540
(312-314)
• 2. วิโรจน์ วรรณภิระ . แนวทางการดูแลสตรีตงั ้ ครรภ์ : 2544
(132-134)
• 3. พานทอง ฆารชม . การศึกษาสถานะสุขภาขของมารดาที่มา
ฝากครรภ์ ในโรงพยาบาลกาฬสินธุ์โดยใช้ เครื่องมือชีว้ ัดแผน 8
. วารสาร รพ.ร้ อยเอ็ด รพ.กาฬสินธุ์ รพ.มหาสารคาม , 2543;21:4052
• 4. http//www.who.ch
• 5. http//www.tfrc.go.th