ภาพนิ่ง 1

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1

ฉบับที่ 5 แบบติดตามความพร้ อมของ
โรงเรียนในการรับการประเมิน
คุณภาพภายนอก
ดร.ไพเราะ มีบางยาง
(ร่ าง) ตัวบ่ งชี้และเกณฑ์ การประเมิน :
1.สาหรับทุกสั งกัด ทุกประเภททีจ่ ัดการศึกษา
ระดับประถม-มัธยม
2. ข้ อมูลทีใ่ ช้ ในการพิจารณา
2.1 หลักฐานจากสถานศึกษา หลักฐานเชิงประจักษ์
และหลักฐานจากผู้ทมี่ ีส่วนเกีย่ วข้ อง
2.2 ทุกตัวบ่ งชี้ใช้ ข้อมูล 3 ปี ย้ อนหลังคิดคะแนนเฉลีย่
โดยใช้ ทศนิยมสองตาแหน่ ง
(ร่ าง) ตัวบ่ งชี้และเกณฑ์ การประเมิน : ประกอบด้ วย
7 ด้ าน
1. ด้ านคุณภาพศิษย์
2. ด้ านคุณภาพครู/อาจารย์
3. ด้ านการบริหารและธรรมาภิบาลของสถานศึกษา
4. ด้ านความสั มพันธ์ กบั ชุมชน/สั งคม
5. ด้ านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม
6. ด้ านอัตลักษณ์ /เอกลักษณ์
7. ด้ านมาตรการส่ งเสริม
20 ตัวบ่ งชี้
ตัวบ่ งชี้ที่ 1-4
ตัวบ่ งชี้ที่ 5-8
ตัวบ่ งชี้ที่ 9-12
ตัวบ่ งชี้ที่ 13-14
ตัวบ่ งชี้ที่ 15-16
ตัวบ่ งชี้ที่ 17-18
ตัวบ่ งชี้ที่ 19-20
ด้ าน
1.ด้ านคุณ
ภาพศิษย์
ตัวบ่ งชี้
1.ผู้เรียนเป็ นคนดี
2.ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตาม
หลักสู ตร
3.ผู้เรียนมีความสามารถในการคิด
4.ผู้เรียนมีทกั ษะชีวติ
ด้ าน
ตัวบ่ งชี้
2.ด้ านคุณภาพครู / 5 ครู / อาจารย์ เป็ นคนดี มีความสามารถ
6 ครู /อาจารย์ สร้ างสรรค์ ห้องเรียน/
อาจารย์
แหล่ งเรียนรู้ คุณภาพ
7 ครู /อาจารย์ มผี ลงานที่นาไปใช้
ประโยชน์
8 ครู /อาจารย์ ได้ รับการเพิม่ พูนความรู้ /
ประสบการณ์
ด้ าน
3.ด้ านการบริหาร
และธรรมาภิบาล
ของสถานศึกษา
ตัวบ่ งชี้
9 การดาเนินงานของคณะกรรมการ
สถานศึกษา/คณะกรรมการบริหารของ
โรงเรียน
10 การดาเนินงานของผู้อานวยการ
11 การบริหารความเสี่ ยง
12 การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน
ด้ าน
ตัวบ่ งชี้
4.ด้ านความ
13 การให้ ความร่ วมมือทีส่ ่ งผลต่ อ
สั มพันธ์ กบั ชุมชน/ ชุมชน/สั งคม
14 การให้ ความร่ วมมือกับชุมชน/
สั งคม
สั งคมทีส่ ่ งผลต่ อสถานศึกษา
5.ด้ านการทานุบารุง 15 การส่ งเสริมสนับสนุนศิลปะและ
ศิลปะและ
วัฒนธรรม
16 การพัฒนาสุ นทรียภาพ
วัฒนธรรม
ด้ าน
ตัวบ่ งชี้
6.ด้ านอัตลักษณ์ / 17 อัตลักษณ์ ผ้ ูเรียน
18 เอกลักษณ์ สถานศึกษา
เอกลักษณ์
7.ด้ านมาตรการ
ส่ งเสริม
19 มาตรการส่ งเสริม (ภายใน
สถานศึกษา)
20 มาตรการส่ งเสริม (ภายนอก
สถานศึกษา)
ฉบับที่ 5 แบบติดตามความ
พร้ อมของโรงเรียนในการรับการ
ประเมินคุณภาพภายนอก
ลาดับ ประเด็นติดตาม สมศ
1 ครู สร้ างสรรค์
ห้ องเรียน/แหล่ ง
เรียนรู้ คุณภาพ
ประเด็นการพิจารณา
-ห้ องเรียนมีบรรยากาศที่เอือ้ ต่ อการ
เรียนรู้
-แหล่ งเรียนรู้ ทที่ มี่ ีคุณภาพเหมาะกับ
บริบทของโรงเรียน ( เช่ น ห้ องสมุด
ห้ องปฎิบัตกิ าร ห้ องโสตทัศนศึกษา
สวนพฤกษศาสตร์ ต้ นไม้ พูดได้ เรือน
เพาะชา ฯลฯ)
-ครู จดั การเรียนการสอนโดยมีแผนการ
จัดการเรียนรู้ ใช้ สื่อ/แหล่ งเรียนรู้
ลาดับ ประเด็นติดตาม สมศ
ประเด็นการพิจารณา
2 ครู มผี ลงานทีน่ าไปใช้ - ครู ทุกคนมีคู่มอื /สื่ อการสอน/
ประโยชน์
งานวิจัย/เครื่องมือเพือ่ ใช้ ในการ
จัดการเรียนการสอน
ลาดับ ประเด็นติดตาม สมศ
ประเด็นการพิจารณา
3 ครู ได้ รับการเพิม่ พูน - ครู ทุกคนได้ รับการพัฒนาสอดคล้ องกับ
ความรู้ /ประสบการณ์ วิชาทีส่ อนพร้ อมสรุปเป็ นรายงานเสนอต่ อ
ผู้บังคับบัญชาระหว่ างเปิ ดภาคเรียน 50 ชม.
- ครู ทุกคนได้ รับการพัฒนาสอดคล้ องกับ
วิชาทีส่ อน พร้ อมสรุ ปเป็ นรายงานเสนอ
ต่ อผู้บังคับบัญชาระหว่ างปิ ดภาคเรียน 50
ชม.
ลาดับ ประเด็นติดตาม สมศ
ประเด็นการพิจารณา
4 การดาเนินงานของ - มีการประชุม ไม่ น้อยกว่ า 4 ครั้ง/ปี
คณะกรรมการ
และกรรมการแต่ ละท่ านเข้ าร่ วมประชุม
สถานศึกษา
ไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ 70 ของจานวนครั้งที่
จัดประชุม
ลาดับ ประเด็นติดตาม สมศ
ประเด็นการพิจารณา
5 การดาเนินงานของ - คณะกรรมการสถานศึกษา
ผู้อานวยการ
ดาเนินการประเมินผลการ
ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้ าทีข่ อง
ผู้อานวยการ
ลาดับ ประเด็นติดตาม สมศ
ประเด็นการพิจารณา
6 การบริหารความเสี่ ยง - มีการระบุและจัดอันดับความเสี่ ยง
ภายใน/นอก ทั้งเชิงปริมาณและเชิง
คุณภาพ อย่ างน้ อย 5 ลาดับ
- มีการกาหนดกลยุทธ์ และเป้าหมายใน
การบริหารความเสี่ ยง
- มีการประเมินโอกาสในการเกิด
เหตุการณ์ ความเสี่ ยง
ประเด็น
ลาดับ
ประเด็นการพิจารณา
ติดตาม สมศ
- มีการกกาหนดวิธีการ มาตรการ กลไก
6
(ต่ อ)
การควบคุมไม่ ให้ เกิด และลดความเสี่ ยง
ให้ น้อยลง
- มีการกากับ ติดตาม ประเมินผลการ
บริหารความเสี่ ยง และรายงานต่ อ
คณะกรรมการที่เกีย่ วข้ อง
ลาดั ประเด็นติดตาม
ประเด็นการพิจารณา
บ
สมศ
7 การพัฒนาบุคลากร - มีบุคลากรสายสนับสนุนอย่ างน้ อย
สายสนับสนุน
1 คน
- บุคลากรสายสนับสนุนได้ รับการ
พัฒนาตรงกับงานทีเ่ กีย่ วข้ องและมี
การประเมินผลการปฏิบัตงิ าน
ประเด็นติดตาม
ลาดับ
ประเด็นการพิจารณา
สมศ
8 การให้ ความร่ วมมือ -การมีส่วนร่ วมในกิจกรรมชุมชน
ทีส่ ่ งผลต่ อชุมชน/ สั งคม มีความต่ อเนื่องในการ
สั งคม
ดาเนินงานไม่ น้อยกว่ า 3 ปี
ลาดับ ประเด็นติดตาม สมศ
ประเด็นการพิจารณา
9 การให้ ความร่ วมมือกับ - การนาความรู้ ประสบการณ์ ทเี่ กิดจาก
ชุมชน/สั งคมทีส่ ่ งผลต่ อ กิจกรรมความร่ วมมือกับชุมชน มาใช้
สถานศึกษา
ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
ลาดับ ประเด็นติดตาม สมศ
ประเด็นการพิจารณา
10 อัตลักษณ์ ผ้ ูเรียน -มีการกาหนดตัวบ่ งชี้ และระดับ
ความสาเร็จของเป้ าหมายไม่ น้อยกว่ า
ร้ อยละ 80
-มีผลการประเมินผู้เรียนทีป่ รากฏ
อัตลักษณ์ ชัดเจน
ลาดับ ประเด็นติดตาม สมศ
ประเด็นการพิจารณา
11 เอกลักษณ์ สถานศึกษา - มีการกาหนดตัวบ่ งชี้ และระดับ
ความสาเร็จของเป้ าหมาย
- มีผลการประเมินตามเอกลักษณ์ ที่
สถานศึกษากาหนด
ลาดับ ประเด็นติดตาม สมศ
12
ประเด็นการพิจารณา
-มีการกาหนดทักษะที่จาเป็ นในการ
มาตรการส่ งเสริม ดารงชีวติ ในศตวรรษที่ 21 ของ
ภายในสถานศึกษา โรงเรียน
-มีโครงการ/กิจกรรม/งาน ทีส่ ่ งเสริม
ทักษะในการดารงชีวติ
-มีผลการประเมินทักษะทีจ่ าเป็ นใน
การดารงชีวติ ของผู้เรียน
ลาดับ ประเด็นติดตาม สมศ
ประเด็นการพิจารณา
- มีความร่ วมมือ และ/หรือช่ วยเหลือชุ มชน
13 มาตรการส่ งเสริม
ภายนอกสถานศึกษา สั งคม รอบสถานศึกษา
- มีการกาหนดตัวบ่ งชี้ และระดับความสาเร็จ
ของเป้าหมาย
- มีแนวปฏิบัติและกระบวนการที่ชัดเจนและ
ต่ อเนื่อง
- มีผลการประเมินการแก้ปัญหาทีม่ ี
สั มฤทธิผลตรงตามความต้ องการของชุมชน
• ลงชื่อ................................................................ประธานกรรมการ
(.........................................................................)
• ลงชื่อ................................................................กรรมการ
(.........................................................................)
• ลงชื่อ................................................................กรรมการและเลขานุการ
(.........................................................................)
ดร.ไพเราะ มีบางยาง
การศึกษาในศตวรรษที่ 21 (184)
•เป็ นการจัดการศึกษาตลอดชีวิต(Life
Long Learning) ภายใต้สี่เสา
หลัก(The Four Pillars of
Education)
ดร.ไพเราะ มีบางยาง
คุณลักษณะคุณภาพผู้เรียนทีเ่ ป็ นสากล
• 1. Learning to know : หมายถึง
การเรียนเพือ่ ให้ มคี วามรู้ ในสิ่ งต่าง ๆ ได้ แก่
การรู้ จกั การแสวงหาความรู้ การต่ อยอด
ความรู้ ทมี่ อี ยู่ และรวมทั้งการสร้ างความรู้
ขึน้ ใหม่
ดร.ไพเราะ มีบางยาง
คุณลักษณะคุณภาพผู้เรียนทีเ่ ป็ นสากล
• 2. Learning to do : หมายถึง
การเรียนเพือ่ การปฏิบัติหรือลงมือทา ซึ่ง
นาไปสู่ การประกอบอาชีพจากความรู้ ทไี่ ด้
ศึกษามา รวมทั้งการปฏิบัติเพือ่ สร้ าง
ประโยชน์ ให้ สังคม
ดร.ไพเราะ มีบางยาง
คุณลักษณะคุณภาพผู้เรียนทีเ่ ป็ นสากล
• 3. Learning to live
together : หมายถึง การเรียนรู้ เพือ่
การดาเนินชีวติ อยู่ร่วมกับคนอืน่ ได้ อย่ างมี
ความสุ ข ทั้งการดาเนินชีวติ ในการเรียน
ครอบครัว สั งคม และการทางาน
ดร.ไพเราะ มีบางยาง
คุณลักษณะคุณภาพผู้เรียนทีเ่ ป็ นสากล
ค.ศ.2023
4. Learning to be : หมายถึง การ
เรียนรู้ เพือ่ ให้ รู้ จกั ตัวเอง รู้ ถงึ ศักยภาพความ
ถนัด ความสนใจ และสามารถใช้ ความรู้
ความสามารถของตนเองให้ เกิดประโยชน์ ต่อ
สั งคม
ดร.ไพเราะ มีบางยาง
ผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
(21st Century Student Outcomes)
หัวข้ อเรื่องในศตวรรษที่ 21:
• ภาษาอังกฤษ การอ่ าน หรือศิลปะการใช้ ภาษา • ความตระหนักเกีย่ วกับโลก (Global
วิชาหลัก (Core Subjects) :
(English, reading or language arts)
• ภาษาสากลต่ าง ๆ (World languages)
awareness)
• ศิลปะ (Arts)
• คณิตศาสตร์ (Mathematics)
• เศรษฐศาสตร์ (Economics)
• วิทยาศาสตร์ (Science)
• ภูมศิ าสตร์ (Geography)
• ประวัติศาสตร์ (History)
• การเมือง การปกครอง และหน้ าทีพ่ ลเมือง
(Government and civics)
business and entrepreneurial
literacy)
• ความรู้ เกีย่ วกับการเงิน การคลัง
เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็ น
ผู้ประกอบการ (Financial, economic,
• ความรู้ เรื่องหน้ าทีพ่ ลเมือง (Civic
Literacy)
• ความรู้ เกีย่ วกับสุ ขภาพ (Health Literacy
ดร.ไพเราะ มีบางยาง
ผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
(21st Century Student Outcomes)
1. ทักษะด้ านการเรียนรู้ และนวัตกรรม
(Learning and Innovation Skills):
1.1 ทักษะคิดสร้ างสรรค์ และนวัตกรรม
(Creativity and innovation Skills)
1.2 ทักษะการคิดวิเคราะห์ และการแก้ปัญหา (Critical thinking and
problem solving skills)
1.3 ทักษะการสื่ อสาร และการสร้ างความร่ วมมือ (Communication and
collaboration skills)
ดร.ไพเราะ มีบางยาง
ผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
(21st Century Student Outcomes)
2. ทักษะด้ านข้ อมูลสารสนเทศ สื่ อและเทคโนโลยี
(Information, Media and Technology Skills):
2.1 ความรู้ด้านข้ อมูลสารสนเทศ (Information literacy)
2.2 ความรู้ด้านสื่ อ (Media literacy)
2.3 ความรู้ด้านข้ อมูลข่ าวสาร การสื่ อสาร และเทคโนโลยี (ICT
Information and communication technology
literacy)
ดร.ไพเราะ มีบางยาง
ผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
(21st Century Student Outcomes)
3. ทักษะชีวติ และด้ านการอาชีพ (Life and career skills):
3.1 การรู้ จักการยืดหยุ่นและการปรับตัว (Flexibility and adaptability)
3.2 การชี้แนะ นาเสนอ และการนาตน (Initiative and self-direction)
3.3ทักษะด้ านสั งคม และความร่ วมมือ (Communication and
collaboration skills)
3.4 ทักษะด้ านการผลิตผลงานและความรับผิดชอบ (Productivity &
accountability)
3.5 ทักษะภาวะผู้นา และความรับผิดชอบ (Leadership &
responsibility)
ดร.ไพเราะ มีบางยาง
ระบบสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
(21st Century Education Support Systems)
- ด้ านมาตรฐานและการวัดประเมินผล (Standards and
assessments)
- ด้ านหลักสู ตรและการจัดการเรียนการสอน (Curriculum
and instruction)
- ด้ านการพัฒนาวิชาชีพ (Professional development)
- ด้ านสิ่ งแวดล้ อมในด้ านการเรียนรู้ (Learning
environment)
ดร.ไพเราะ มีบางยาง
คุณภาพของคนไทยในศตวรรษที่ 21
ต้ องได้ รับการศึกษาตามหลักสูตร
แกนกลาง 2551
ดร.ไพเราะ มีบางยาง
คุณภาพของคนไทยในศตวรรษที่ 21 (หน้ า 23)
1. เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้พนื้ ฐานที่ เรียกว่ า 3R’s คือ
- การอ่ านออก (Reading)
- การเขียนได้ (Writing)
- การคิดเลขเป็ น (Arithmetic)
ดร.ไพเราะ มีบางยาง
คุณภาพของคนไทยในศตวรรษที่ 21
2. เพือ่ ให้ ผ้ ูเรียนมีสมรรถนะสาคัญ 5 ประการ (5 Domain)





ความสามารถในการสื่ อสาร
ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแก้ ปัญหา
ความสามารถในการใช้ ทักษะชีวติ
ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี
ดร.ไพเราะ มีบางยาง
คุณภาพของคนไทยในศตวรรษที่ 21
3. เพือ่ ให้ ผู้เรียนมีคุณสมบัติ 7 ประการ ที่เรียกว่ า 7C’s ได้ แก่
3.1 ความรู้ ความเข้ าใจในเนือ้ หาสาระวิชา: Content
Understanding
3.2 ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ :Critical thinking
3.3 ความเข้ าใจวัฒนธรรมทีแ่ ตกต่ าง : Cross-Cultural
Understanding
ดร.ไพเราะ มีบางยาง
คุณภาพของคนไทยในศตวรรษที่ 21
3.4 ทักษะด้ านความร่ วมมือ การทางานเป็ นทีม และภาวะผู้นา
: Collaboration
3.5 ความสามารถในการสื่ อสาร : Communications
3.6 ทักษะด้ านการใช้ คอมพิวเตอร์ :Computing Skill
3.7 ทักษะทางวิชาชีพและการพึง่ พาตนเอง:Career &
Self Reliance
ดร.ไพเราะ มีบางยาง
ดร.ไพเราะ มีบางยาง