Architecture of Decision Support Systems

Download Report

Transcript Architecture of Decision Support Systems

Architecture
of
Decision Support Systems
1
เนือ้ หา
ความหมาย
 ข้ อดีของการพัฒนาสถาปัตยกรรมระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
 สิ่ งทีต
่ ้ องพิจารณาก่อนการพัฒนา
 องค์ ประกอบและการทางาน
 การจัดการข้ อมูล (Data Management)
 การจัดการแบบจาลอง (Model Management)
 การจัดการองค์ ความรู้ (Knowledge Management)
 การจัดการสื่ อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Management)

2
ความหมาย
สถาปั ต ยกรรมระบบสนั บ สนุ น การตั ด สิ น ใจ หมายถึ ง รู ป แบบ
โครงสร้ างและความสั มพันธ์ ของส่ วนประกอบต่ าง ๆ ในระบบสนับสนุน
การตัดสิ นใจ รวมถึงความสั มพันธ์ กบั สิ่ งแวดล้อมภายนอก
3
ข้ อดีของการพัฒนาสถาปัตยกรรมระบบสนับสนุนการ
ตัดสิ นใจ
เพิม่ ประสิ ทธิภาพการทางานร่ วมกันขององค์กร
 สามารถนาสารสนเทศต่ างๆ ไปใช้ งานได้ ง่าย และสะดวกขึน
้
 อืน
่ ๆ

4
สิ่ งที่ต้องพิจารณาก่ อนการพัฒนา
แผนแม่ บทขององค์กร
 การตัดสิ นใจของผู้บริหารระดับต่ าง ๆ ประกอบด้ วย การตัดสิ นใจระดับ
กลยุทธ์ ระดับเทคนิค และระดับปฏิบัติการ
 การตัดสิ นใจแก้ ปัญหาลักษณะต่ าง ๆ ประกอบด้ วย ปัญหาแบบมี
โครงสร้ าง ไม่ มีโครงสร้ าง และกึง่ โครงสร้ าง

5
องค์ ประกอบและการทางาน (1/4)
สถาปัตยกรรมของระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
ความต้ องการของผู้ใช้ งานระบบ
ฮาร์ ดแวร์ ซอฟต์ แวร์ และระบบเครือข่ ายทีเ่ หมาะสม
พัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
6
องค์ ประกอบและการทางาน (2/4)
โปรแกรมเมอร์
ผู้ใช้
ข้ อมูลจากภายนอกองค์ กร
ระบบเครือข่ ายและการสื่ อสารข้ อมูล
ฮาร์ ดแวร์ และระบบปฏิบตั ิการ
การจัดการสื่ อประสานกับผู้ใช้
ส่ วนสอบถามข้ อมูล
เครื่องมือพัฒนาแบบจาลอง
ส่ วนการจัดการแบบจาลอง
ฐานแบบจาลอง
ส่ วนการจัดการข้ อมูล
ฐานข้ อมูล
แนวคิดของสถาปัตยกรรมระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจและการทางาน
7
องค์ ประกอบและการทางาน (3/4)
ระบบสารสนเทศชนิดอืน่ ๆ
ส่ วนการจัดการข้ อมูล
ฐานข้ อมูลภายใน/
ภายนอก
ส่ วนการจัดการแบบจาลอง
ส่ วนจัดการองค์ ความรู้
ส่ วนจัดการสื่ อประสานกับผู้ใช้
ผู้บริหาร (ผู้ใช้ /ผู้ตัดสิ นใจ)
องค์ ประกอบของสถาปัตยกรรมระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ ทีม่ สี ่ วนจัดการองค์ ความรู8 ้
องค์ ประกอบและการทางาน (4/4)

ส่ วนการจัดการข้ อมูล (Data Management)
 ฐานข้ อมูล, ระบบจัดการฐานข้ อมูล, ส่ วนสอบถามข้ อมูล, สารบัญข้ อมูล,
กลัน่ กรองข้ อมูล

ส่ วน
ส่ วนการจัดการแบบจาลอง (Model Management)
 ฐานแบบจาลอง, ระบบจัดการฐานแบบจาลอง, สารบัญแบบจาลอง,
แบบจาลองการทางาน

ส่ วนการจัดการสื่ อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Management)
 ระบบจัดการสื่ อประสานกับผู้ใช้ , ส่ วนประมวลผลภาษาธรรมชาติ, หน่ วย
ประมวลผล, หน่ วยป้ อนข้ อมูลเข้ า

ส่ วนการจัดการองค์ ความรู้ (Knowledge Management)
9
เครื่องมือในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
ฮาร์ ดแวร์
 ระบบปฏิบัติการ
 ระบบเครือข่ ายและการสื่ อสาร
 ซอฟต์ แวร์ ต่าง ๆ
 เครื่องมือพัฒนาแบบจาลอง

10
สิ่ งแวดล้ อมของระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
ผู้ใช้
 โปรแกรมเมอร์
 ข้ อมูลจากภายนอกระบบ

11
การจัดการข้ อมูล (Data Management) (1/5)
เป็ นส่ วนทีใ่ ช้ ในการจัดการข้ อมูลทั้งหมดที่ได้ รับมาจากแหล่ งข้ อมูล
ทั้งภายในและนอกองค์ กร โดยที่ข้อมูลอาจอยู่ในรู ป ตัวเลข ตัวหนังสื อ
กราฟิ ก หรื อข้ อมูลเสี ยงก็ได้ แต่ ข้อมูลเหล่ านั้นต้ องมีความเกี่ยวข้ องกับ
การตัดสิ นใจ
ส่ วนการจัดการข้ อมูล เพือ่ เข้ าสู่ ฐานข้ อมูลให้ สามารถนาข้ อมูลไปใช้
งานได้ เรี ยกว่ า “ระบบจัดการฐานข้ อมูล (Database Management
System: DBMS)”
12
แหล่งข้ อมูลภายใน
องค์กร
แหล่งข้ อมูลภายนอก
องค์กร
ฝ่ ายการเงิน
ฐานความรู้ของ
องค์กร
ฝ่ ายการตลาด
ฝ่ ายการผลิต
ส่ วนกลัน่ กรองข้ อมูล
ส่ วนสอบถามข้ อมูล
สารบัญข้ อมูล
โครงสร้ างของส่ วนจัดการข้ อมูล
(เฉพาะส่ วนทีแ่ รเงา)
ฐานข้ อมูลระบบสนับสนุน
การตัดสินใจ
ระบบจัดการฐานข้ อมูล
-สื บค้นข้อมูล
-สอบถามข้อมูล
-ปรับปรุ งข้อมูล
-สร้างรายงาน
-ลบข้อมูล
ฝ่ ายบุคคล
ฝ่ ายอืน่ ๆ
แหล่งข้ อมูลส่ วนบุคคล
คลังข้ อมูลขององค์กร
ส่ วนการจัดการสื่อประสานกับผู้ใช้
ส่ วนการจัดการแบบจาลอง
ส่ วนการจัดการองค์ความรู้
การจัดการข้ อมูล (Data Management) (3/5)

ฐานข้ อมูล (Database)
คือ การนาข้ อมูลที่มีความสั มพันธ์ กันมาจัดเก็บไว้ ด้วยกัน ทาให้ ผ้ ูใช้ หลาย ๆ
คนในองค์ ก รสามารถใช้ ง านฐานข้ อ มู ล ร่ ว มกั น ได้ โดยที่ ฐ านข้ อ มู ล ของระบบ
สนับสนุนการตัดสิ นใจจะจัดเก็บข้ อมูลตั้งแต่ อดีต จนถึงปัจจุบัน โดยไม่ มีการลบ
หรื อแทนที่ข้อมูล เป็ นเหตุให้ ฐานข้ อมูลนี้จะมีขนาดใหญ่ กว่ าฐานข้ อมูลปกติ ซึ่ ง
ข้ อมูลที่จัดเก็บอาจรวมกับระบบงานหลักขององค์ กรได้ แต่ จะนามาใช้ งานได้ ยาก
เนื่องจากมีเมื่อมีการประมวลผลระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ จะทาให้ ระบบงาน
ทั้งหมดช้ าลง ดังนั้นฐานข้ อมูลนี้เหมาะสมที่จะแยกออกจากระบบงานหลัก และ
ต้ องคอยปรับปรุ งข้ อมูลให้ มคี วามทันสมัยอยู่เสมอ
14
การจัดการข้ อมูล (Data Management) (4/5)

ระบบจัดการฐานข้ อมูล (Database Management System: DBMS)
คือระบบที่พัฒนาขึน้ เพื่ออานวยความสะดวกต่ อผู้ใช้ ฐานข้ อมูล ในการสร้ าง
ปรับปรุ ง เรียกใช้ ข้อมูลในฐานข้ อมูล และรักษาความปลอดภัยของข้ อมูล

สารบัญข้ อมูล (Data Directory)
คือ ส่ วนที่จัดเก็บรายชื่ อ และคาจากัดความของข้ อมูลทั้งหมดในฐานข้ อมูล เพื่อใช้
ตอบค าถามต่ า งๆ ที่ ผ้ ู ใ ช้ ต้ อ งการ ซึ่ ง เหมาะส าหรั บ ใช้ สนั บ สนุ น กระบวนการ
ตัดสิ นใจในขั้นตอนการใช้ ความคิด (Intelligence Phase) ของมนุษย์
15
การจัดการข้ อมูล (Data Management) (5/5)

ส่ วนสอบถามข้ อมูล (Query Facility)
คือ ส่ วนช่ วยในการสอบถามและค้ นหาข้ อมูลตามเงื่อนไขที่ต้องการ โดยจะ
ตอบสนองการร้ องขอจากส่ วนประกอบของระบบสนับสนุ นการตัดสิ นใจ ต้ องมี
ความง่ ายต่ อการใช้ งาน ไม่ ซับซ้ อน สามารถค้ นหาข้ อมูลได้ อย่ างถูกต้ องรวดเร็ว

ส่ วนกลัน่ กรองข้ อมูล (Extraction)
คือ ส่ วนทีท่ าหน้ าทีใ่ นการคัดเลือกข้ อมูลที่มีประโยชน์ ต่อการตัดสิ นใจทั้งจาก
ภายในและภายนอกองค์ กร เพื่อนามาจัดเก็บลงในฐานข้ อมูลระบบสนับสนุนการ
ตัดสิ นใจ โดยทาการคัดเลือกและกลัน่ กรองข้ อมูลตามมาตรฐานทีก่ าหนดไว้
16
การจัดการแบบจาลอง (Model Management) (1/4)
เป็ นส่ วนที่ใช้ ควบคุมการทางานของแบบจาลอง และช่ วยคัดเลือก
แบบจ าลองที่ เ หมาะสมส าหรั บ ใช้ วิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล เพื่ อ ประกอบการ
ตั ด สิ น ใจ เช่ น แบบจ าลองทางการเงิ น สถิ ติ วิ ท ยาการจั ด การ และ
แบบจาลองเชิงปริมาณ เป็ นต้ น โดยจัดเก็บแบบจาลองไว้ ที่
“ฐาน
แบบจาลอง”
โดยที่ ค วามสามารถในการจั ด การ วิ เ คราะห์ ค้ น หา คั ด เลื อ ก
แ บ บ จ า ล อ ง ใ ห้ เห ม า ะส ม กั บ ก า ร ใ ช้ ง า น ข อ ง ผู้ ใ ช้ ข ณ ะนั้ น คื อ
“ระบบจัดการฐานแบบจาลอง”
17
ฐานแบบจาลอง
-เชิงกลยุทธ์ กลวิธี เชิงปฏิบตั ิ สาเร็จรู ป
-เชิงสถิติ การเงิน การตลาด การจัดการ
-แบบแผนการสร้างแบบจาลอง
ระบบจัดการฐานแบบจาลอง
-คาสัง่ การสร้างแบบจาลอง
-การปรับปรุ งแบบจาลอง
-ติดต่อประสานงานกับฐานข้อมูล
-ภาษาที่ใช้จดั การแบบจาลอง
ส่ วนการจัดการ
ข้ อมูล
ส่ วนการจัดการ
สื่ อประสานผู้ใช้
สารบัญแบบจาลอง
การดาเนินการกับแบบจาลอง
-การทางานร่ วมกัน
-การประมวลผลคาสัง่
-การประสาน ฯลฯ
ส่ วนการจัดการ
องค์ ความรู้
โครงสร้ างการทางานของส่ วนการจัดการแบบจาลอง
18
การจัดการแบบจาลอง (Model Management) (3/4)

ฐานแบบจาลอง (Model Base)
คือแหล่ งรวบรวมแบบจาลองชนิดต่ าง ๆ เพือ่ ใช้ วเิ คราะห์ ข้อมูลในระบบ
สนับสนุนการตัดสิ นใจได้ เช่ น แบบจาลองทางสถิติ การเงิน การจัดการ และเชิง
ปริมาณ เป็ นต้ น แบ่ งตามวัตถุประสงค์ การนาไปใช้ งาน เป็ น 4 กลุ่ม ดังนี้
 แบบจาลองการตัดสิ นใจเชิ งกลยุทธ์ (Strategic Model)
 แบบจาลองการตัดสิ นใจทางเทคนิควิธี (Tactical Model)
 แบบจาลองการตัดสิ นใจเชิ งปฏิบัติการ (Operational Model)
 แบบจาลองสาเร็จรู ป (Model Building Block)
19
การจัดการแบบจาลอง (Model Management) (4/4)
ระบบจัดการฐานแบบจาลอง (Model Base Management System)
 ภาษาทีใ่ ช้ ในการสร้ างแบบจาลอง (Modeling Language)
 สารบัญแบบจาลอง (Model Directory)
 การดาเนินการกับแบบจาลอง

 การใช้ งานแบบจาลอง (Model Execution)
 การใช้ งานร่ วมกันของแบบจาลอง (Model Integration)
 การประมวลผลแบบจาลอง (Command Processor)
20
การจัดการองค์ ความรู้ (Knowledge Management) (1/4)
เป็ นส่ วนประกอบของระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจที่มีขนาดใหญ่
รองรั บกับปั ญหาที่มีความซั บซ้ อนสู ง เป็ นปั ญหาแบบไม่ มีโครงสร้ าง
หรื อ กึ่งโครงสร้ าง กล่ าวคือ ปัญหาที่ผู้ตัดสิ นใจ ไม่ มีข้อมูล องค์ ความรู้
และประสบการณ์ เพียงพอต่ อการแก้ ไขปั ญหานั้น จาเป็ นต้ องมี ระบบ
จัดการองค์ ความรู้เป็ นส่ วนประกอบของระบบ
21
การจัดการองค์ ความรู้ (Knowledge Management) (2/4)
ตรวจสอบองค์ ความรู้
(Knowledge Validation)
แหล่ งองค์ ความรู้
(Expert & Etc.)
ดึงองค์ ความรู้
(Knowledge Acquisition)
ฐานองค์ ความรู้
(Knowledge Base)
การอธิบาย
(Explanation/Justification)
การวินิจฉัย/สรุ ปความ
(Inferencing)
Encoding
จัดรู ปแบบองค์ ความรู้
(Knowledge Representation)
การนาเข้ าฐานองค์ ความรู้
การใช้ งานฐานองค์ ความรู้
โครงสร้ างของส่ วนการจัดการองค์ ความรู้
22
การจัดการองค์ ความรู้ (Knowledge Management) (3/4)

แหล่งองค์ ความรู้
เช่ น ผู้เชี่ยวชาญหรือจากแหล่ งอืน่ ๆ

การดึงองค์ ความรู้ (Knowledge Acquisition)
คือ ส่ วนทีท่ าหน้ าทีร่ วบรวมองค์ ความรู้ จากแหล่ งองค์ ความรู้ การนาองค์
ความรู้ จากแหล่ งองค์ ความรู้ มาแปลงและจัดเก็บในรู ปแบบทีค่ อมพิวเตอร์ สามารถ
เข้ าใจได้

การจัดรูปแบบองค์ ความรู้ (Knowledge Representation)
คือ ส่ วนทีท่ าหน้ าทีจ่ ัดรู ปแบบองค์ ความรู้ ทรี่ ะบบสามารถเข้ าใจได้ อาจเป็ น
การเข้ ารหัส (Encoding) เป็ นสั ญลักษณ์ ต่าง ๆ เพือ่ การประมวลผล ไปเก็บไว้ ในฐาน
องค์ ความรู้ ทีจ่ ะต้ องมีการตรวจสอบองค์ ความรู้
23
การจัดการองค์ ความรู้ (Knowledge Management) (4/4)

การตรวจสอบองค์ ความรู้ (Knowledge Validation)
คือ ส่ วนทีท่ าหน้ าทีต่ รวจสอบองค์ ความรู้ ก่อนการจัดเก็บไว้ ในฐานองค์
ความรู้

การสรุปความ (Inferencing)
คือ ส่ วนทีท่ าให้ ผ้ ใู ช้ สามารถเข้ าใจแนวทางหรือคาตอบทีร่ ะบบส่ งให้ กบั ผู้ใช้

การอธิบาย (Explanation/Justification)
คือ ส่ วนทีท่ าหน้ าทีอ่ ธิบายความของแนวทาง หรือคาตอบ เมือ่ ผู้ใช้ เรียกใช้
งานระบบ
24
การจัดการสื่ อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Management)
(1/3)
เป็ นส่ วนที่ทาหน้ าที่โต้ ตอบกับผู้ใช้ (Dialog Management) เพื่อ
ติดต่ อสื่ อสารกับอุปกรณ์ Hardware, Software และจัดการงานด้ านต่ าง
ๆ ด้ วยระบบจัดการส่ วนประสานกับผู้ใช้ (User Interface Management
System: UIMS) ทาให้ ผู้ใช้ สามารถใช้ งานระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
ได้ ง่ายขึน้
25
โครงสร้ างการทางานของส่ วนการจัดการสื่ อประสานกับผู้ใช้
ส่ วนการจัดการข้ อมูลและ
ระบบจัดการฐานข้ อมูล
ส่ วนการจัดการองค์ความรู้
และระบบจัดการ
ฐานองค์ความรู้
ส่ วนการจัดการแบบจาลอง
และระบบจัดการ
ฐานแบบจาลอง
ระบบจัดการสื่อประสานกับผู้ใช้
(UIMS)
สื่อประมวลผลภาษาธรรมชาติ
เทอร์ มินอล
Input
Output
การทางานของ
ภาษาธรรมชาติ
แสดงผล
ภาษาธรรมชาติ
เครื่องพิมพ์
ผู้ใช้
26
การจัดการสื่ อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Management)
(3/3)
หน่ วยประมวลผลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processor) ทา
หน้ าทีแ่ ปลงภาษามนุษย์ ให้ เป็ นภาษาทีเ่ ครื่องเข้ าใจได้
 การประมวลผลภาษามนุษย์ (Natural Language Processing: NLP)

27
Reference

กิติ ภักดีวฒ
ั นะกุล, คัมภีร์ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ และระบบ
ผู้เชี่ยวชาญ. กรุงเทพฯ: เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์ , 2546
28