ข : ระบบอนุญาตทำงาน

Download Report

Transcript ข : ระบบอนุญาตทำงาน

ระบบการอนุญาตทางาน
ประกอบด้ วยเรื่อง
1.
2.
3.
4.
แนวคิดเกี่ยวกับระบบการอนุญาตทางาน
ประเภทของการอนุญาตเข้าทางาน
วิธีการปฏิบตั ิงานและขั้นตอนการขออนุญาตทางาน
ระบบล็อคและระบบป้ ายทะเบียน
ประโยชน์ ของระบบอนุญาต
การบริ หารจัดการระบบอนุญาตจะต้องปรับปรุ งให้เหมาะสมกับงานแต่ละประเภท
ระดับความเสี่ ยง และความสลับซับซ้อนของงานที่ทา
ตัวอย่างเช่น โรงกลัน่ และโรงงานสารเคมี สถานประกอบกิจการเหล่านี้มีความเสี่ ยง
อยูใ่ นระดับสู ง หากต้องมีการบารุ งรักษาในสภาวะไม่ปกติ
จาเป็ นต้องทาภายใต้ระบบการอนุญาต ตัวอย่างกิจกรรมที่จาเป็ นต้องพัฒนาระบบ
ความปลอดภัยของการทางาน จากประสบการณ์พบว่า
จะต้องมีการควบคุมอย่างดี ด้วยระบบการอนุญาตที่มีประสิ ทธิ ภาพ ตัวอย่างต่อไปนี้
อาจไม่ตอ้ งนาไปใช้ทุกรายการ
เรื่องที่ 1 แนวคิดเกีย่ วกับระบบการอนุญาตทางาน
เครื่ องป้ องกันอันตรายทั้งหลาย ไม่วา่ จะเป็ นอุปกรณ์เพื่อป้ องกันอันตรายจากเครื่ องจักร
หรื อ โรงงานที่มีการจัดสภาพการทางานที่ตอ้ งสัมผัสกับสารเคมีอนั ตรายหรื อสารไวไฟ
ให้อยูภ่ ายในบริ เวณที่จากัด ฯลฯ เครื่ องป้ องกันอันตรายเหล่านี้
สามารถป้ องกันได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพในระหว่างการผลิตปกติ แต่เครื่ องป้ องกันอันตราย
อาจจะถูกนาออกไปเมื่อมีการซ่อมแซม การบารุ งรักษา
หรื อการทาความสะอาด ภายใต้สภาวการณ์เช่นนี้ จาเป็ นอย่างยิง่ จะต้องมีการบริ หาร
จัดการที่ดี เพื่อชี้บ่งอันตรายที่เกี่ยวข้อง
และพัฒนาระบบความปลอดภัยของงานนั้นๆ ด้วยวิธีการประเมินอันตรายหรื อการควบคุม
ระบบที่ทาขึ้นต้องคานึงถึงการควบคุมอันตราย
ที่อาจจะเกิดขึ้นในระหว่างงานซ่อมแซมฉุ กเฉิ นเท่าๆ กับงานบารุ งรักษาประจาวัน
และการทางานของพนักงานแต่ละกลุ่มมีความสัมพันธ์กนั
เช่น ฝ่ ายผลิตกับฝ่ ายซ่อมบารุ ง
ได้มีการควบคุมไว้อย่างปลอดภัย
การซ่อมแซมและการบารุ งรักษาเครื่ องจักร ขณะที่พนักงานทางานซ่อมบารุ ง
อาจจะทาให้อยูใ่ นอันตรายหากเครื่ องจักรกลับทางานโดยไม่ได้ต้งั ใจ
ดังนั้น จาเป็ นต้องมีหลักประกันว่าได้ตดั สิ่ งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทางานของ
เครื่ องจักรก่อนเริ่ มการทางานซ่อมบารุ ง
ผูป้ ฏิบตั ิงานทุกคนจะถอดเครื่ องป้ องกันอันตรายสาหรับเครื่ องจักรออก และจะต้องติด
เครื่ องป้ องกันอันตรายทั้งหมดกลับเข้าที่เดิมหลังงานซ่อมบารุ งเสร็ จทุกครั้ง เช่น มี
การแยกการทางานออกไปด้วยการล็อคและปลดป้ ายออก (Lock out/Tag out)
เรื่องที่ 2 ประเภทของการอนุญาตเข้ าทางาน
1. ประเภทการอนญ
ุ าตเข้ าทางาน สามารถแบ่งออกได้เป็ น 3 ประเภท คือ
1. การอนุญาตทางานที่ก่อให้เกิดประกายไฟหรื องานที่ตอ้ งใช้ความร้อน
(How work permit) ได้แก่ งานเชื่อม งานตัด งานเจียร เป็ นต้น
เมื่อมีการทางานเหล่านี้ในสถานที่ที่มีเชื้อเพลิง สารไวไฟ หรื อวัตถุระเบิด
นาไปสู่ การเกิดเพลิงไหม้และระเบิดได้
2. การอนุญาตทางานที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ (Cold work permit)
ได้แก่ งานขุดดิน
งานเจาะ งานทาสี งานติดตั้งประกอบนัง่ ร้าน เป็ นต้น
3. การอนุญาตเข้าทางานในที่อบั อากาศ (Confined space work permit)
ที่อบั อากาศตามนิยามกฎหมายความปลอดภัยของกรมสวัสดิการและคุม้ ครอง
แรงงาน ทีอ่ ับอากาศ หมายถึง ที่ซ่ ึ งมีทางเข้าออกและมีการระบายอากาศไม่เพียง
พอที่จะทาให้อากาศภายในอยูใ่ นสภาพถูกสุ ขลักษณะและปลอดภัย เช่น อุโมงค์
ถ้ า บ่อ หลุม ห้องใต้ดิน ห้องนิรภัย ถังน้ าล้น ถังหมัก ถัง ไซโล ท่อ เตา
ภาชนะหรื อสิ่ งอื่นที่มีลกั ษณะคล้ายกัน
2. ใบอนุญาตเข้ าทางานคืออะไร
ใบอนุญาตเข้าทางานเป็ นเอกสารสาคัญในการผ่านเข้าทางาน กาหนดเขตพื้นที่ หรื อ
สถานที่เข้าดาเนินการ อันตรายที่อาจเกิดระหว่างการทางาน โดยมีมาตรการในการ
ตรวจสอบควบคุมป้ องกัน
อันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับผูป้ ฏิบตั ิงาน และใช้เป็ นระบบการสื่ อสารกันระหว่างบุคคล
ในสถานประกอบกิจการตามหน้าที่รับผิดชอบ
เกี่ยวกับระบบการขออนุญาตทางาน
การขออนุญาตเพือ่ เข้ าทางานในแต่ ละพืน้ ทีห่ รืองาน ควรจะมีประเด็นต่ างๆ ดังนี้
- ผูร้ ่ วมงานที่ทราบข้อมูลอย่างพอเพียง ข้อแนะนา การอบรม และหัวหน้าที่สามารถลด
ความผิดพลาดที่เกิดจากคน (Potential human failed) ระหว่างการปฏิบตั ิงานตามระบบการ
อนุญาตทางาน
- ระบบอนุญาตทางานมีขอ้ มูลความปลอดภัยพอเพียง ข้อแนะนาการซ่อมบารุ ง การ
เลือกอุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่ วนบุคคล และอุปกรณ์ที่ตอ้ งใช้อย่างถูกต้องปลอดภัย
-ใบอนุญาตมีขอ้ มูลเพียงพอ เหมาะสมกับชนิดของงานที่ตอ้ งการ เช่น การเคลื่อนย้าย
อุปกรณ์ การขุด งานที่ก่อให้เกิดประกายไฟ งานที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ การซ่อม การเข้าถัง
(Vessel entry)
การกาจัดขยะ (Waste disposal) การแยก
- ผูป้ ฏิบตั ิงานที่ทาหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมงานซ่อมบารุ งเป็ นผูก้ าหนดตาม
ระบบการอนุญาตทางาน และงานที่ทาโดยผูท้ ี่มีหน้า
ที่รับผิดชอบโดยตรงอย่างเหมาะสม
-
ระบบการอนุญาตทางาน มีการจัดการ การตรวจสอบเป็ นระยะๆ และทบทวน
-
มีการเก็บใบอนุญาตทางานทุกใบเข้าแฟ้ มไว้
-
ปัจจัยมนุษย์ (ความเครี ยด ความเมื่อยล้า การทางานกะ ทัศนคติ)
ข้อควรระวังของการขออนุญาตทางาน (การตัดแยก การช่วย การล้าง
การเฝ้ าระวังสภาพแวดล้อม การประเมินความเสี่ ยง การสื่ อสาร การกาหนดเวลาการทางาน)
ผูร้ ่ วมงานทราบเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมในระหว่างการทางานที่ได้รับการอนุญาต
ให้เข้าไปทา(สารไวไฟ การกัดกร่ อน การระเบิด โซน 0, 1และ 2 พลังงานไฟฟ้ าที่ป้อน)
พนักงานที่ทางานฝ่ ายผลิต ทราบชนิดของการซ่อมบารุ งที่เกี่ยวข้อง และระยะ
เวลาที่ตอ้ งทางานนั้นระบบการอนุญาตทางานเกี่ยวข้องกับกระบวนการปกติ การบารุ งรักษา
โรงงาน หรื ออุปกรณ์จาเป็ นต้องแจ้งไปที่การผลิตให้ทราบ
3. หลักการจัดการของระบบการขออนุญาตทางาน
คือระบบควบคุมตรวจสอบระหว่างผูอ้ นุญาตให้เข้าทางานกับผูข้ ออนุญาตเข้า
ปฏิบตั ิงาน และ/หรื อผูท้ ี่คอยช่วยเหลือเพื่อความปลอดภัยของผูป้ ฏิบตั ิงาน ผูท้ ี่เกี่ยวข้อง
ทั้งหมดจะต้องเป็ นผูท้ ี่ผา่ นการอบรม และมีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการขออนุญาต
ทางานเป็ นอย่างดีเข้าใจบทบาทหน้าที่ในขั้นตอนการปฏิบตั ิและดาเนินการตรวจสอบต่างๆที่
เกี่ยวข้องตามใบอนุญาตเข้าทางาน รายละเอียดดังต่อไปนี้
3.1 ผูเ้ กี่ยวข้องในใบอนุญาตทางาน
ระบบการอนุญาตทางาน มีการกาหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของบุคคลที่มี
หน้าที่เกี่ยวข้องขององค์กร หน้าที่ความรับผิดชอบในระบบการอนุญาตทางานมีความแตก
ต่างกันออกไป
ทั้งนี้ข้ ึนกับสายการบังคับบัญชาตามกระบวนการผลิตและความเหมาะสมของแต่ละ
โรงงาน หากผูม้ ีหน้าที่รับผิดชอบในระบบการอนุญาตทางานในที่อบั อากาศตาม
ที่องค์กรมอบหมาย ต้องมีความสอดคล้องกับกฎกระทรวงฉบับที่ 2 พ.ศ. 2547 ดังนี้
 ผูอ้ นุญาต
 ผูข้ ออนุญาตเข้าปฏิบตั ิงาน (ผูค้ วบคุมงาน)
 ผูป้ ฏิบตั ิงาน
 ผูค้ อยเฝ้ าระวังภัยและช่วยเหลือ
3.2 สถานที่ทางานที่ตอ้ งพิจารณาขอใบอนุญาตทางาน
เนื่องจากสถานที่ทางานเป็ นสถานที่ที่มีการทางานไม่เป็ นงานประจา โดยเฉพาะ
อย่างยิง่ สถานที่ที่มีสภาพการณ์ที่ไม่ปกติ มีบริ เวณคับแคบหรื อจากัด มีการระบายอากาศไม่ดีพอ
มีปริ มาณก๊าซออกซิ เจนในบรรยากาศไม่เพียงพอต่อการหายใจ หรื อสถานที่น้ นั มีอนั ตรายจาก
สารเคมี สารพิษ สารไวไฟ หรื ออื่นๆ สะสมอยู่ ได้แก่สถานที่ดงั ต่อไปนี้
 การทางานในถังเก็บผลิตภัณฑ์ เช่น งานเชื่อม งานติดตั้งนัง่ ร้าน เป็ นต้น
 การทางานในแท็งก์เก็บสารเคมี
 การทางานในท่อระบายน้ า
 การทางานในภาชนะบรรจุวตั ถุดิบ
 การทางานในหลุม/ บ่อที่ลึก
 การทางานในเตาปฏิกิริยา
 การทางานในอุโมงค์/ ถ้ า
 การทางานในไซโลเก็บผลิตภัณฑ์
สถานที่เหล่านี้เป็ นสถานที่ที่อบั อากาศ ทาให้ผทู ้ ี่จะเข้าไปปฏิบตั ิงานมีความเสี่ ยงต่อการ
เสี ยชีวติ ได้ง่ายเนื่องจากการขาดอากาศ หรื อการหายใจเอาก๊าซพิษเข้าไป นอกจากนี้ยงั
มีภยั จากการระเบิดและอัคคีภยั อีกด้วย ดังนั้นการทางานในที่อบั อากาศ หัวหน้างาน
หรื อผูค้ วบคุมงานและผูท้ ี่เกี่ยวข้อง จึงควรให้ความสนใจเป็ นพิเศษ ต้องกาหนด
มาตรการด้านความปลอดภัยในการทางานในที่อบั อากาศ
3.3 ประเภทของงานอันตราย
ในกระบวนการผลิตหรื อในเขตพื้นที่โรงงานที่มีสถานที่ทางานที่มีอตั ราการเสี่ ยงต่อ
อันตรายสู ง และมีผลกระทบต่อผูป้ ฏิบตั ิที่จะเข้าไปปฏิบตั ิงาน หากเกิดอุบตั ิเหตุหรื อเหตุการณ์ที่
ผิดปกติที่ก่อให้เกิดกระทบต่อกระบวนการผลิต และความสู ญเสี ยต่อร่ างกายหรื อชีวิต สถาน
ประกอบกิจการหรื อโรงงานอุตสาหกรรม จาเป็ นอย่างยิง่ ในการกาหนดลักษณะงานที่มีอตั รา
เสี่ ยงต่ออันตราย เมื่อมีกิจกรรมหรื อ
มีภารกิจที่ตอ้ งเข้าไปปฏิบตั ิงาน โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเข้าไปทางานในที่อบั
อากาศ ต้องพิจารณาประกอบกับการขอใบอนุญาตทางาน ซึ่ งลักษณะงานที่อนั ตรายอาจ
แบ่ง ได้ดงั นี้
 งานที่มีสารตกค้าง เช่น บริ เวณที่มีสารเคมี สารพิษและไฮโดรคาร์ บอนที่มีค่าความ
เข้มข้นเกินมาตรฐานที่กาหนดตามกฎกระทรวง
 งานที่มีบรรยากาศอันตราย เช่น มีปริ มาณออกซิ เจนต่ากว่าหรื อมากกว่าเกณฑ์ที่กาหนด
 งานที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีซ่ ึ งมีสภาพเป็ นของเหลว ของแข็ง ก๊าซ ไอระเหย ฝุ่ น และ
สารผสมที่ใช้ละลาย
 งานที่เกี่ยวข้องกับสารกัมมันตภาพรังสี
 งานที่ก่อให้เกิดความร้อนหรื อประกายไฟ ในบริ เวณที่เก็บสารไวไฟและวัตถุการ
เกิดระเบิดที่มีปริ มาณที่อาจทาให้ติดไฟหรื อระเบิดได้
 งานที่เกี่ยวข้องกับระบบไฟฟ้ าในที่อบั อากาศ
 งานที่เกี่ยวข้องกับระบบเครื่ องจักรกลในที่อบั อากาศ
 งานที่เกี่ยวข้องกับการติดตั้งประกอบนัง่ ร้านในที่อบั อากาศ
 งานที่เกี่ยวข้องกับงานก่อสร้าง
 งานที่เข้าตรวจสอบ แก้ไข ซ่อมบารุ งสภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับที่อบั
อากาศ
3.4 ส่ วนประกอบพื้นฐานของใบขออนุญาตทางาน
ใบขออนุญาตทางานที่ดี ควรประกอบด้วยข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ ที่ชดั เจน ทา
ให้ ผูท้ ี่เกี่ยวข้องสามารถอ่านและเข้าใจได้ง่าย สาหรับใบอนุญาตเข้าทางานในที่อบั อากาศ
อย่างน้อยต้อง มีการกาหนดเป็ นไปตามกฎกระทรวง กาหนดมาตรฐานในการบริ หารและการ
จัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ในที่อบั อากาศ พ.ศ.
2547 หมวดที่ 3 การอนุญาตข้อที่ 19 ซึ่ งใบขออนุญาตตามกฎกระทรวงมีรายละเอียด ดังนี้
 ที่อบั อากาศที่อนุญาตให้ลกู จ้างเข้าไปทางาน
 วัน เวลา ในการทางาน
 งานที่ให้ลกู จ้างเข้าไปทา
 ชื่อลูกจ้างที่อนุญาตให้เข้าไปทางาน
 ชื่อผูค้ วบคุมงาน
 ชื่อผูช้ ่วยเหลือ
 มาตรการความปลอดภัยที่เตรี ยมไว้ก่อนการให้ลกู จ้างเข้าไปทางาน
 ผลการตรวจสอบสภาพอากาศและสภาวะที่อาจเกิดอันตราย
 อุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่ วนบุคคลและอุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิต
 อันตรายที่ลกู จ้างอาจได้รับในกรณี ฉุกเฉิ นและวิธีการหลีกหนีภยั
 ชื่อ และลายมือชื่อผูข้ ออนุญาตและชื่อและลายมือชื่อผูม้ ีหน้าที่รับผิดชอบในการ
อนุญาต
 หนังสื ออนุญาตอื่นๆ ที่จาเป็ นสาหรับงานนั้นๆ
 รายการบันทึกการผ่านเข้า-ออกในที่อบั อากาศ
3.5 ประโยชน์ของใบอนุญาตทางาน
เอกสารใบขออนุญาตทางานเป็ นการประกันความปลอดภัย ให้มีการควบคุมอันตราย
ต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นระหว่างปฏิบตั ิงาน และลดความเสี่ ยงต่อการเกิดอุบตั ิเหตุหรื อการบาดเจ็บ
เจ็บป่ วยจากการทางานจากการทางานตามใบอนุญาตเข้าทางานในขณะที่มีการทางานอื่ นๆ เป็ น
ปกติ ทั้งนี้ตอ้ งได้รับความร่ วมมือจากผูเ้ กี่ยวข้องด้วย ดังนั้นประโยชน์ของใบอนุญาตทางานมี
ดังนี้
1. ป้ องกันความผิดพลาดในการตัดแยกระบบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
2. กาหนดขั้นตอนการทางานของผูท้ ี่เกี่ยวข้อง ในแต่ละขั้นตอนได้อย่างชัดเจน
3. ให้ความมัน่ ใจที่ปลอดภัยต่อผูป้ ฏิบตั ิงาน
4. ป้ องกันการเกิดไฟไหม้ อันตรายและอุบตั ิเหตุที่จะเกิดแก่ผปู ้ ฏิบตั ิงาน
5. มีการกาหนดหน้าที่ และความรับผิดชอบของผูท้ ี่เกี่ยวข้องไว้อย่างชัดเจน
6. ป้ องกันบุคคลภายนอกที่จะก่อให้เกิดความเสี ยหายต่อส่ วนรวม
7. เป็ นการส่ งข้อมูลและข่าวสารให้ผทู ้ ี่เกี่ยวข้องได้ทราบ
8. มีการชี้บ่งอันตรายและมีมาตรการควบคุมตรวจสอบความปลอดภัยทั้งก่อนเริ่ มงาน
ขณะปฏิบตั ิงาน และหลังจากสิ้ นสุ ดการทางาน
ตัวอย่างหนังสื ออนุญาตให้ลูกจ้างทางานในที่อบั อากาศ ตามกฎกระทรวงกาหนด
มาตรฐานในการบริ หารและการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่ งแวดล้อมในการ
ทางานในที่อบั อากาศ พ.ศ. 2547 หมวดที่ 3 ข้อที่ 19
3.6 อันตรายแฝงที่ร้ายแรง อาจเกิดขึ้น
- ใช้ใบอนุญาตการทางานผิดประเภท
- ข้อมูลไม่ถกู ต้องเกี่ยวกับงานที่ตอ้ งทาตามใบอนุญาตทางาน
- การคาดผิดพลาดเกี่ยวกับอันตรายแฝงภายหลังได้มีการทางานไปแล้ว เช่น วัตถุไวไฟ
- การแนะนาแหล่งก่อให้เกิดประกายไฟในพื้นที่ควบคุมการก่อให้เกิดไฟ เช่น งาน
เชื่อม อุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ การใช้อุปกรณ์เฉพาะสาหรับโซนที่กาหนดไว้เพื่อความ
ปลอดภัย
- ทีมงานไม่ยดึ เกี่ยวกับ เช่น ความบกพร่ องการแยกโรงงาน และ/หรื อ แนวถ่ายสาร
อันตรายทิ้ง
- ความผิดพลาด Hand-over plant ในกรณี ปลอดภัยด้วยความชานาญการอนุญาตหรื อ
การยกเลิก การอนุญาตทางานนั้น
- ผูท้ ี่ไม่มีหน้าที่ตามใบอนุญาตเข้าทางาน
- ระบบการอนุญาตที่การบริ หารจัดการที่ไม่ดี
- การเฝ้ าระวังของระบบการอนุญาตทางานไม่เหมาะสม
เรื่องที่ 3 วิธีการปฏิบัติงานและขั้นตอนการขออนุญาตทางาน
แบ่งขั้นตอนการขออนุญาตเข้าทางานไว้เป็ น 3 ขั้นตอน คือ ก่อนเริ่ มปฏิบตั ิงาน ระหว่าง
การปฏิบตั ิงาน และสิ้ นสุ ดการทางาน ในแต่ละขั้นตอนนั้นมีรายละเอียด ดังนี้
1. ก่อนเริ่ มปฏิบตั ิงาน
ผูข้ ออนุญาตเข้าปฏิบตั ิงานจะต้องจัดเตรี ยมใบอนุญาตทางานแนบกับใบรายละเอียด
ของงานที่กรอกข้อความโดยผูข้ ออนุญาต ข้อความที่กรอกลงในใบรายละเอียดของงาน ควร
ประกอบด้วยข้อมูล ดังต่อไปนี้
1) ชื่อและนามสกุล ตาแหน่งงาน ของผูข้ ออนุญาต
2) รายละเอียดของงานที่จะทา เช่น งานอะไร ทาที่เครื่ องจักร อุปกรณ์ตวั ไหน
3) รายละเอียดสถานที่ทางาน โดยระบุให้ชดั เจนว่ามีบริ เวณการทางานเท่าใด
4) เครื่ องมือและอุปกรณ์ช่วยในการทางานที่ตอ้ งใช้
5) ระยะเวลาที่จะใช้ในการทางานจนแล้วเสร็ จ
6) จานวนแรงงานรวมทั้งผูค้ วบคุมงาน
7) รายชื่อผูท้ ี่ทาหน้าที่คอยเฝ้ าระวังและช่วยเหลือ
8) เครื่ องมือและอุปกรณ์สาหรับช่วยเหลือในกรณี ฉุกเฉิ นที่ตอ้ งใช้
9) วิธีการปฏิบตั ิกรณี เกิดเหตุฉุกเฉิ น
10) ระบบการระบายอากาศรวมถึงอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับระบายอากาศ
ผูอ้ นุญาต จะพิจาณารายละเอียดของงานร่ วมกับผูท้ ี่เกี่ยวข้องของหน่วยงานต่างๆ เพื่อพิจารณา
รายละเอียดของงานที่จะทาว่าเป็ นงานประเภทใด ลักษณะความเป็ นอันตรายแบบไหน และมี
ความเสี่ ยงอยูใ่ นระดับใด จะต้องระบุลงไปในใบขออนุญาตเข้าทางาน เมื่อผูอ้ นุญาตได้พิจารณา
แบ่งแยกประเภทของงานหรื ออันตรายแล้ว จึงระบุลกั ษณะงานอันตรายลงไปในใบขออนุญาต
เข้าทางาน เพื่อที่จะดาเนินการควบคุมและตรวจสอบด้านความปลอดภัยตามลักษณะอันตรายที่
ได้ช้ ีบ่งมาจากขั้นต้น จากนั้นผูอ้ นุญาตจะต้องทาการตรวจสอบมาตรการด้านความปลอดภัย
ต่างๆ ดังต่อไปนี้
 การเตรี ยมการด้านการตัดแยกระบบ (lsolation) ในกรณี ที่อบั อากาศ ต้องมีการ
ระบายอากาศ
 ตรวจสอบเครื่ องมือไฟฟ้ าและเครื่ องมือกล รวมถึงอุปกรณ์ต่างๆ ให้มีสภาพพร้อม
ทางาน
 การจัดเตรี ยมอุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่ วนบุคคล
 การเตรี ยมพร้อมของอุปกรณ์ดบั เพลิง
 การจัดเตรี ยม Stand by man
 การเตรี ยมใบอนุญาตต่างๆ การเข้าไปทางาน บางครั้งอาจต้องขอใบอนุญาต
ทางานอื่นร่ วมด้วย เช่น ใบอนุญาตงานติดตั้งประกอบนัง่ ร้าน หรื อใบอนุญาตทางานที่มีความ
ร้อนหรื อประกายไฟ เป็ นต้น
 ตรวจสอบความปลดอภัยในพื้นที่การทางานร่ วมกับผูข้ ออนุญาต จนแน่ใจแล้วว่า
ไม่มีอนั ตรายใดๆ หลงเหลือหรื อตกค้างอยูใ่ นที่อบั อากาศ
 การเตรี ยมแผนผังแสดงระบบต่างๆ ในกระบวนการผลิต เช่น ท่อก๊าซใต้ดิน ท่อน้ า
ดับเพลิง ฯลฯ
 การเตรี ยมอุปกรณ์สาหรับตรวจวัดและประเมินสภาพบรรยากาศ และบันทึกผล
 ป้ ายเตือนอันตราย และปิ ดกั้นพื้นที่
 ออกใบอนุญาตทางานแล้ว ให้นาสาเนาเอกสารไปติดแสดงไว้ที่บริ เวณหน้า
งานที่ได้รับอนุญาต
การขออนุญาตเข้าทางานในที่อบั อากาศส่ วนมากต้องใช้เวลาอย่างน้อย 1 วันก่อนเริ่ มงาน
เพื่อให้แต่ละฝ่ ายที่เกี่ยวข้องมีเวลาเตรี ยมการต่างๆ ให้ครบถ้วนเสี ยก่อน ในการตัดแยกระบบและ
นาแหล่งอันตรายที่มีอยูใ่ นที่อบั กาศออกจากพื้นที่ทางานจนหมด รวมถึงต้องดาเนินการ
ตรวจสอบควบคุม จนมัน่ ใจแล้วว่าในที่อบั อากาศนั้นมีสภาพที่ปลอดภัย
เมื่อผูข้ ออนุญาตได้รับใบขออนุญาตทางานจากผูม้ ีอานาจอนุญาต แล้วมอบ
ให้หวั หน้างานหรื อผูค้ วบคุมงานเป็ นผูถ้ ือใบอนุญาตทางานเพื่อใช้นาทีมงานเข้าสู่
เขตโรงงานไปสถานที่ทางานที่เป็ นที่อบั อากาศ ก่อนเริ่ มงานหัวหน้างานหรื อผู้
ควบคุมงานต้องนาใบอนุญาตทางานไปติดแสดงไว้ที่หน้างานให้เห็นอย่างชัดเจน
และต้องสอนงานเพื่อความปลอดภัย (Safety talk) กับผูท้ ี่จะเข้าไปปฏิบตั ิงานโดย
ทัว่ ถึงกันทุกคน ตามรายละเอียดของงานที่ทาและต้องชี้บ่งอันตรายต่างๆ ที่
เกี่ยวข้องกับงานที่ทา เพื่อให้ผปู ้ ฏิบตั ิงานเกิดความตระหนักและเข้าใจในการสร้าง
ความปลอดภัยในการทางาน การทา safety talks ดังนี้’
 รายละเอียดของงานที่ทาในที่อบั อากาศและลักษณะอันตราย
 มาตรการตรวจสอบและควบคุมด้านความปลอดภัยที่ตอ้ งใช้
 การรักษาความสะอาดและความเป็ นระเบียบ
 อุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่ วนบุคคล
 ข้อปฏิบตั ิในกรณี เกิดเหตุภาวะฉุ กเฉิ น
 การใช้เครื่ องมืออุปกรณ์ที่ถกู ต้องเหมาะสมกับงานที่ได้รับอนุญาตให้เข้าไปทา
2. ระหว่างปฏิบตั ิงาน
ในระหว่างที่มีการปฏิบตั ิงาน ผูท้ ี่ทาหน้าที่หวั หน้างานหรื อผูค้ วบคุมงานและ/หรื อผูช้ ่วย
เหลือดาเนินการตรวจสอบการทางานและความปลอดภัยเป็ นระยะๆ โดยหัวหน้างานหรื อผู้
ควบคุมงานจะต้องปฏิบตั ิดงั นี้
 ควบคุมผูป้ ฏิบตั ิงานให้อยูใ่ นเฉพาะพื้นที่ที่ขออนุญาตเข้าทางานไว้เท่านั้น
 ตรวจสอบระบบการระบายอากาศว่าทางานปกติหรื อไม่


๏ตรวจวัดสภาพอากาศ และบันทึกผลเป็ นระยะๆ และประเมินสภาพอากาศใน
ที่อบั อากาศว่ามีบรรยากาศที่เป็ นอันตรายหรื อไม่
 ตรวจสอบความพร้อมและความเรี ยบร้อยขณะปฏิบตั ิงาน
 ต้องมีการลงรายมือชื่อในบันทึกการผ่านเข้าหรื อออกในที่อบั อากาศ
 ต้องสามารถติดต่อสื่ อสารกันได้ตลอด
 ควบคุมการทางานให้มีความปลอดภัย ทั้งผูท้ ี่ปฏิบตั ิงานและอุปกรณ์ที่ทาอยู่
 ห้ามทางานนอกเหนือจากที่ขอไว้ในหนังสื อขออนุญาตทางาน
 ห้ามบุคคลภายนอก ซึ่ งไม่ได้ทางานในกลุ่มที่รับผิดชอบเข้ามาเกี่ยวข้องเป็ นอันขาด
 เมื่อมีสภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย สามารถสั่งหยุดงานได้
 เมื่อเกิดภาวะฉุ กเฉิ น ต้องสั่งหยุดงานโดยเร็ ว และจัดเก็บอุปกรณ์เครื่ องมือให้เรี ยบร้อย
ก่อนออกจากพื้นที่ทางาน
 ปิ ดกั้นพื้นที่การทางานหรื อนาป้ ายเตือนมาตั้งไว้ “ที่อบั อากาศ อันตราย ห้ามเข้า”
 ควบคุมดูแลให้มีการทาความสะอาดพื้นที่ทางานก่อนเสร็ จงานทุกครั้ง
 ห้ามบุคคลที่อยูใ่ นสภาพมึนเมา หรื อติดยาเสพติด เข้าไปทางานในเขตหวงห้ามโดย
เด็ดขาด
 ควบคุมผูป้ ฏิบตั ิงาน ให้ปฏิบตั ิตามข้อกาหนดด้านความปลอดภัยอย่างเคร่ งครัด
ตัวอย่าง ตารางการตรวจสอบและบันทึกผลสภาพบรรยากาศในที่อบั อากาศระหว่ างปฏิบัติงาน
Test
Results
Oxygen %
% LEL
CO ppm.
H2S ppm.
Benzene ppm.
Hexane ppm.
Other :
Other :
Other :
Date/Time
Date /Time
Date /Time
Date /Time
Date /Time
/
/
/
/
/
Initial
Results
Initial
Results
Initial
Results
Initial
Results
Initial
1. การหมดช่ วงเวลาทางาน (กะ)
2. การขอขยายเวลาทางาน
3. การขอขยายเขตพืน้ ที่ทางาน
4. การหยุดทางานและการเข้ าทางานใหม่
5. การเปลีย่ นแปลงแรงงาน
สาหรับเงื่อนไขในระหว่างการทางานต้องขออนุญาตจากผูม้ ีอานาจอนุญาตทุกครั้ง โดย
หัวหน้างานหรื อผูค้ วบคุมงานจะต้องควบคุมและปฏิบตั ิตามอย่างเคร่ งครัด ดังนี้
 การเปลี่ยนผูป้ ฏิบตั ิงาน ผูป้ ฏิบตั ิงานที่เข้ามาทางานต้องผ่านการสอนงานเพื่อความ ปลอดภัย
โดยหัวหน้างานหรื อผูค้ วบคุมงาน เพื่อให้เข้าใจในมาตรการความปลอดภัยต่างๆ ในการทางาน
3. การสิ้ นสุ ดการทางานและการสั่งหยุดงาน
การสิ้ นสุ ดการทางานตามเงื่อนไขของระบบการอนุญาตทางาน มีดงั นี้
1) การสิ้ นสุ ดงานเนื่องจากการเสร็ จสิ้ นภารกิจ
กาหนดให้ผขู ้ อใบอนุญาตแจ้งต่อผูอ้ นุญาต เพื่อให้ทาการตรวจสอบสภาพอุปกรณ์
และพื้นที่ทางาน หากงานนั้นมีความเรี ยบร้อยสมบูรณ์ รวมถึงการเคลียร์ ความสะอาดด้วยแล้ว ผู้
อนุญาตจึงลงชื่อรับรองสภาพงานในใบขออนุญาตทางาน เพื่อปิ ดการขออนุญาตทางาน แล้วนา
ระบบเข้าสู่ การใช้งานตามปกติ
2) การสิ้ นสุ ดงานเนื่องจากใบอนุญาตทางานหมดอายุ
กาหนดให้ผขู ้ อใบอนุญาตทางานแจ้งต่อผูอ้ นุญาต พร้อมเหตุผลที่งานไม่เสร็ จ ผูม้ ี
อานาจอนุญาตจะยืนยันสภาพงาน และรับรองการหมดอายุของใบอนุญาตทางาน หากต้องมี การ
ทางานต่อ ให้เข้าสู่ ข้ นั ตอนการขออนุญาตใหม่ ตามปกติแล้วอาจมีการขอล่วงหน้าได้ หากผูข้ อ
ใบอนุญาตทางานสามารถประมาณเวลาการทางานได้ จะประหยัดเวลาในขั้นตอนการขอ
ใบอนุญาตทางานใหม่ได้มาก
3) การสิ้ นสุ ดงานเนื่องจากมีปัญหาอื่นหรื อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิ น
ในกรณี น้ ีผขู ้ อใบอนุญาตทางานจะต้องให้เหตุผลไว้กบั ผูอ้ นุญาตและเคลียร์สถานที่
ทางาน กรณี ที่เหตุเกิดขึ้นไม่วา่ จะเป็ นเหตุฉุกเฉิ นหรื อเหตุการณ์ที่ผิดปกติจนเป็ นเหตุให้ตอ้ งหยุด
งาน จะต้องเคลียร์ สถานการณ์ให้เรี ยบร้อยก่อน เมื่อใดก็ตามที่จะเริ่ มทางานใหม่ให้ดาเนินการ
ตามวิธีการปฏิบตั ิในระบบการอนุญาตทางานใหม่ ตามขั้นตอนที่กาหนด ตั้งแต่ตน้ จนจบ โดย
ใบอนุญาตทางานใบเดิม ถือว่าถูกยกเลิกอย่างอัตโนมัติ เนื่องจากสภาพการณ์ในขณะนั้น อาจมี
ความเปลี่ยนแปลงไป หรื ออยูใ่ นสภาพที่เป็ นอันตราย เพื่อความปลอดภัยในการทางาน จึงต้อง
เริ่ มต้นการขออนุญาตใหม่อีกครั้ง
เรื่องที่ 4ระบบล็อคและระบบป้ายทะเบียน (Lockout /Tag out System)
ระบบล็อคและระบบป้ ายทะเบียน เป็ นระบบที่มีความจาเป็ นอย่างยิง่ สาหรับโรงงาน
อุตสาหกรรมประเภทปิ โตรเคมี ก๊าซ และน้ ามัน หรื อโรงงานอื่นๆ ที่มีอุปกรณ์หรื อ
สถานที่ทางานเป็ นที่อบั อากาศ
ซึ่ งอยูใ่ นเขตกระบวนการผลิตและมีอนั ตรายที่ตอ้ ง
สัมผัสกับพลังงานที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้ า หรื อความดันที่เกิดจากความร้อน ความเย็น หรื อ
มีสารเคมีชนิดต่างๆ หลงเหลือตกค้างอยูภ่ ายในที่อบั อากาศที่มีการต่อเชื่อมกับระบบการ
ส่ ง - ถ่ายของเหลวหรื อก๊าซผ่านทางท่อ ซึ่ งต้องอาศัยระบบความดันจากเครื่ องจักรหรื อ
อุปกรณ์ประเภทต่างๆ ที่ทาหน้าที่เป็ นต้นกาเนิ ดของพลังงาน ดังนั้น เพื่อความปลอดภัยจึง
ต้องมีการกาหนดมาตรฐานในการปฏิบตั ิงานของระบบล็อค ระบบป้ ายทะเบียนและ
หลักการตัดแยก เป็ นระบบที่ตอ้ งดาเนินการไปพร้อมๆกัน เพื่อที่จะเสริ มหรื อสร้างความ
มัน่ ใจ ในด้านความปลอดภัยในการทางานในที่อบั อากาศ
ตามข้อกาหนดของมาตรฐานของ OHSA ว่าด้วย หลักในระบบการควบคุมอันตรายจาก
แหล่งพลังงาน ข้อกาหนด 29 CFR 1910.147. กาหนดว่า ผูท้ ี่จะเข้าไปปฏิบตั ิงานในที่อบั อากาศ
ต้องมีระบบการควบคุมอันตรายจากแหล่งกาเนิ ด หลังจากชี้บ่งอันตรายและประเมินสภาพงาน
อันตรายที่มีความเสี่ ยง หรื อเป็ นสาเหตุที่อาจก่อให้เกิดอันตรายกับผูป้ ฏิบตั ิงานระหว่างการ
ตรวจสอบหรื อซ่อมบารุ งเครื่ องจักรอุปกรณ์ ดังนั้น ระบบทั้งสามระบบจึงเป็ นหลักในการ
ควบคุมอันตรายที่อาจเกิดกับผูป้ ฏิบตั ิงานในที่อบั อากาศได้
•ระบบล็อคและระบบป้ ายทะเบียน (LOCK OUT/TAGOUT SYSTEM)
เมื่อจาเป็ นต้องมีการตัดแยกแหล่งพลังงานที่มีอยู่ หรื อตัดแยกเครื่ องจักรอุปกรณ์
ไฟฟ้ าต่างๆ
ก่อนเริ่ มไปปฏิบตั ิงานหรื อเข้าภายในที่อบั อากาศ โดยมีอุปกรณ์หรื อระบบหลักๆ เช่น
วงจรไฟฟ้ าเบรกเกอรสวิทซ์ ปั๊ ม วาล์ว เป็ นต้น เพื่อสร้างความมัน่ ใจหรื ออนุญาตให้
ผูป้ ฏิบตั ิงานเข้าไปปฏิบตั ิงานได้อย่างปลอดภัย ดังรายละเอียดต่อไปนี้
1.1 ระบบล็อค (Lock out) คือ กระบวนการตัดแยกอุปกรณ์ที่เป็ นต้นกาเนิด
ของแหล่งพลังงาน โดยใช้วสั ดุหรื ออุปกรณ์ที่ถกู ออกแบบมาสาหรับเป็ นตัวล็อค เพื่อ
นาไปล็อคที่ตวั อุปกรณ์ตน้ กาเนิ ดพลังงานหรื ออยูใ่ นกระบวนการผลิต หลังจากถูกตัด
แยกออกจากระบบการทางานปกติแล้ว จนกระทัง่ กระบวนการต่างๆ ในการ
ซ่อมแซม แก้ไขหรื อตรวจสอบดาเนินการเสร็ จแล้ว หรื อมีความต้องการทดสอบ
ระบบก่อน จึงจะสามารถนาอุปกรณ์ลอ็ คตัวดังกล่าวปลดออกจากอุปกรณ์ต่างๆ ของ
กระบวนการผลิต เพื่อให้กลับสู่ ภาวะปกติ ซึ่ งอุปกรณ์ของระบบล็อคประกอบด้วย
• Key Locks กุญแจสาหรับล็อคที่ตวั อุปกรณ์ต่างๆ ในกระบวนการผลิต และสาหรับ
ล็อคที่กล่องใส่ ลกู กุญแจที่ลอ็ คติดอยูก่ บั ตัวอุปกรณ์ที่ทาการตัดแยก
• Lock blocks กล่องสาหรับใส่ ลกู กุญแจของกุญแจล็อค
• PINS and HASPS คือ อุปกรณ์ที่ถกู ออกแบบมา เพื่อใช้สาหรับเป็ นตัวล็อค
ที่สามารถล็อคได้ท้ งั ที่ตวั อุปกรณ์ที่ถกู ตัดแยกและตัวกล่องใส่ ลกู กุญแจ
1.2
ระบบป้ ายทะเบียน (Tag out) คือ กระบวนการที่ใช้ในการควบคุม
อันตรายที่อาจเกิดกับตัวผูป้ ฏิบตั ิงาน โดยมีลกั ษณะเป็ นแผ่นป้ ายแสดงข้อความเตือน
อันตราย มีรูปแบบที่แตกต่างกันออกไปตามจุดประสงค์ของการเตือนอันตราย
ป้ ายทะเบียนจะมีรายละเอียดของข้อความเตือนอันตรายตามลักษณะงาน และจะต้อง
กาหนดหมายเลขของแผ่นป้ ายทะเบียนไว้สาหรับบ่งชี้วา่ เกี่ยวข้องกับระบบขออนุญาต
ทางานหมายเลขอะไร ลักษณะงานที่ทา ทาอะไร เช่น ซ่อมหรื อทดสอบ เป็ นต้น เป็ น
อุปกรณ์ชนิดอะไร เช่น เบรกเกอรไฟฟ้ าหรื อ วาล์ว ใครเป็ นผูร้ ับผิดชอบ และอุปกรณ์ตวั
ดังกล่าวอยูบ่ ริ เวณไหน โดยจะแขวนป้ ายทะเบียนไว้ที่ตวั อุปกรณ์คู่กบั กุญแจล็อคเสมอ
2. หลักการปฏิบัติของระบบล็อคและระบบป้ายทะเบียน
2.1 หน้ าที่และความรั บผิดชอบเกี่ยวกับระบบป้ ายทะเบียน
การควบคุมระบบล็อคและระบบป้ ายทะเบียน องค์กรต้องมอบหมายหน้าที่และความ
รับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมระบบล็อคและระบบป้ ายทะเบียน โดยทัว่ ไปเป็ นหน้าที่ของผู้
ควบคุมดูแลกระบวนการผลิต เช่น หัวหน้ากะ หรื อหัวหน้าหน่วย มีหน้าที่และความ
รับผิดชอบ ดังนี้
•
1 ห้ามผูท้ ี่เซ็นชื่อลงบนป้ ายแขวนมอบให้บุคคลอื่นนาป้ ายไปแขวนที่อุปกรณ์
โดยเด็ดขาด
•
2 ผูท้ ี่เซ็นบนป้ ายแขวน จะต้องรับผิดชอบสิ่ งต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับผูป้ ฏิบตั ิงานและ
อุปกรณ์น้ นั ๆ
•
3 ทาการทดสอบระบบการทางานของอุปกรณ์หรื ออุปกรณ์ที่ควบคุมการทางาน
ในระบบนั้นๆ จนแน่ใจเสี ยก่อน
•
4 ทาการตรวจสอบระบบการตัดแยกอุปกรณ์ของอุปกรณ์ หรื ออุปกรณ์ควบคุมของ
ระบบนั้น จนแน่ใจเสี ยก่อนที่จะแขวนป้ ายเตือน
•
5 พิจารณารายละเอียดของ Work Order ว่าเกี่ยวข้องกับอุปกรณ์ตวั ไหนบ้าง แล้วมี
แหล่งจ่ายพลังงานที่ตาแหน่งไหนบ้าง ร่ วมกับผูท้ ี่ทาการขออนุญาต
•
6 ดาเนินการตัดแยกแหล่งพลังงาน แล้วทาการล็อคที่ตวั อุปกรณ์ที่เป็ นแหล่งจ่าย
พลังงานพร้อมทั้งแขวนป้ ายทะเบียนไว้ที่ตวั อุปกรณ์ดงั กล่าว
•
7 นาลูกกุญแจที่ลอ็ คกุญแจที่ตวั อุปกรณ์มาใส่ ไว้ในกล่องเก็บลูกกุญแจ (Lock block)
หลังจากนั้น ให้นากุญแจอีกชุดหนึ่ งมาล็อคที่กล่องใส่ กญ
ุ แจดังกล่าวพร้อมทั้งแขวนป้ ายทะเบียน
ไว้ที่กล่องใส่ กญ
ุ แจ
•
8 นาหมายเลขของป้ ายทะเบียนที่ลอ็ คตัวอุปกรณ์พร้อมทั้งหมายเลขของกล่องใส่
ลูกกุญแจมาเขียนใส่ ลงในแบบฟอร์ มของระบบบันทึกป้ ายทะเบียนตามหมายเลขของ Work
Order
2.2 ประโยชน์ ของระบบป้ ายทะเบียน
1. เพื่อระบุการตัดแยกอุปกรณ์ และอุปกรณ์ควบคุมอย่างมีข้ นั ตอน
2. เพื่อระบุการตัดแยกอุปกรณ์ และอุปกรณ์ควบคุมให้ชดั เจน
3. เพื่อควบคุมระบบการทางานของอุปกรณ์ และอุปกรณ์ควบคุม
4. เพื่อป้ องกันไม่ให้เกิดอันตรายและผลกระทบต่อผูป้ ฏิบตั ิงานและกระบวนการ
ผลิตของโรงงาน
5. เพื่อให้บุคคลภายนอกได้ทราบข้อมู
6. เพื่อให้ความมัน่ ใจในด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัยต่อผูป้ ฏิบตั ิงานใน
ขณะนั้น
2.3 หลักในการควบคุมระบบป้ ายทะเบียน
1. ประเภทป้ ายทะเบียน (TAG) เนื่องจากการปฏิบตั ิงานซ่อมบารุ ง/ติดตั้ง/
ทดสอบหรื อการเดินเครื่ องอุปกรณ์ อาจมีหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แต่ละ
หน่วยงานจะต้องควบคุมสภาพการณ์ทางานเพื่อให้เกิดความปลอดภัย โดย
อุปกรณ์ตอ้ งตัวเดียวกันอาจมี TAG ติดอยูห่ ลายอันก็ได้
ควรกาหนดสี ของ TAG เพื่อให้สามารถแยกแยะสถานภาพของผูท้ ี่เกี่ยวข้องหรื อ
ความหมายของอุปกรณ์ สถานประกอบการอาจจะต้องเป็ นผูท้ ี่กาหนดขึ้นเองเพื่อที่จะใช้สื่อสาร
กันภายในองค์กร ตัวอย่างเช่น
1) TAG สี ขาว สาหรับฝ่ ายปฏิบตั ิการผลิต
2) TAG สี แดง สาหรับฝ่ ายบารุ งรักษา
3) TAG สี ดา สาหรับผูร้ ับเหมา
2. วิธีการใช้ และทะเบียนบันทึก TAG
เมื่อกรอกข้อความครบถ้วนและกาหนด
หมายเลขลงในทะเบียนแล้ว ส่ วนบนจะถูกฉี กออกตามรอยปรุ เพื่อนาไปแขวนไว้ที่อุปกรณ์
ส่ วนล่างจะถูกเก็บเพื่อตรวจสอบกับ TAG ที่นาไปแขวน หลังจากทาการตัดแยกอุปกรณ์
ต่างๆ ออกจากระบบ เพื่อการทาซ่อมบารุ งหรื อตรวจสอบดัดแปลง แก้ไขอุปกรณ์น้ นั ๆ
จะต้องเชื่อมโยงบันทึกทะเบียนให้สอดคล้องกับการขออนุญาตทางานในที่อบั อากาศที่มีการ
ระบุวา่ ต้องทาการตัดแยกอุปกรณ์ต่างๆ ออกจากระบบจะต้องมีการออก TAG ตาม
จานวนที่ระบุในใบอนุญาต เพื่อนาไปแขวนที่ตวั อุปกรณ์ที่ระบุในใบขออนุ ญาตทางาน การ
ออก TAG อาจมีจานวน TAG มาก
ตัวอย่าง : ขั้นตอนการแขวน – ปลดป้ ายทะเบียน (Tag in-tag out procedure)
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ผู้รับผิดชอบ
1.ตัดแยกอุปกรณ์ออกจากระบบกระบวนการผลิต
OPER.
2.แขวน TAG ตรงจุดที่มีการตัดแยก (สี ขาว)
OPER.
3.กรณี ที่จะต้องตัดแยกระบบไฟฟ้ า ให้แขวนที่จุด LOCAL
OPER.
และที่ SUBSTATION ด้วย โดยแนบส่ วนล่างของ TAG
ไว้กบั WORK PERMIT
1.เปิ ด WORK PERMIT
OPER.&MAIN
2.แขวน TAG ตรงจุดที่มีการตัดแยก (สี แดง)
MAIN.
3.ตรวจสอบหน้างานหลังจากการปฏิบตั ิงานเสร็ จสิ้ น
OPER.&MAIN
4.ปลด TAG ออกตามจุดที่มีการตัดแยกไว้ใน WORK PERMIT OPER.&MAIN
5.ปิ ด WORK PERMIT
OPER.&MAIN
3. ส่ วนบนของ TAG
3.1 เลขที่ (NO.) หมายเลขเรี ยงลาดับของ TAG
• ให้กาหนดการควบคุมโดยแยกตาม Discipline
3.2 ข้อความ Discipline ให้เขียนข้อความเกี่ยวกับงานที่ปฏิบตั ิ เช่น
• แสดงว่ากาลังซ่อมอุปกรณ์หรื อส่ วนที่เกี่ยวข้อง
• แสดงว่าอุปกรณ์น้ นั หรื อส่ วนที่เกี่ยวข้องอยูใ่ นสภาพผิดปกติ
• แสดงว่าอุปกรณ์น้ นั อยูใ่ นระหว่างการทดสอบ
• ห้าม OPERATE หรื อห้ามเคลื่อนย้าย
3.3 ลายมือชื่อให้ผรู ้ ับผิดชอบอุปกรณ์น้ นั ลงลายมือชื่อใน TAG แต่ละประเภท
โดย
• สี ขาว ระดับหัวหน้าหน่วย ขึ้นไปของฝ่ ายปฏิบตั ิการผลิต
• สี แดง ระดับหัวหน้างาน ขึ้นไปของฝ่ ายบารุ งรักษาในวันทางานปกติระดับ
ช่างบารุ งรักษา ประจากะในเวลากลางคืนและวันหยุด
3.4 ลายมือชื่อ (DEPT.) หน่วยงานที่ออก TAG แยกเป็ น Discipline
3.5 หมายเลขโทรศัพท์ (TEL.) หมายเลขโทรศัพท์ของผูอ้ อก TAG
ที่สามารถติดต่อได้สะดวก
3.6 วัน – เวลา (DATE-TIME) วัน-เวลาที่ออก TAG
4.
ส่ วนล่างของ TAG
4.1 เลขที่ (NO.) หมายเลขที่เป็ นเลขที่เดียวกับ TAG ส่ วนบน
4.2 สถานที่แขวน TAG บอกตาแหน่งสถานที่แขวน TAG ไว้
4.3 อุปกรณ์ที่แขวน TAG (EQUIP.TAG) บอกหมายเลขอุปกรณ์ที่แขวน
TAG
4.4 วันที่ – เวลา (DATE-TIME) วันที่ – เวลาที่ออก TAG ซึ่ งตรงกับวันที่
– เวลาที่ระบุไว้ ณ TAG ส่ วนบน
4.5 วันที่ – เวลาที่ปลด TAG (TAG REMOVED) วันที่ – เวลาที่ปลอด
TAG ออก
5.
ลายมือชื่อ ลายมือชื่อผูป้ ลด TAG ปกติจะเป็ นลายมือชื่อผูอ้ อก TAG แต่ในกรณี
จาเป็ นอาจเป็ นผูอ้ ื่นที่ได้รับคาสั่งจากผูอ้ อก TAG โดยต้องเข้าใจวิธีการดีแล้ว
3. ระบบการบันทึกและควบคุมระบบล็อคและระบบป้ ายทะเบียน
ขั้นตอนการปฏิบตั ิในระบบการบันทึกและควบคุมการล็อกและการแขวนป้ ายทะเบียน
1. หลังจากที่ผคู ้ วบคุมงานระบุขอบข่ายงานที่จะต้องปฏิบตั ิที่เกี่ยวข้อง โดยพิจารณาว่า
มีแหล่งพลังงานอะไรบ้างที่จะต้องดาเนินการตัดแยกระบบออกจากบริ เวณที่จะปฏิบตั ิงาน
2. พิจารณาแหล่งพลังงานที่เกี่ยวข้องแล้วทาการระบุลงไปในใบขออนุญาตทางานว่า
เกี่ยวข้องกับแหล่งพลังงานอะไร เช่น พลังงานไฟฟ้ า ต้องตัดแยกที่แหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้ า หรื อ
ตัดแยกพลังงานกลที่เกี่ยวกับระบบส่ งผ่านทางท่อ ต้องปิ ดวาล์วที่ตน้ ทางหรื อตาแหน่งอื่นๆ ที่
เชื่อมต่อกับระบบ
3. กรอกรายละเอียดของเลขที่ใบขออนุญาตทางานลงในใบบันทึกและควบคุมการ
ล็อคและป้ ายทะเบียน
4. กรอกรายละเอียดของหมายเลขป้ ายทะเบียน และระบุตาแหน่งที่ทาการล็อคกุญแจที่
ตัวอุปกรณ์ในแต่ละพื้นที่ในกระบวนการผลิตที่มีการเชื่อมโยงกัน
5. กรอกรายละเอียดของผูท้ ี่เกี่ยวข้องในใบขออนุญาตทางานที่เกี่ยวกับระบบล็อคและ
ป้ ายทะเบียนตามรหัสสี ของป้ ายทะเบียนและลงนาม
6. บันทึกรายการอุปกรณ์ต่างๆ ที่ทาการตัดแยกตามจานวนและตาแหน่งที่ระบุอยูใ่ น
หนังสื อขออนุญาตทางานลงในแบบบันทึก เพื่อแสดงให้เห็นว่าอุปกรณ์ต่างๆ ดังกล่าวได้ถกู ตัด
แยกแล้วตามที่ขอมารวมไปถึงสามารถแสดงให้เห็นถึงผูท้ ี่มีหน้าที่เกี่ยวข้องในการปฏิบตั ิได้
ดาเนินการตามขั้นตอนการทางาน อย่างปลอดภัย
7. ในกรณี ที่มีการยกเลิกการแขวนป้ ายทะเบียนหรื อปลดล็อคที่ตวั อุปกรณ์ ต้องมาทาการ
ยกเลิกและทาการลงบันทึก การยกเลิกดังกล่าวในแบบฟอร์ ม ที่ยกตัวอย่างตามแนบท้ายนี้
8. ในกรณี เสร็ จสิ้ นงานต้องทาการปลดป้ ายทะเบียนและปลดกุญแจที่ลอ็ ค ที่ตวั อุปกรณ์
ก็ตอ้ งมาทาการยกเลิกและลงบันทึก ตามเอกสารบันทึกทะเบียน