Transcript Document

นางรื่นฤดี โสชาติ
พยาบาลวิชาชีพ ชานาญการ
เลขาธิการทีมสารสนเทศ โรงพยาบาลพุทไธสง
WECANDO
กลุ่มโรคเรือ้ รัง N : NCD
อัตราป่ วย/ตายด้ วยโรคที่เป็ นปั ญหาของจังหวัดลดลง
อัตราป่ วย
1. อัตราปว่ ยด้วยโรคเบาหวานรายใหม่ลดลง
2. อัตราปว่ ยด้วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง
อัตราป่ วย/ตายด้ วยโรคที่เป็ นปั ญหาของจังหวัดลดลง
อัตราตาย
1. อัตราการเสียชีวติ ในโรงพยาบาลของทารกแรกเกิด
2.
3.
4.
5.
6.
นน.< 2,800 กรัม
อัตราตายด้วย STROKE ลดลง
อัตราตายด้วย STEMI ลดลง
อัตราตายผูป้ ว่ ยบาดเจ็บต่อสมองลดลง
อัตราตายจากอุบตั เิ หตุทางถนน
อัตราส่วนมารดาตาย
อัตราป่ วย/ตายด้ วยโรคที่เป็ นปั ญหาของจังหวัดลดลง
 คัดกรองกลุ่มเสี่ยง
1. ร้อยละประชาชนตั้งแต่ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวาน
2.
3.
4.
ความดันโลหิ ตสูง
ร้อยละประชาชนสูงอายุได้รับการคัดกรองเบาหวาน ความดัน
โลหิ ตสูง
ร้อยละกลุ่มเสี่ ยงได้รับการคัดกรอง DM , HT , IHD and CVD
ร้อยละประชากรกลุ่มเสี่ ยง DM/HT มีการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม 3อ. 2ส.
อัตราป่ วย/ตายด้ วยโรคที่เป็ นปั ญหาของจังหวัดลดลง
 ตรวจรักษากลุ่มโรค
1. ร้อยละผูป้ ว่ ยเบาหวานทีค่ วบคุมระดับน้ าตาลได้ดี
1.1 HbA1c < 7 % หรือ
1.2 FBS/FCG = 70 – 130 mg%
2. ร้อยละผูป้ ว่ ยความดันโลหิตสูงทีค่ วบคุมระดับความดันได้ดี
มีคา่ BP ดังนี้
2.1 ผูป้ ว่ ย HT < 140/90 mmHg.
2.2 ผูป้ ว่ ย DM/HT < 140/80 mmHg.
อัตราป่ วย/ตายด้ วยโรคที่เป็ นปั ญหาของจังหวัดลดลง
ตรวจรักษากลุ่มโรค
3. ร้อยละผูป้ ว่ ยเบาหวานได้รบั การคัดกรอง
ภาวะแทรกซ้อนทางตา
4. ร้อยละผูป้ ว่ ยเบาหวานได้รบั การคัดกรอง
ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า
5. ร้อยละผูป้ ว่ ยความดันโลหิตสูงได้รบั การคัดกรอง
ภาวะแทรกซ้อน ไต หัวใจ สมอง
อัตราป่ วย/ตายด้ วยโรคที่เป็ นปั ญหาของจังหวัดลดลง
ตรวจรักษากลุ่มโรค
6. อัตราการรับไว้รกั ษาในโรงพยาบาลด้วยโรค DMทีม่ ี
ภาวะแทรกซ้อนระยะสัน้
7. อัตราการรับไว้รกั ษาในโรงพยาบาลด้วยโรค HTหรือ
ภาวะแทรกซ้อนของ HT
8. อัตราการรับไว้รกั ษาในโรงพยาบาลด้วยโรค
Asthma
9. ร้อยละผูป้ ว่ ยซึมเศร้าเข้าถึงบริการ
อัตราป่ วย/ตายด้ วยโรคที่เป็ นปั ญหาของจังหวัดลดลง
ตรวจรักษากลุ่มโรค
10. การให้บริการชะลอความเสี่ยงของไตในผูป
้ ่ วย
DM/HT
11. การคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผูป
้ ่ วย
DM/HT
อัตราป่ วย/ตายด้ วยโรคที่เป็ นปั ญหาของจังหวัดลดลง
เยี่ยมบ้าน NCD
1. เยีย่ มบ้านผูป้ ว่ ยโรคเบาหวาน
2. เยีย่ มบ้านผูป้ ว่ ยโรคความดันโลหิตสูง
3. เยีย่ มบ้านผูป้ ว่ ยโรคซึมเศร้า
แนวทางการบันทึก การตรวจสอบ
และการแก้ไข
NCDSCREEN
การบันทึกข้ อมูล NCDSCREEN
ประเด็นปัญหาที่พบ
1. ข้อมูลประชากรไม่สมบูรณ์
2. ข้อมูลผูป้ ว่ ย DM/HT ไม่สมบูรณ์
3. ข้อมูลประชากรกลุม่ เสีย่ งทีเ่ ป็ นเป้าหมายไม่ถกู ต้อง
4. มีการคัดกรองประชากรนอกกลุม่ เป้าหมาย
การบันทึกข้ อมูล NCDSCREEN
1. ข้อมูล ประชากรไม่สมบูรณ์ ตามช่วงเวลา
1.1 ไม่ได้ลงข้อมูลประชากรเสียชีวติ
1.2 ไม่ได้ลงข้อมูลโรคประจาตัวในแฟ้มประชากร
1.3 ไม่มชี อ่ื บุคคลในแฟ้มประชากรในเวลาทีส่ ารวจ
การบันทึกข้ อมูล NCDSCREEN
2. ข้อมูลผูป้ ว่ ยไม่สมบูรณ์
2.1 ไม่ได้ลงทะเบียนคลินิก DM/HT
2.2 ออกเยีย่ มบ้านพบว่าผูป้ ว่ ยไปทางานต่างจังหวัด
2.3 ผูป้ ว่ ยขาดการรักษาตามแล้วไม่มารับบริการ
ไม่ได้ลงข้อมูลสถานะของผูป้ ว่ ยให้ถกู ต้อง
ฯลฯ
การบันทึกข้ อมูล NCDSCREEN
3. ข้อมูลประชากรกลุม่ เสีย่ งทีเ่ ป็ นเป้าหมายไม่ถกู ต้อง
3.1 ทาการคัดกรองในหมูบ่ า้ นตามข้อมูลทีม่ ี
3.2 คัดกรองแล้วไม่ได้บนั ทึกตามช่วงเวลา
3.3 บันทึกข้อมูลตามข้อ 3.1
3.4 ทาให้ได้ขอ้ มูลผิดพลาดส่งออก 21/43 แฟ้ม
การบันทึกข้ อมูล NCDSCREEN
4. มีการคัดกรองประชากรนอกกลุม่ เป้าหมาย
4.1 เวลาปฏิบตั งิ านจริง ได้ให้บริการทุกคนทีม่ ารอ
รับบริการ
4.2 เจ้าหน้าทีบ่ นั ทึกข้อมูลทัง้ หมดทีป่ ฏิบตั จิ ริง
4.3 ไม่มกี ารตรวจสอบข้อมูลหลังจากบันทึกแล้ว
4.4 ผูบ้ นั ทึกกับผูส้ ง่ ข้อมูลอยูค่ นละกลุ่มงานไม่ได้
คุยกัน
การบันทึกข้ อมูล NCDSCREEN
 ข้อมูลผิดพลาดที่พบ
1. ข้อมูลการคัดกรองประชากรนอกลุม่ เป้าหมาย
2. ข้อมูลการคัดกรองประชากรทีเ่ สียชีวติ ก่อนวันคัด
กรอง
3. ข้อมูลการให้บริการอื่น ๆ ในขณะทีว่ นั บันทึกเสียชีวติ
แล้ว
การบันทึกข้ อมูล NCDSCREEN
 แนวทางแก้ไข
1. ให้ อสม.สารวจข้อมูล ส่ง และให้บนั ทึกข้อมูลทุกเดือน
2. ให้ลงข้อมูลทันทีทไ่ี ด้รบั มา ควรทางานตามช่วงเวลา
ปฏิบตั งิ านจริง
3. ลงข้อมูลเฉพาะในกลุม่ เป้าหมายทีม่ เี ท่านัน้
4. เมือ่ ปฏิบตั งิ านไปแล้ว นาข้อมูลมาบันทึก และพบว่า
เสียชีวติ ก็งดบันทึกข้อมูลเพือ่ ให้ได้ผลงาน
การบันทึกข้ อมูล NCDSCREEN
 แนวทางแก้ไข
5. ก่อนส่งข้อมูลควรตรวจสอบแก้ไขในฐานข้อมูลก่อน
ถึงเวลาส่งข้อมูล
6. ยอมรับเป้าหมายทีก่ าหนดไว้ตงั ้ แต่ตน้ ปี
ข้อมูลคัดกรองเบาหวาน
ความดันโลหิตสูง
สถานะบุคคล 1,3
ยังอาศัยอยู่
ยังไม่เสียชีวติ
โรคประจาตัว
LABFU
การบันทึกข้ อมูล LABFU
 ประเด็นปัญหาที่พบ
1. มีการส่งตรวจจริงแต่ไม่มผี ลการตรวจเลือด
2. มีการลงผลเลือดแต่ไม่ได้ยนื ยันผล
3. มีผลการตรวจแต่ผปู้ ว่ ยไม่มชี อ่ื ในทะเบียนคลินิกพิเศษ
DM/HT
การบันทึกข้ อมูล LABFU
 มีการส่งตรวจจริง แต่ไม่มีผลตรวจ
1. วิธบี ริหารจัดการของแต่ละอาเภอไม่เหมือนกัน
2. มีการส่งตรวจ LAB ในระบบจาก รพ.สต.แต่ไม่ได้ลงผล
3. มีการตรวจ LAB ใน รพ.ช. แต่ไม่ได้สง่ ตรวจในระบบ
4. ผูด้ แู ลระบบใน รพ.ช./รพ.สต.(ทีส่ ง่ ตรวจเอง) ไม่ได้ set
รหัส oldcode ในตาราง LAB
การบันทึกข้ อมูล LABFU
 มีการส่งตรวจจริง แต่ไม่มีการยืนยันผล
1. ส่วนมากพบใน รพ.สต. ทีม่ กี าร เจาะ ส่ง และลงผล
ตรวจโดย รพ.สต.เอง
2. ถ้าพบในโรงพยาบาลก็จะเป็ น รพ.ช. ทีไ่ ม่มรี ะบบ LIS
ของ LAB (ลงข้อมูลแล้วลืมยืนยันผลการตรวจ)
3. ไม่ทราบวิธกี ารบันทึก/ไม่ได้รบั มอบหมาย
การบันทึกข้ อมูล LABFU
 มีการส่งตรวจจริง แต่ไม่มีชื่อผูป
้ ่ วยในทะเบียนคลินิก
DM/HT
1. ทัง้ ใน รพ.ช./รพ.สต. ไม่มชี อ่ื ผูป้ ว่ ยในทะเบียนคลินิก
2. ไม่ได้ขอ้ มูลผูป้ ว่ ยรายใหม่ตามช่วงเวลา
3. ไม่มกี ารวินิจฉัยจากห้องตรวจโรค จึงไม่ได้ลงทะเบียน
4. ไม่ได้การลงทะเบียนผูป้ ว่ ย DM/HT ทุกรายทีม่ ารับ
บริการ
การบันทึกข้ อมูล LABFU
 ข้อมูลผิดพลาดที่พบ
1. ข้อมูลทีผ่ า่ น 21/43 แฟ้ม น้อยกว่าทีใ่ ห้บริการจริง
2. ข้อมูลทีไ่ ด้ไม่ถกู ต้อง/สมบูรณ์
3. เมือ่ DATA ประมวลผลเพือ่ สรุปยอดผลงาน จึงมี
ผลงานแสดงน้อย คิดร้อยละได้ต่า
การบันทึกข้ อมูล LABFU
 แนวทางแก้ไข
ทุกหน่วยบริการควรลงทะเบียนคลินิกพิเศษ DM/HT
ดังนี้
1.1 รพ.ช.ควรลงทะเบียนทุกรายทีแ่ พทย์วนิ ิจฉัย
1.2 รพ.สต.ควรลงทุกรายทีอ่ ยูใ่ นเขตรับผิดชอบ
2. ทุกหน่วยบริการควรลงโรคประจาตัว DM/HT ใน
แฟ้มประชากรให้ครบทุกคน
3. ทุกหน่วยบริการทีม่ กี ารตรวจควร set รหัส oldcode
ในตาราง LAB ให้ครบทุกตัวทีค่ ดิ ค่าผลงาน
1.
การบันทึกข้ อมูล LABFU
 แนวทางแก้ไข
4. ทุกหน่วยบริการทีม่ กี ารส่งตรวจทางห้องปฏิบตั กิ าร
เมือ่ ลงผลการตรวจ จะต้องยืนยันผลการตรวจด้วย
ทุกครัง้
5. เมือ่ ได้ขอ้ มูลควรลงผลทันทีทุกครัง้
6. ก่อนส่งข้อมูลควรตรวจสอบ แก้ไขในฐานข้อมูลก่อน
ถึงเวลาส่งข้อมูล
7. ผูป้ ฏิบตั ิ ผูบ้ นั ทึก และผูส้ ง่ ข้อมูลควรปรึกษาและ
แก้ไขร่วมกัน(คปสอ.)
ข้อมูล HbA1C<7%
ในโรคเบาหวาน
มีช่อื ใน
ทะเบียน DM
ยังรักษาอยู่
ผลการตรวจ
ยืนยันผลตรวจ
HbA1C < 7%
Set รหัส oldcode ในตาราง LAB
CHRONICFU
การบันทึกข้ อมูล CHRONICFU
 ประเด็นปัญหาที่พบ
1. มีการตรวจคัดกรองจริงตามเวลา แต่ไม่ได้ลงข้อมูล
2. มีการลงข้อมูลย้อนหลัง ไม่ได้ตามช่วงเวลา
3. มีการลงข้อมูลย้อนหลัง แต่ผปู้ ว่ ยเสียชีวติ แล้ว
4. ลงข้อมูลไม่ถกู ต้องตามขัน้ ตอนของการบันทึก
5. เลือก Visit ทีล่ งคัดกรองไม่ถกู ต้อง
6. Visit ทีเ่ ลือกส่งออกแฟ้มไม่ได้
การบันทึกข้ อมูล CHRONICFU
 มีการตรวจคัดกรองจริงแต่ไม่ได้ลงข้อมูล
1. ผูใ้ ห้บริการและผูบ้ นั ทึกข้อมูลเป็ นคนละคนกัน
2. มีขอ้ มูลมาก ลงข้อมูลไม่ทนั ต่อวัน
3. มีการลงข้อมูลโดยไม่ได้ตรวจสอบวัน
ฯลฯ
การบันทึกข้ อมูล CHRONICFU
 มีการลงข้อมูลย้อนหลัง แต่ไม่ได้ตามช่วงเวลา
1. บันทึกข้อมูลย้อนเวลาไปลงข้อมูลตามวันทีค่ ดั กรองจริง
2. บันทึกข้อมูลตามวันทีบ่ นั ทึกข้อมูล
3. ช่วงเวลาทีบ่ นั ทึกเป็ นเวลาทีส่ ง่ แฟ้มไปแล้ว
4. บันทึกข้อมูลไปเรือ่ ย ๆ ไม่ได้ดรู ะยะเวลา
5. ผูบ้ นั ทึก/ผูส้ ง่ ข้อมูลไม่ได้คุยกัน
การบันทึกข้ อมูล CHRONICFU
 มีการลงข้อมูลย้อนหลัง แต่ผป
ู้ ่ วยเสียชีวิตแล้ว
1. ลงข้อมูลไม่ทนั ตามช่วงเวลาการส่งข้อมูล
2. เมือ่ มีเวลามาลงข้อมูลผูป้ ว่ ยเสียชีวติ แล้ว จะย้อนเวลาไป
ลงก็เกินกาหนดทีส่ ง่ ข้อมูลแล้ว
3. ไม่ได้ลงข้อมูลเสียชีวติ ในแฟ้มประชากร,ทะเบียนคลินิก
พิเศษ,ทะเบียนผูเ้ สียชีวติ และแฟ้มผูป้ ว่ ย(รพ.ช)
การบันทึกข้ อมูล CHRONICFU
 ลงข้อมูลไม่ถกู ต้องตามขัน้ ตอนของการบันทึก
1. ลงข้อมูลไม่ครบทุกเมนู
2. ลงว่าคัดกรองไว้ก่อน แต่ยงั ไม่ลงรายละเอียดการตรวจ
แล้วลืมลง
ฯลฯ
การบันทึกข้ อมูล CHRONICFU
 เลือก Visit ที่ลงคัดกรองไม่ถกู ต้อง
1. ในการมารับบริการทีค่ ลินิก DM/HT ในหน้าเวช
ระเบียนจะต้องยืนยันการมารับบริการตามนัด จึงจะได้
ข้อมูลผ่านแฟ้ม CHRONICFU
2. ไม่มกี ารคัดกรองแต่นาผลจากอีกหน่วยบริการมาลง จึงทา
ให้เลือก Visit เพือ่ ให้ได้ลงข้อมูลเท่านัน้
ฯลฯ
การบันทึกข้ อมูล CHRONICFU
 Visit ที่เลือกส่งออกแฟ้ มไม่ได้
1. มีการเปิ ด Visit จาก One stop ซึง่ ข้อมูลจะไม่
สมบูรณ์(ใน รพ.ช.บางแห่งไม่ได้เปิดใช้งาน)
2. Visit ทีเ่ ลือกไม่ได้ลงข้อมูลให้สมบูรณ์ในแฟ้ม
ผูป้ ว่ ยนอก(Visit ว่าง)
3. ผูบ้ นั ทึกข้อมูลไม่ทราบ/ไม่ได้รบั มอบหมาย
การบันทึกข้ อมูล CHRONICFU
 ข้อมูลผิดพลาดที่พบ
1. ข้อมูลทีไ่ ด้น้อยกว่าทีป่ ฏิบตั จิ ริง
2. ข้อมูลทีส่ ง่ ออกผ่านแฟ้มได้น้อยกว่าความเป็ นจริง
3. ได้ขอ้ มูลไม่ถกู ต้อง/สมบูรณ์
ฯลฯ
การบันทึกข้ อมูล CHRONICFU
 แนวทางแก้ไข
1. บันทึกข้อมูลเฉพาะผูป้ ว่ ยทีไ่ ด้ให้บริการจริง
เท่านัน้
2. บันทึกทันทีหลังจากให้บริการเสร็จ ไม่ควรเก็บ
ทิง้ ไว้ แล้วมาลงวันหลัง(ทางานตามช่วงเวลา)
3. เมือ่ พบว่าเสียชีวติ แล้ว ไม่ตอ้ งลงข้อมูลเพือ่ เอา
ผลงาน
การบันทึกข้ อมูล CHRONICFU
 แนวทางแก้ไข
5. ยอมรับในกลุม่ เป้าหมายทีม่ ี และผลงานทีท่ าได้
จริง
6. ตรวจสอบข้อมูลและแก้ไขในฐานข้อมูลก่อนถึง
เวลาส่งข้อมูล
คัดกรองภาวะแทรกซ้อน
ในผูป้ ่ วย DM/HT
เบาหวาน ตา ไต เท้า หัวใจ สมอง ปริทนั ต์
ความดันโลหิตสูง ไต หัวใจ สมอง
ตา ไต เท้า หัวใจ สมอง ปริทนั ต์
ตรวจสอบภาวะแทรกซ้อน
DM/HT
ข้อมูลผูป้ ่ วยโรคซึมเศร้า
ที่เข้าถึงบริการ
โรคซึมเศร้ า
 การเข้าถึงบริการ
1. มีผปู้ ว่ ยได้รบั การวินิจฉัยด้วยรหัสโรค
ICD10 = F32,F33,F34.1,F38,F39
2. มีการมาตรวจรักษาด้วย ICD10 ในข้อ 1 ของ
ปี 2556 แล้วมาตรวจรักษาในปี 2557
3. KPI หน่วยบริการส่งต่อ
ข้อมูลผูป้ ่ วยเบาหวาน
นอนโรงพยาบาล
ข้อมูลผูป้ ่ วยความดันฯ
นอนโรงพยาบาล
ข้อมูลสัดส่วนผูป้ ่ วย
เบาหวาน/ความดันฯ
ระหว่าง รพ.สต.กับ รพช.
ยังรักษาอยู่ใน รพ.ช
ส่งรักษา รพ.สต.
ข้อมูลการเยี่ยมบ้านผูป้ ่ วย
โรคซึมเศร้า เบาหวาน
และความดันโลหิตสูง
ตรวจร่างกาย
CC
ICD10
Diag Text
ข้อตกลงใหม่ตงั ้ แต่ 14 ก.พ.57
1. กรณี เยี่ยมบ้านทุกกรณี ไม่ต้องลง
1.1 Provisional Dx(รพ.ช.)
Diag text(รพ.สต.)
และ ICD10(รหัสโรค)
1.2 CC , PE
1.3 น้าหนัก , ส่วนสูง
2. กรณี อื่น ๆ เหมือนเดิม
Com.ser
เยี่ยมบ้านโรคซึมเศร้า
เยี่ยมบ้านโรคเบาหวาน
เยี่ยมบ้านโรคความดันฯ
DEATH
การบันทึกข้ อมูล DEATH
 ประเด็นปัญหาที่พบ
1. ไม่มกี ารลงข้อมูลการตายด้วย ICD10 ทีต่ อ้ งการ
2. มีการบันทึกแฟ้มเสียชีวติ ไม่ถกู ต้องตามแนวทาง/
ขัน้ ตอนการบันทึกข้อมูล
3. ไม่ได้ลงข้อมูลการเสียชีวติ ตามช่วงเวลาทีเ่ กิดจริง
ส่วนมากจะเป็ น วัน เวลา ทีบ่ นั ทึกข้อมูล
ฯลฯ
การบันทึกข้ อมูล DEATH
 ไม่มีการลงข้อมูลการตายด้วย ICD10 ที่ต้องการ
1. ทารกแรกเกิด นน.ต่ากว่า 2,500 กรัม
2.
3.
4.
5.
ตายภายใน 28 วัน ICD10 รหัส P
ตายด้วย Stroke ในผูส้ งู อายุ ICD10 รหัส I
ตายจากหลอดเลือดหัวใจ ICD10 รหัส I
ตายจากอุบตั เิ หตุทางถนน ICD10 รหัส V
มารดาตาย ICD10 รหัส O
การบันทึกข้ อมูล DEATH
 การบันทึกแฟ้ มเสียชีวิตไม่ถกู ต้องตามแนวทาง/
ขัน้ ตอนการบันทึกข้อมูล
1. ไม่ได้บนั ทึกข้อมูลในแฟ้มผูเ้ สียชีวติ ในระบบ LAN
2. ลงบันทึกข้อมูลไม่ครบทุกช่องทีม่ ใี นแฟ้มผูเ้ สียชีวติ เช่น
สาเหตุการเสียชีวติ , สาเหตุอ่นื ทีเ่ กีย่ วข้อง , ผูป้ ว่ ย
ตัง้ ครรภ์ , ผูป้ ว่ ยใน , เสียชีวติ ระหว่างคลอดหรือหลัง
คลอด และ เด็กแรกเกิดเสียชีวติ เป็ นต้น
3. ลงสาเหตุ/รหัสการตายไม่ถกู ต้อง
การบันทึกข้ อมูล DEATH
 ไม่ได้ลงข้อมูลการเสียชีวิตตามช่วงเวลาจริง
1. มีการบันทึกข้อมูลเสียชีวติ ย้อนหลังแต่ไม่ได้แก้วนั ที่
เสียชีวติ ให้ตรงกับข้อมูลทีม่ ี
2. มีการบันทึกข้อมูลไปเรือ่ ย ๆ โดยไม่กาหนดเวลา
3. ข้อมูลส่วนมากเป็ นข้อมูลสารวจโดย อสม. ซึง่ เป็ นคา
บอกเล่า ไม่ใช่จากเอกสารรับรองการตาย
4. ผูบ้ นั ทึก และผูส้ ารวจ ไม่ได้คุยกัน
การบันทึกข้ อมูล DEATH
 ข้อมูลผิดพลาดที่พบ
1. ข้อมูลสาเหตุการตายได้เท่ามีในฐานข้อมูล
2. ข้อมูลไม่เป็ นปจั จุบนั
3. ข้อมูลเป็ นตารางว่างดึงข้อมูลไม่ได้ ตามต้องการ
4. ข้อมูลไม่ถกู ต้องเชือ่ ถือได้น้อย
การบันทึกข้ อมูล DEATH
 แนวทางแก้ไข
1. ควรบันทึกข้อมูลทุกช่องทีเ่ กีย่ วข้องให้ครบถ้วน
2. ควรลงข้อมูลทันทีทไ่ี ด้รบั มา และทางานตามช่วงเวลา
ปฏิบตั งิ านจริง
3. แฟ้มผูป้ ว่ ยเสียชีวติ จะมีขอ้ มูลทัง้ ผูป้ ว่ ยเสียชีวติ และผู้
ถูกชันสูตร(รพ.สต.ไม่ม)ี ควรบันทึกให้ครบทัง้ หมดเพือ่
การนาข้อมูลทีม่ ไี ปใช้ให้เกิดประโยชน์สงู สุด
ข้อมูลการตายโรค
หลอดเลือดสมองใน
ผูส้ งู อายุ
ข้อมูลการตาย
โรคหลอดเลือดหัวใจ
ข้อมูลการตาย
ผูบ้ าดเจ็บต่อสมอง
สาเหตุการ
เสียชีวติ
อายุท่ี
เสียชีวติ
วันทีเ่ สียชีวติ
ICD10
ข้อมูลมารดาตาย
ตัง้ ครรภ์
คลอด
หลังคลอด
สวัสดี