Transcript Rifampicin

Outbreak Factors
Table 1. MDR-TB outbreaks factors responsible
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
Inadequate control programs
Inadequate adherence
Infection control breakdown
Index of suspicion low
Inadequate lab communication
Infectiousness prolonged
Immunocompromised convergence
Substance abuse
Homelessness
ผูป้ ่ วยที่มีโอกาสเป็ น MDR
 New case & HIV
 ผูป
้ ่ วยที่สมั ผัสกับผูป้ ่ วย MDR-TB
 กลุ่มเสี ยงอื่นๆเช่น แนวชายแดน เรื อนจา
 กาลังรักษาด้วยCAT1 แล้วอาการไม่ดีข้ ึน ร่ วมกับเสมหะไม่เป็ นลบเมื่อ
สิ้ นสุ ดการรักษาเดือนที่ 2 และหลังจากให้การรักษาด้วยยา 4 ชนิดต่ออีก
1 เดือนอาการไม่ดีข้ ึน เสมหะเป็ นบวก
 รักษาด้วย CAT1 แล้วการรักษาล้มเหลว แม้ทานยาสม่าเสมอ (โอกาสสู ง)
 รักษาด้วย CAT2 หลังจากให้ยา 4 ชนิ ดต่ออีก 1 เดือน เสมหะเป็ นบวก
อาการไม่ดี
 ขณะรักษาด้วย CAT2 เมื่อสิ้ นสุ ดเดือนที่ 5 เสมหะยังพบเชื้อทั้งที่ทานยา
สม่าเสมอ (โอกาสสูง)
 TAD ที่กลับมาแล้วเสมหะบวก
 ผูป
้ ่ วยกลับเป็ นซ้ าเมื่อหยุดการรักษาหลังจากหายแล้วไม่เกิน 6 เดือน
ระบบยาที่ใช้รักษา MDR
 1.กรณี รักษาด้วย CAT 1 และผลการรักษาเป็ น failure
ควรใช้ empiric CAT4(1) คือ 3K5OPEZ/15OPEZ
 1.กรณี รักษาด้วย CAT 2 และผลการรักษาเป็ น failure
ควรใช้ empiric CAT4(2) คือ 3K5OPEtZ/15OPEtZ
 ทั้ง 2 ข้อให้เพิ่มการฉี ด Kanamycin หรื อ Aminoglycoside อื่นที่กาลังใช้
อยูส่ ปั ดาห์ละ 3 ครั้ง เป็ นเวลาอีก 3 เดือน ในผูป้ ่ วยที่ผล direct smear เป็ น
บวก เมือสิ้ นสุ ดเดือนที่ 3 เป็ นระบบยาดังนี้
 3K5OPEZ/ 3K3OPEZ /12OPEZ
 หรื อ 3K5OPEtZ/ 3K3OPEtZ /12OPEtZ
 การรักษาด้วยระบบนี้ ควรมีการ DOT ด้วยเจ้าหน้าที่
หลักการเลือกระบบยา และสูตรยานอกจาก empiric CAT4
 1.ให้ยาในเชื้อที่ไม่ด้ือยาหรื อไม่เคยได้มาก่อนอย่างน้อย 3 ชนิ ด หรื อ
เลือกสูตรยาตามผลการทดสอบความไวต่อยา
 2.ให้ยาฉี ดร่ วมด้วยอย่างน้อย 3 เดือนแรก
 3. ให้ Quinolone ร่ วมด้วย
 4. PZA
ให้ 18 เดือนเป็ นอย่างต่า หากเสมหะพบเชื้ออยูเ่ ป็ นระยะเวลานานต้องให้ยา
อย่างน้อยอีก 12 เดือน หลังจากเสมหะตรวจไม่พบเชื้อ โดยการเพาะเชื้อ
S/E and How to manage it
Minor adverse reaction
 Major adverse reactions
Major adverse reactions
dizziness
deafness
Visual impairment
jaundice
Severe skin reaction
Shock and purpure

medicine
streptomycin
streptomycin
Ethambutol
Most
Most
Rifampicin
How to manage it
อาการที่เกิดขึน้
การแก้ไข
คันไม่มีอาการ
CPM
ผืน่ คันเล็กน้อย
ให้ CPM หรื อ calamine หรื อSteroid
ปวดข้อ
paracetamol
เจ็บกระเพาะ
กินยาหลังอาหารทันที ให้ยาลดกรด
ปลายประสาทอักเสบ ชา
ปลายมือ เท้า
Influenza like syndrome
ให้ vitamin B6 100 mg./day จนอาการหายลดเหลือ 10
mg./day (ขนาดที่ใช้ป้องกันคือ 6-50 mg./day
paracetamol ถ้ายังมีอาการมาก ลดRifampicin ลง 150
mg. เป็ นวลา3-5วัน
กินยาหลังอาหารเย็นหรื อก่อนนอน หรื อใช้ยาระงับ
อาเจียน
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสี ย
อาการไม่พึงประสงค์
INH
 1.Peripheral neuritis มักเกิดในภาวะทุโภชนาการหรื อมีแน้วโน้มจะเกิด
เช่น เบาหวาน ตั้งครรภ์ โรคไต เป็ นต้น
 2.พิษต่อตับพบได้2% มักเกิดหลังรับยา4-8 สัปดาห์ อาจเป็ นแค่เพิ่ม
เอนไซม์ transaminase ของตับในเลือด หรื อรุ นแรงถึงขั้น ตับอักเสบ
 3.อาจมีอาการผืน
่ ไข้ ปวดบวมตามข้อ thrombocytopenia
 พิษต่อประสาทส่ วนกลาง มึนงง สับสน ซึ ม กล้ามเนื้ อกระตุก แก้ไขด้วย
B6
Rifampicin
 อาการทางระบบอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน พบน้อยไม่รุนแรง
 พิษต่อตับมักทาให้ในระดับเอนไซม์ transaminase ของตับหรื อ
billirubinในเลือด สูงขึ้น ตับอักเสบมักพบได้นอ้ ยระวังในผูป้ ่ วยที่เป็ น
โรคตับ ส่ วนสูงอายุ alcohollism
 Flu like syndrome มักเกิดจากการใช้ยาขนาดสู ง และให้แบบintermittent
schedule ส่ วนใหญ่เกิดหลังได้รับยาติดต่อนาน 3-6 เดือนไปแล้ว และมัก
แสดงอาการหลังกินยา 1-2 ชัว่ โมง อาการมักหายไปได้เองภายใน 12
ชัว่ โมง
 Hypersensitivity reaction
 อาการไม่พึงประสงค์อื่นๆที่พบน้อย ได้แก่ ไข้ อ่อนเพลีย ปวดข้อ ผืน
่ ปวด
ศรี ษะ มึนงง สับสน ชาตามปลายมือปลายเท้า
PZA
 พิษต่อตับส่ วนมากมักเพิ่มระดับเอนไซม์ transaminase ของตับ
 Hyperuricemia เกิดแทบทุกราย แต่มก
ั ไม่ทาให้เกิดอาการของเก๊าท์ กลไก
เกิดจากการขัดขวางการขับยูริคออกทางไต
Streptomycin
 Ototoxicity มักเกิดที่ vestibular จึงเป็ นแบบ irreversible
 พิษต่อไต โดยเฉพาะภาวะเสี่ ยง
-สูงอายุ
-ขนาดและเวลาในการารักษา
-การได้รับยาอื่น
 อาการอื่นๆ เช่น ผืน
่ ไข้ ชาริ มฝี ปาก
Kanamycin
 ผลข้างเคียงต่อระบบหู เหมือน strptomycin
 เกิดผลเสี ยต่อไตมากกว่า strptomycin
 มีผลต่อไตของทารกในครรภ์ อาจทาให้เกิดหู พิการแต่กาเนิ ด
Ethambutal
 Optic neuritis พบได้ 1-2%ในรายที่ผป
ู ้ ่ วยได้รับยาขนาดปกติ เป็ น
reversible แต่หากหยุดยาไม่ทนั ก็อาจเกิด optic atrphy หรื อ ตาบอดถาวร
 Hyperuricemia พบได้ 50% ไม่ถึงกับทาให้เกิดเก๊าท์
Cycloserine
 อาการทางจิต วิตกกังวล ชัก
 เวียนศรี ษะ นอนไม่หลับ ผลต่อระบบประสาทส่ วนกลาง
 ปลายประสาทอักเสบ (พบน้อย)
 ไม่ควรใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ภาวะไตวายที่มีค่ากาจัดครี อะตินินน้อยกว่า
50 ml./นาที
Ethionamide
 คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร เสี ยการรับรู ้รส เบื่ออาหาร
 ตับอักเสบ พบได้ประมาณ
2%
 ผลข้างเคียงต่อระบบต่อมไร้ท่อ
 ปลายประสาทอักเสบ ประสาทตาอักเสบ
 วิตกกังวล ซึ มเศร้า อาการทางจิตประมาณ 2%
 ไม่ควรใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ไตวาย
Para-aminosalicylic acid (PAS)
 การดูดซึ มไขมันผิดปกติ
 ต่อมธัยรอยด์ทางานต่า การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
 ระดับโฟเลตในเลือดต่า
 คลื่นไส้ อาเจียน เบื่อออาหาร
 โรคกระเพาะอาหารอักเสบ
การเก็บยาที่เหมะสมตามเภสัชตารับ USP

อุณหภูมิ15-30°c ความชื้นสัมพัทธ์ 70%
ยา
การเก็บรักษา
INH
Tight ป้ องกันแสง เลี่ยงอุณหภูมิสูงเกิน 40 °c
Rifampicin
Tight ป้ องกันแสงความชื้น และความร้อน
Ethambutal
Tight ป้ องกันความชื้น เก็บที่อุณหภูมิ 15-30°c
PZA
Tight เก็บที่อุณหภูมิ 15-30°c
ยา
การเก็บรักษา
PAS
Tight ป้ องกันแสง
Cycloserine
Tight ป้ องกันแสงและความชื้น
Ofloxacin
Tight ป้ องกันแสง
Ethionamide
Tight
Streptomycin
เก็บที่อุณหภูมิหอ้ ง 25°c
Kanamycin
เก็บที่อุณหภูมิหอ้ ง 25°c
ลักษณะทางกายภาพเมื่อยาวัณโรคเสื่ อมสภาพ
ยา
INH
Rifampicin
Ethambutal
PZA
ลักษณะทางกายภาพที่เปลี่ยนไป
เม็ดยาเปลี่ยนจากสี ขาวเป็ นขุ่น หรื อเหลืองอ่อน หรื อมีจุด
สี น้ าตาลประปราย
ผงยาจับตัวเป็ นก้อนแข็ง บีบดูจะรู ้สึกว่าแข็ง capsule บุบ
เม็ดยาภายนอกชื้น สัมผัสดูจะรู ้สึกเหนอะหนะ หรื อเยิม้
เหลว
จากสี ขาวเป็ นสี เทาอ่อนเพราะดูดความชื้น แผงอลูมิเนียม
บวม
ยา
ลักษณะทางกายภาพที่เปลี่ยนไป
PAS
ผิวเคลือบเม็ดยาแตก หรื อมีจุดสี ดากระจาย
Cycloserine
เม็ดยาบวม มีลกั ษณะฟู เยิม้
Ofloxacin
Ethionamide
เม็ดยาเปลี่ยนจากสี ขาวเป็ นขุ่น หรื อเหลืองอ่อน หรื อมีจุด
สี น้ าตาลประปราย
เปลี่ยนสี ชื้น เยิม้
Streptomycin
ผงยาเปลี่ยนสี เกาะเป็ นก้อน
Kanamycin
ผงยาเปลี่ยนสี เกาะเป็ นก้อน
คาแนะนา
 ไม่เพิ่มยาเพียงตัวเดียวในการรักษาวัณโรค
 เมื่อเริ่ มการรักษาใหม่ ควรนายาที่ไม่เคยใช้อย่างน้อย
3 ชนิด มาทดสอบ
ความไวของเชื้อ โดย 1 ชนิด ควรเป็ นยาฉีด
 ไม่ควรทานยาแบบวันเว้นวัน ยกเว้นยาฉี ด
 ไม่พบการดื้อข้ามกันระหว่าง streptomycin กับยาฉี ดอื่นๆ
 ไม่นิยมใช้ยาฉี ด 2 ชนิ ดร่ วมกัน
 หากพบการดื้อยา streptomycin ชนิ ดเดียว ให้ระวังเชื้อ M.bovis มากกว่า
M.tuberculosis
Directly Observed Treatment
 DOT
และ DOTS คืออะไร
 Directly
observed treatment
 Directly observed treatment,ShortCourse
ยุทธศาสตร์การควบคุมวัณโรค
 พันธกิจของรัฐบาลต้องดาเนิ นการจริ งจัง ต่อเนื่ อง
 การค้นหาผูป
้ ่ วย ที่เน้นการตรวจเสมหะ
 Short
Course
 DOT
 มีระบบบันทึกข้อมูลที่ถูกต้อง
ทาไมต้องใช้ DOT
 Non-compliance
 MDR,XDR
Organization of TB treatment
service
มีผรู้ ับผิดชอบ
 มีการขึ้นทะเบียน
 การให้สุขศึกษา
 การนัดหมาย/การติดต่อรับการรักษาในช่วงที่เหมาะสม
 การเตรี ยมยาที่กินง่าย
 มียาบริ การต่อเนื่ อง
 สะดวก บริ การที่ดีประทับใจ
 ระบบส่ งต่อ
 ผูป
้ ่ วยทุกรายต้องได้รับการรักษา

แนวทาง
1.ผูป้ ่ วยที่จะให้DOT เรี ยงลาดับความสาคัญตามนี้
 1.1 ผูป
้ ่ วยวัณโรคปอดที่ตรวจเสมหะด้วยกล้องจุลทรศน์ พบเชื้อ Acid
fast bacilli (Smear positive pulmonary TB) ได้แก่
-new case หรื อ ได้รับยาไม่เกิน 1 เดือน
-Relapse, Failure ขาดการรักษาเกิน 2 เดือน
 1.2 ผูป
้ ่ วยวัณโรคปอดที่ตรวจเสมหะด้วยกล้องจุลทรศน์ ไม่พบเชื้อ
Acid fast bacilli (Smear negative pulmonary TB) โดยอาจมีผลเพาะเชื้อ
เป็ น+ หรื อ -
2.DOT observed เรี ยงลาดับความสาคัญ
น่าเชื่อถือ
สะดวก
ยอมรับ
 2.1 เจ้าหน้าที่ บุคลากรในสถานพยาบาลใกล้บา้ น
 2.2 อาสาสมัคร ผูน
้ าชุมชน
 2.3 สมาชิกครอบครัว
ไม่ควรให้ผปู ้ ่ วยเลือก observed เอง
 3. หน้าที่ observed
 ให้กาลังใจ กากับดูแล
 สังเกตอาการผูป
้ ่ วย
 บันทึกการทา DOT
วีธีการดาเนินงาน
1.เตรี ยมบริ การ
 2.ขั้นตอน
 2.1 สอบถามข้อมูลสาคัญ
 2.2 ให้สุขศึกษา ความสาคัญของการทา DOT
 2.3 เลือก observed ถ้ามีการโอนผูป
้ ่ วยควรส่ งสาเนา Treatment card ไปด้วย
 2.4 เจ้าหน้าที่อาจ DOT แบบเว้นระยะเพื่อลดภาระ
 2.5 อสม. ควรมีการเยีย่ มบ้านในช่วง initial phase สัปดาห์ละครั้ง และเดือนละครั้ง
ในช่วงต่อเนื่อง

 2.6 สิ่ งจูงใจเล็กๆน้อยๆ
 2.7 oserved ช่วยจัดการเรื่ องการเก็บเสมหะส่ งตรวจ หรื อการไปพบ
แพทย์ตามนัด
การประเมินผล
Check dot card หรื อ TB card กับจานวนยาที่เหลืออยู่
ดูผลเสมหะเมื่อสิ้ นสุ ดระยะเข้มข้น และสิ้ นสุ ดการรักษา
ทาcohort analysis ของผูป้ ่ วยเพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ในการควบคุมโรค