ผู้จัดการรายวัน

Download Report

Transcript ผู้จัดการรายวัน

กรด-เบส
THE pH SCALE
• pH (พี เอช) ย่อมาจาก positive potential of the hydrogen
ionsหมายถึง หน่วยวัดค่าความเป็ น กรด-ด่าง ซึ่ งมีช่วง
ตั้งแต่ ๐-๑๔ คือ ถ้าความเป็ นกรดในอาหารสู งมาก ค่า pH
= ๐ แต่ถา้ ความเป็ นด่างสู งมาก ค่า pH = ๑๔ หรื อถ้าเป็ น
กลาง ไม่เป็ นกรด ไม่เป็ นด่าง ค่า pH = ๗
•
pH (พีเอช) เป็ นค่าที่แสดงความเป็ นกรดจากปฏิกิริยาของ
อิออนของไฮโดรเจน (H+) สามารถทดสอบได้หลายวิธี
โดยวิธีที่นิยมและง่ายสุ ดคือทดสอบด้วยกระดาษลิตมัส
อินดิเคเตอร์ สำหรับกรด-เบส
• อินดิเคเตอร์ ส่วนใหญ่เป็ นสารอินทรี ย์มีสมบัติเป็ นกรด
อ่อน มีโครงสร้ างซับซ้ อนเป็ นสารที่มีสีและสามารถเปลี่ยนสี
ได้ เมื่อ pH ของสารละลายเปลี่ยนไป เป็ นสารที่ใช้ บอก
ความเป็ นกรด-เบส ของสารละลายได้ อย่างหนึง่ ตามทฤษฎี
ของ Ostwald กล่าวว่าเมื่ออินดิเคเตอร์ อยูใ่ นรู ปโมเลกุล
และเมื่อยูใ่ นรูปไอออนจะมีสีตา่ งกัน
• ความหมายของช่ วง pH ของอินดิเคเตอร์
ช่วง pH ของอินดิเคเตอร์ หมายถึง ช่วง pH ของสารละลาย
ที่อินดิเคเตอร์ คอ่ ย ๆ เปลี่ยนสีจากสีหนึง่ ไปยังอีกสีหนึ่ง หรื อเป็ น
ส่วน pH ที่อินดิเคเตอร์ มีทงสี
ั ้ ของ HIn และสีของ In- ผสม
กัน ในการบอกช่วง pH ของอินดิเคเตอร์ จะต้ องกาหนดสีที่เปลี่ยน
ด้ วย เช่น
โบรโมไทมอลบลู ช่วง pH 6.0 – 7.6
การเปลี่ยนสี
เหลือง – น ้าเงิน
หมายความว่า ถ้ าสารละลายมี pH < 6.0 อินดิเคเตอร์ จะให้ สี
เหลือง ถ้ าสารละลายมี pH > 7.6 อินดิเคเตอร์ จะให้ สีน ้า
เงิน และถ้ าสารละลายมี pH อยูร่ ะหว่าง 6.0 – 7.6 อินดิเคเตอร์ จะ
ให้ สีเขียว ซึง่ เป็ นสีผสม
ตัวอย่างสี ของอินดิเคเตอร์ แต่ละชนิด จะเปลี่ยนในช่วง pH ที่ต่างกัน
ในชีวิตประจาวัน เราใช้ สารที่มีสมบัตเิ ป็ นกรดหรื อเบส
หรื อกลาง หลายชนิด
• บางชนิดอยู่ในอาหาร หรื อเครื่ องดื่มที่เรารั บประทาน เช่ น
นา้ ส้ มสายชู นา้ มะนาว นา้ อัดลม
• บางชนิด เป็ นสารซักล้ างการทาความสะอาด
เครื่ องสาอาง
• สารดังกล่ าว ล้ วนมีค่า ความเป็ นกรด-เบส แตกต่ างกัน ซึ่ง
การบอกความเป็ นกรด-เบส สามารถบอกได้ ด้วยค่ าพีเอช
(pH)
•
• นอกจากนี ้แล้ วความเป็ นกรด เบส ยังมีความสาคัญต่อ
สิง่ มีชีวิตมาก ถ้ าของเหลวในสิง่ มีชีวิตมี pH เปลี่ยนไป
การทางานของระบบต่างๆ จะเกิดการผิดปกติตามไปด้ วย
ค่ า pH ของสารละลายกรด - เบส
• pH มาจาก potential of hydrogen ion ซึง่
สามารถใช้ บอกความเป็ นกรด-เบสของสารละลายได้
• ซึง่ ค่า pH มีความสัมพันธ์กบั ความเข้ มข้ นของไฮโดรเนียม
ไอออน (H3O) ซึง่ ปริ มาณของไฮโดรเนียมไอออนยิ่งมาก
(สารละลายกรด) ค่า pH จะน้ อยแต่ถ้าปริ มาณของไฮโดรเนียม
ไอออนน้ อย (สารละลายเบส) ค่า pH จะมาก ซึง่ ค่า
•
• pH สามารถบอกความเป็ นกรด-เบสได้ ดังนี ้
•
pH = 7 สารละลายมีสมบัตเิ ป็ นกลาง
pH > 7 สารละลายมีสมบัตเิ ป็ นเบส ยิ่งมี pH มาก
ยิ่งเป็ นเบสที่แรงขึน้
pH < 7 สารละลายมีสมบัตเิ ป็ นกรด ยิ่งมี pH น้ อย
ยิ่งเป็ นกรดที่แรงขึน้
สำรละลำยกรด
•
สารละลายกรด (acid solution) คือ
สารละลายที่กรดละลายในน ้า (กรดเป็ นตัวละลาย น ้า
เป็ นตัวทาละลาย) ซึง่ สามารถแตกตัวให้ ไฮโดรเจนไอออน
(H+) เมื่อละลายน ้า
• General Definitions:
• Acid: a substance which when added to
water produces hydrogen ions [H+].
• Base: a substance which when added
to water produces hydroxide ions [OH-].
• Definition of acidic, basic, and neutral
solutions based on pH
• acidic: if pH is less than 7
basic: if pH is greater than 7
neutral: if pH is equal to 7
• Properties:
• Acids:
1. react with zinc, magnesium, or aluminum
and form hydrogen (H2(g))
2. react with compounds containing CO3 and
form carbon dioxide and water
3. turn litmus red
4. taste sour (lemons contain citric acid, for
example) DO NOT TASTE ACIDS IN THE
LABORATORY!!
• Properties:
• Bases:
1. feel soapy or slippery
2. turn litmus blue
3. they react with most cations to precipitate
hydroxides
4. taste bitter (ever get soap in your mouth?)
DO NOT TASTE BASES IN THE LABORATORY!!
• อินดิเคเตอร์ สาหรับกรด-เบส คืออะไร
•
อินดิเคเตอร์ คือ สารที่ใช้ บอกความเป็ นกรดเบส ของสารละลายได้ อย่างหนึ่ง
• เช่น ฟี นอล์ฟทาลีน จะไม่มีสีเมื่ออยูใ่ นสารละลายกรด
และจะเปลี่ยนเป็ นสีชมพู
• 1. กระดาษลิตมัส เป็ นสารละลายของกระดาษลิตมัส
• ค่า pH ต่ากว่า4.5 จะมีสีแดง ช่วง pH 4.5-8.3จะมีสี
ม่วง และค่า pH มากกว่า 8.3 จะมีสีน ้าเงิน
• สารละลายกรดจะเปลี่ยนสีนา้ เงินเป็ นสีแดง และ
สารละลายเบสจะเปลี่ยนสีแดงเป็ นสีนา้ เงิน
•
•
•
•
2. ฟี นอล์ฟทาลีน เป็ นสารละลายใส ไม่มีสี
ถ้ าค่ า pH ต่ากว่ า 8.3 จะไม่ มีสี
ค่ า pH อยู่ระหว่ าง 8.3-10จะมีสีชมพูอ่อน
ถ้ าค่า pH สูงกว่า 10 จะมีสีมว่ งแดง โดยทัว่ ไปในสารละลาย
กรดส่วนใหญ่ ถ้ าหยดสารละลายฟี นอล์ฟทาลีนจะไม่มีสีและใน
สารละลายเบสจะมีสีมว่ งแดง
• 3. ยูนิเวอร์ แซลอินดิเคเตอร์ มีทงในรู
ั ้ ปที่เป็ นสารละลายและอยู่
ในรูปของกระดาษเรี ยกว่า กระดาษ pH ซึง่ ใช้ สะดวกกว่าในรูป
ของสารละลาย อินดิเคเตอร์ ขนิดนี ้เปลี่ยนสีเกือบทุกค่า pHจึง
ใช้ ทดสอบหาค่า pH ได้ ดี
• สมบัตขิ องกรด
1. กรดมีธาตุไฮโดรเจนเป็ นองค์ประกอบที่สาคัญ เช่น HCl ,
H2SO4 , HNO3
2. กรดมีรสเปรี ย้ ว แต่ไม่ควรชิม เพราะกรดบางชนิดเป็ นอันตราย
ต่อเนื ้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต
3. กรดทาปฏิกิริยากับโลหะได้ แก๊ สไฮโดรเจนซึง่ เป็ นแก๊ สที่เบา
ติดไฟได้
4. กรดทาปฏิกิริยากับหินปูน ทาให้ หินปูนกร่อน และ เกิดแก๊ ส
คาร์ บอนไดออกไซด์ ซึง่ มีสมบัติทาให้ น ้าปูนใสขุน่
5. เมื่อนากรดมาทดสอบกับกระดาษลิตมัสจะเปลี่ยนสีกระดาษ
ลิตมัสจากสีน ้าเงินเป็ นสีแดง
•
•
•
•
•
•
•
•
•
PROPERTIES OF ACIDS
Corrosive ('burns' your skin)
Sour taste (e.g. lemons, vinegar)
Contains hydrogen ions (H+) when dissolved in
water
Has a pH less than 7
Turns blue litmus paper to a red colour
Reacts with bases to form salt and water
Reacts with metals to form hydrogen gas
Reacts with carbonates to form carbon dioxide,
water and a salt
Acid Properties:
When dissolved in water, acids
1.Conduct electricity
2.Change blue litmus to red
3.Have a sour taste
4.React with bases to neutralize
their properties
5.React with active metals to
liberate hydrogen.
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
EXAMPLES OF ACIDS
Hydrochloric acid (HCl) in gastric juice
Sulphuric acid (H2SO4)
Nitric acid (HNO3)
Carbonic acid in softdrink (H2CO3)
Uric acid in urine
Ascorbic acid (Vitamin C) in fruit
Citric acid in oranges and lemons
Acetic acid in vinegar
Tannic acid (in tea and wine)
Tartaric acid (in grapes)
•
สมบัติของสารละลายกรด มีดงั นี ้
1. มีรสเปรี ย้ ว เช่น น ้ามะนาว (กรดซิตริ ก) น ้าส้ มสายชู (กรด
แอซีติก) วิตามินซี (กรดแอสคอร์ บิก) เป็ นต้ น
2. ทดสอบโดยการใช้ กระดาษลิตมัส (มี 2 สี คือ สีแดงและสี
น ้าเงิน) ถ้ าใช้ กระดาษลิตมัสสีน ้าเงินจะเกิดการเปลี่ยนแปลงสี
ของกระดาษลิตมัสจากสีน ้าเงินเป็ นสีแดง
แต่ถ้าใช้ กระดาษลิตมัสสีแดงจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงสี
ของกระดาษลิตมัส
3. ทาปฏิกิริยากับโลหะได้ ผลิตภัณฑ์เป็ นแก๊ สไฮโดรเจน (H2)
เสมอ เช่น ปฏิกิริยาของโลหะสังกะสีในกรดเกลือ
ได้ เกลือซิงค์คลอไรด์ (ZnCl2) กับแก๊ สไฮโดรเจน
ดังนัน้
โลหะ + กรด --------> เกลือ + แก็สไฮโดรเจน
โลหะที่เกิดปฏิกิริยา เช่น สังกะสี (Zn), แมกนีเซียม (Mg),
ทองแดง (Cu), เงิน (Ag), อะลูมิเนียม (Al) เป็ นต้ น
4. ทาปฏิกิริยากับสารประกอบคาร์ บอเนต (XCO3; X คือ
ธาตุโลหะใดๆ เช่น หินปูน (CaCO3), โซเดียมไฮโดรเจน
คาร์ บอเนต (NaHCO3) หรื อผงฟู ได้ แก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์
(CO2) เสมอ เช่น
ปฏิกิริยาของหินปูนกับกรดเกลือ ดังสมการ
CaCO3 (s) + 2HCl (aq) --------> CaCl2 (aq) + CO2 (g) + H2O (l)
• ข้ อควรทราบ
- กรดทาปฏิกิริยากับโลหะได้ แก๊ สไฮโดรเจน (H2)
- กรดทาปฏิกิริยากับสารประกอบคาร์ บอเนตได้ แก๊ ส
คาร์ บอนไดออกไซด์ (CO2) เสมอ
5. สารละลายกรดสามารถนาไฟฟ้าได้
6. ทาปฏิกิริยากับเบสได้ เกลือและน ้า
• ข้ อควรทราบ
- กรดทาปฏิกิริยากับโลหะได้ แก๊ สไฮโดรเจน
(H2)
- กรดทาปฏิกิริยากับสารประกอบ
คาร์ บอเนตได้ แก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์ (CO2)
เสมอ
การสลายตัวของกรดคาร์บอนิกในน้ าอัดลมและโซดา
• ประเภทของกรด
กรดแบ่งได้ เป็ น 2 ประเภท คือ
1. กรดอินทรี ย์ หมายถึงกรดที่มีหมูค่ าร์ บอกซิล(
COOH) หรื อซัลโฟนิล ( -SO3H)
เช่น กรดฟอร์ มิก( HCOOH) , กรดแอซิติก
(CH3COOH) , กรดเบนซีลซัลโฟนิก (C6H5SO3H)
2. กรดอนินทรี ย์ หมายถึงกรดที่เกิดจากสิง่ ไม่มีชีวติ
แบ่งได้ 2 ประเภท
2.1 กรดไฮโดร (Hydro acid ) คือ กรดที่ประกอบด้ วย
ธาตุไฮโดรเจนกับอโลหะอื่นที่ไม่ใช่ออกซิเจน
เช่น HF , HBr , HCl , HCN , H2S , HI
2.2 กรดออกซีหรื อออกโซ(Oxy acid or Oxo acid )
คือกรดที่ประกอบด้ วยธาตุไฮโดรเจน ออกซิเจนและ
อโลหะอื่น เช่น H2CO3 , H2SO4 , HNO3 , H2PO4
•
[H+]
pH
Example
100
0
HCl
1 x 10-1
1
Stomach acid
1 x 10-2
2
Lemon juice
1 x 10-3
3
Vinegar
1 x 10-4
4
Soda
1 x 10-5
5
Rainwater
1 x 10-6
6
Milk
1 x 10-7
7
Pure water
1 x 10-8
8
Egg whites
1 x 10-9
9
Baking soda
1 x 10-10
10
Tums® antacid
1 x 10-11
11
Ammonia
1 x 10-12
12
Mineral lime - Ca(OH)2
1 x 10-13
13
Drano®
1 x 10-14
14
NaOH
1
Acids
Neutral
Bases
X
Strength of Acids and Bases:
• Acids
• There are only 6 strong acids: You must learn
them. The remainder of the acids therefore are
considered weak acids.
• HCl
H2SO4
HNO3
HClO4
HBr
HI
เบส
•
•
•
•
•
•
•
PROPERTIES OF BASES AND ALKALIS
Corrosive ('burns' your skin)
Soapy feel
Has a pH more than 7
Turns red litmus paper to a blue colour
Many alkalis (soluble bases) contain hydroxyl ions
(OH-)
Reacts with acids to form salt and water
Base Properties:
When dissolved in water, bases
1.Conduct electricity
2.Change red litmus to blue
3.Have a slippery feeling
4.React with acids to neutralize
their properties
•
•
•
•
EXAMPLES OF BASES AND ALKALIS
Sodium hydroxide (NaOH) or caustic soda
Calcium hydroxide ( Ca(OH)2 ) or limewater
Ammonium hydroxide (NH4OH) or ammonia
water
• Magnesium hydroxide ( Mg(OH)2 ) or milk of
magnesia
• Many bleaches, soaps, toothpastes and cleaning
agents
• สมบัตขิ องเบส
1. ทาปฏิกิริยากับแอมโมเนียมไนเตรดจะให้ แก๊ สแอมโมเนีย
ซึง่ มีกลิ่นฉุน
2. ทาปฏิกิริยากับน ้ามันพืชหรื อไขมันได้ สบู่
3. ทาปฏิกิริยากับโลหะอะลูมิเนียมได้ แก๊ สไฮโดรเจน
4. มีสมบัติลื่นมือคล้ ายสบู่
5. เบสบางชนิดมีสมบัติกดั กร่อนผิวหนังทาให้ เกิดอาการ
ระคายเคือง
6. เมื่อนาเบสมาทดสอบกับกระดาษลิตมัสจะเปลี่ยนสีกระดาษ
ลิตมัสจากสีแดงเป็ นสีน ้าเงิน
• สมบัติของสารละลายเบส มีดงั นี ้
1. มีรสฝาด ขม
2. เมื่อสัมผัสจะลื่นมือ
3. ทดสอบกับกระดาษลิตมัส ถ้ าใช้ กระดาษลิตมัสสี
แดงจะเกิดการเปลี่ยนแปลงสีของกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็ น
สีน ้าเงิน
แต่ถ้าใช้ กระดาษลิตมัสสีน ้าเงินจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง
สีของกระดาษลิตมัส
• 4. ทาปฏิกิริยากับเกลือแอมโมเนีย (NH4Y; Y = ธาตุอโลหะ
เช่น คลอรี น (Cl) ได้ เป็ นแอมโมเนียมคลอไรด์ (NH4Cl) จะ
ได้ น ้าและแอมโมเนีย (NH3) เป็ นผลิตภัณฑ์เสมอ เช่น ปฏิกิริยา
ของด่าง (NaOH, โซเดียมไฮดรอกไซด์)
กับเกลือแอมโมเนียมคลอไรด์
NaOH (aq) + NH4Cl (aq) ------> NaCl (aq) + H2O (l)
เบส
เกลือแอมโมเนียม
เกลือโซเดียมคลอไรด์
นา้
+ NH3 (g)
แอมโมเนีย
5. ไม่ทาปฏิกิริยากับโลหะ ยกเว้ น อะลูมิเนียม (Al) ที่เมื่อทา
ปฏิกิริยาแล้ วจะได้ แก๊ สไฮโดรเจน (H2)
6. ผสมกับน ้ามันหรื อไขมัน จะได้ สบูแ่ ละกลีเซอรอล เรี ยก
ปฏิกิริยานี ้ว่า ปฏิกิริยาการเกิดสบู่ (saponification
reaction)
7. สารละลายเบสนาไฟฟ้าได้
8. ทาปฏิกิริยากับกรดได้ เกลือและน ้า
• เบสอาจแบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ
1. อินทรี ย์เบส คือเบสที่ได้ จากสิง่ มีชีวิต เช่น NH3
2. อนินทรี ย์เบส คือเบสที่ได้ จากสิง่ ไม่มีชีวิต ได้ แก่เบส
ที่เป็ นสารประกอบไฮดรอกไซด์ เช่น KOH ,
NaOH
–การเรียกชื่อเบส
• ให้ เรี ยกชื่อโลหะก่อนแล้ วตามด้ วยไฮดรอกไซด์
เช่น
NaOH = โซเดียมไฮดรอกไซด์
Ba(OH)2 = แบเรี ยมไฮดรอกไซด์
Ca(OH)2 = แคลเซียมไฮดรอกไซด์
Al(OH)3 = อลูมิเนียมไฮดรอกไซด์
• เกลือ คือ สารที่เกิดจาก กรด ทาปฏิกิริยา เบส
หรื อ โลหะ ทาปฏิกิริยากับ อโลหะ
โดยทัว่ ไปจะเป็ น ของแข็งสีขาว ถ้ าเป็ นเกลือใส่ลงไป
ในน ้าจะได้ สารละลาย ซึง่ สารละลายของเกลือทุกชนิด
นาไฟฟ้าได้้ เช่น
ตัวอย่างเกลือ
Acid-Base Reactions
The neutralization reaction of an acid with
a base will always produce water and a
salt, as shown below:
Acid
Base
Water
Salt
HCl +
NaOH
H2O +
NaCl
HBr +
KOH
H2O +
KBr
REACTIONS
WITH ACIDS
ACID
+
BASE
SALT
+
WATER
Hydrochloric Acid
+
Sodium
Hydroxide
Sodium Chloride
+
Water
HCl
+
NaOH
NaCl
+
H2O
ACID
+
METAL
SALT
+ HYDROGEN GAS
Hydrochloric Acid
+
Magnesium
Magnesium Chloride
+
Hydrogen
HCl
+
Mg
MgCl2
+
H2
REACTIONS WITH ACIDS
ACID
+ CARBONATE
Hydrochloric Acid +
HCl
+
SALT
Calcium
Carbonate
Calcium Chloride
CaCO3
CaCl2
+ WATER +
CARBON DIOXIDE
GAS
+ Water
+
Carbon Dioxide
+
+
CO2
H2O
สรุ ปสมบัติของกรด-เบส
กรด
เบส
1. เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากน ้าเงิน
เป็ นแดง
2. ทาปฏิกิริยากับโลหะบางชนิด
เช่น Mg , Zn ได้ ก๊าซ H2
3. ทาปฏิกิริยากับเบสได้ เกลือกับน ้า
4. ทาปฏิกิริยากับคาร์ บอเนต(CaCO3
) หรื อ โซเดียมไบคาร์ บอเนต
( NaHCO3) จะได้ ก๊าซ CO2
5. นาไฟฟ้าได้
1. เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากแดงเป็ น
น ้าเงิน
2. ไม่ทาปฏิกิริยากับโลหะที่อณ
ุ หภูมิ
ปกติ
3. ทาปฏิกิริยากับกรดได้ เกลือกับน ้า
4.ต้ มกับสารละลายแอมโมเนียมคลอไรด์
( NH4Cl) จะได้ ก๊าซแอมโมเนีย
(NH3)
5. นาไฟฟ้าได้
The exact values for the three
indicators we've looked at are
indicator
pKind
pH range
litmus
6.5
5-8
methyl orange
3.7
3.1 - 4.4
phenolphthalein
9.3
8.3 - 10.0
indicators
This is more easily seen diagramatically.
methyl green
Approximate pH range for color change: 0.2-1.8
Color of acid form: yellow
Color of base form: blue
methyl orange
pK: 3.46
Approximate pH range for color change: 3.1-4.4
Color of acid form: red
Color of base form: orange-yellow
methyl red
pK: 5.00
Approximate pH range for color change:
Color of acid form: red
Color of base form: yellow
4.4-6.2
phenolphthalein
pK: 9.5
Approximate pH range for color change: 8.0-9.8
Color of acid form: clear
Color of base form: red-violet
phenolred
Also known as: phenolsulfonephthalein
pK: 8.00
Approximate pH range for color change: 6.4-8.2
Color of acid form: yellow
Color of base form: red
• INDICATORS
• An indicator, when added to an acid, a neutral
substance or a base, will change different colours.
INDICATOR
COLOUR IN COLOUR IN NEUTRAL COLOUR IN
ACID
SOLUTION
BASE
Litmus
red
purple
blue
Bromothymol yellow
Blue
blue
blue
Phenolphthal clear
ein
clear
purple
Universal
Indicator
Yellow-green
purple
red
• Soap is produced by the reaction of
fatty substances with sodium or
potassium hydroxide.
• In chemistry, the fatty substances are
named fatty acids, while the sodium
hydroxide (NaOH) and the potassium
hydroxide (KOH) are known to be very
strong bases
• พืชที่นามาใช้ ทดสอบความเป็ นกรด-เบสได้ เช่น
• กะหล่าปลีสีมว่ ง โดยเด็ด ใบกะหล่าปลีแล้ วหัน่ หรื อบด เติมน ้า
ร้ อนลงไปจนท่วม รอจนน ้าเป็ นสีมว่ ง กรอง ตักกะหล่าปลีออก
นาน ้ากะหล่าปลีที่ได้ ใส่ขวดแก้ วขนาดเล็ก
• กล้ วยไม้ มาดาม อัญชันน ้าเงิน
• ดอกไม้ บางชนิด เช่น เข็มแดง ถ้ าใช้ น ้าร้ อนสกัดอาจไม่ได้ ผล
เนื่องจากมียาง การใช้ แอลกอฮอล์สกัดจะได้ ผลดีกว่า โดยใช้
ดอกเข็มแดงที่หนั่ แล้ วลงในแอลกอฮอล์ ซึง่ บรรจุในขวดเล็กๆ
แล้ วกรอง เอากากออก
พืชที่ใช้เป็ นอินดิเคเตอร์
ตำรำงแสดงกำรเปลีย่ นแปลงของสี ของสำรที่สกัดได้
กรด-เบส ในชีวิตประจาวัน
กรด-เบส ในชีวิตประจาวัน
Common Acids
pH
Hydrochloric acid
Sulphuric acid
Stomach juice
Lemons
Vinegar
Apples
Oranges
Grapes
Sour milk
White bread
Fresh milk
0.1
0.3
1-3
2.3
2.9
3.1
3.5
4
4.4
5.5
6.5
Common Bases
pH
Human saliva
Distilled water
Blood plasma
Eggs
Seawater
Borax
Milk of magnesia
Ammonia water
Limewater
Caustic soda
6-8
7
7.4
7.8
7.9
9.2
10.5
11.6
12.4
14
• สารละลายกรด-เบส ในชีวิตประจาวัน
• ค่า pH ของสารละลายในสิ่งมีชีวิตมีคา่ เฉพาะตัว เช่น
pH ของเอนไซม์ในกระเพาะอาหารมีคา่ ประมาณ 1.5
pH ของเลือดและน ้าลาย มีคา่ เท่ากับ 7.4 และ 6.8
ตามลาดับ
ตารางแสดงค่า pH ของสารในชีวิตประจาวัน
สาร
โซเดียมไฮดรอกไซค์
น ้ายาล้ างทาความสะอาด
นมแมกนีเซียม
น ้ายาเช็ดกระจก
สารบอแรกซ์
ผงฟู
น ้าเปล่าบริ สทุ ธ์ 7
สบูม่ ะนาว
ช่ วง pH
14.0
11.0
10.
9.05
8.5
8.0
7.0
6.0
ตารางแสดงค่า pH ของสารในชีวิตประจาวัน
สาร
ยาแอสไพริน
มะเขือเทศ
เบียร์
แอปเปิ ล้
น ้าส้ มสายชู
น ้ามะนาว
กรดไฮโดรคลอริก
ช่ วง pH
5.0
4.5
4.0
3.0
2.2
2.0
0.0
ตารางแสดงค่า pH ของสารละลายในร่ างกาย
สาร
น ้าย่อยในกระเพาะอาหาร
ปั สสาวะ
น ้าลาย
เลือด
น ้าดี
ช่ วง pH
1.6-2.5
5.5-7.0
6.2-7.4
7.35-7.45
7.8-8.6
ฝนกรด (Acid rain)
• ฝนกรด คือ น ้าฝนที่มี pH ประมาณ 5.6 - 6.0 ซึง่ มี
ภาวะเป็ นกรดอ่อนๆ
• ปั จจุบนั ในประเทศอุตสาหกรรม pH ของน ้าฝนมีคา่
ต่ากว่า 5.6 ทังนี
้ ้เนื่องจากมีการเผาไหม้ เชื ้อเพลิง เช่น
ถ่านหิน น ้ามัน เป็ นต้ น
• เชื ้อเพลิงเหล่านี ้มีสารซัลเฟอร์ (S) อยู่ ทาให้ เกิดแก๊ ส
SO2 ซึง่ เมื่อถูกปล่อยออกมาสูบ่ รรยากาศ และละลายใน
น ้า หรื อถูกออกซิไดส์ตอ่ เป็ น SO3 แล้ วละลายในน ้าฝนได้
กรด H2SO4 แล้ วจะไปเพิ่มความเป็ นกรดให้ กบั น ้าฝน ซึง่
อาจจะทาให้ pH ต่ากว่า 3 ในบริเวณที่มีสภาพแวดล้ อม
ไม่ดี
• SO3 (g) + H2O (l)
H2SO4 (aq)
•
ผลที่เกิดขึ ้นคือ ฝนกรดจะไปทาลายต้ นไม้ ทาลาย
ชีวิตสัตว์น ้า ทาให้ โลหะเกิดการผุกร่อน หินถูกกัด
เซาะ เป็ นต้ น
นอกจากสารประกอบของซัลเฟอร์ แล้ วก็อาจมี
สารประกอบของ N ซึง่ จะถูกเปลี่ยนเป็ น NO2,
HNO2 และ HNO3 ได้ เช่นกัน ซึง่ เมื่อละลายใน
น ้าฝนก็จะไปเพิ่มความเป็ นกรดให้ กบั น ้าฝนได้
• http://www.srb1.go.th/supervie/navattagam_50/elearning/reactant1
2.html
• www.superjeew.com/webboard/viewt...58d8c429
• http://www.thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/js
cripts/tiny_mce/blank.htm
•
•
•
•
http://www.lks.ac.th/student/kroo_su/chem22/indi.htm
http://www.ipst.ac.th/article/science-p/science-p20.html
ednet.kku.ac.th/~sumcha/chem/pag...b1_2.htm
http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science03/07/aci
dbase02.html
• http://chemistry345.9f.com/page3.html