นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ - eDLTV เพื่อพัฒนาอาชีพ

Download Report

Transcript นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ - eDLTV เพื่อพัฒนาอาชีพ

เครื่องวัดไฟฟ้า
เสนอ
่ งโรจน์
นายรุนายรุ
่ งโรจน์
หนูขหนู
ลิบขล
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายร่ ุงโรจน์ หนูขลิบ
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
มาตรฐานรายวิชา
1. เข้ าใจหลักการทางานของเครื่องวัด
ไฟฟ้าชนิดต่ าง ๆ
2. ใช้ เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดต่ าง ๆ วัดค่ า
ทางไฟฟ้า
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
จุดประสงค์ ครั้งนี้
เพือ่ ให้ มคี วามรู้ ความเข้ าใจ และ
สามารถนาไปใช้ ได้ เกีย่ วกับ
1. เพือ่ ให้ รู้ จกั ความหมายของกิโลวัตต์
ฮาวมิเตอร์
2. เพือ่ ศึกษาโครงสร้ างและส่ วนประกอบ
ของกิโลวัตต์ ฮาวมิเตอร์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
จุดประสงค์ ครั้งนี้
เพือ่ ให้ มคี วามรู้ ความเข้ าใจ และ
สามารถนาไปใช้ ได้ เกีย่ วกับ
3. เพือ่ ศึกษาการใช้ กโิ ลวัตต์ ฮาวมิเตอร์
4. เพือ่ รู้ จกั ข้ อควรระวังและการบารุงรักษา
กิโลวัตต์ ฮาวมิเตอร์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ...เครื่องวัดไฟฟ้า....
ชื่อผู้แต่ ง.....อ.เอนก นรสาร.....
สานักพิมพ์ .....ศูนย์ ส่งเสริมอาชีวะ........
ปี ที่พมิ พ์ ....2548........
จังหวัด... กรุ งเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ..เครื่องวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิคส์ ..
ชื่อผู้แต่ ง.....อ.รัชนัย อินทุไส.....
สานักพิมพ์ .....ฟิ สิ กส์ เซ็นเตอร์ .......
ปี ที่พมิ พ์ ....2546........
จังหวัด... นครปฐม...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ..เครื่องวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิคส์ ..
ชื่อผู้แต่ ง.....อ.พันธ์ ศักดิ์ พุฒมิ านิตพงศ์ .....
สานักพิมพ์ ..... ศูนย์ ส่งเสริมอาชีวะ........
ปี ที่พมิ พ์ ....2548........
จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ..เครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิคส์ ..
ชื่อผู้แต่ ง.....อ.ชาญชัย แสนจันทร์ .....
สานักพิมพ์ ..... ศูนย์ ส่งเสริมอาชีวะ........
ปี ที่พมิ พ์ ....2547........
จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หนังสื อหรือเอกสารประกอบการสอน
ชื่อหนังสื อ..เครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิคส์ ..
ชื่อผู้แต่ ง.....อ. วีรธรรม ไชยยงค์ .....
สานักพิมพ์ ..... วังอักษร........
ปี ที่พมิ พ์ ....2547........
จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วัตต์ มิเตอร์ ชนิด 3 เฟส โดยปกติจะ
ประกอบด้ วยวัตต์ มิเตอร์ 1 เฟส 2 เครื่อง
สาหรับขดลวดแรงดันซึ่งเป็ นขดลวด
เคลือ่ นทีจ่ ะยึดติดกับแกนหมุนเดียวกัน
แรงบิดทีเ่ กิดขึน้ จะขึน้ อยู่กบั ผลบวกทาง
พีชคณิตของแรงบิดของวัตต์ มิเตอร์ แต่ ละ
เครื่อง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การวัดกาลังไฟฟ้าสามารถจาแนก เป็ น
2 ประเภท คือ การวัดกาลังไฟฟ้าระบบ 1
เฟส และ การวัดกาลังไฟฟ้ าระบบ 3 เฟส
การวัดกาลังไฟฟ้าของระบบไฟฟ้า 3 เฟส
มี 4 วิธีด้วยกัน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
1. การวัดกาลังไฟฟ้าของระบบ 3 เฟส ด้ วย
วัตต์ มิเตอร์ หนึ่งเฟส 3 ตัว
การวัดกาลังไฟฟ้าด้ วยวิธีนี้ ใช้ วตั ต์
มิเตอร์ แต่ ละตัวต่ อวัดกาลังไฟฟ้าของโหลด
แต่ ละเฟส แล้วเอาผลที่ได้ จากวัตต์ มิเตอร์ แต่
ละตัวมารวมกันทางพีชคณิต
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
จะได้ กาลังไฟฟ้าของวงจรทั้งหมดใน
ขณะนั้น ทั้งในกรณีทโี่ หลดแบบสมดุลและ
แบบไม่ สมดุล วิธีต่อทาได้ โดยนาขดลวด
กระแสของวัตต์ มเิ ตอร์ ต่ออนุกรมกับโหลด
และนาขดลวดแรงดันต่ อขนานกับโหลด
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
Wt = W1 + W2 + W3
Wt = กาลังไฟฟ้ารวมของวงจรสามเฟส
W1 = กาลังไฟฟ้าจากวัตต์ มิเตอร์ ตัวที่ 1
W2 = กาลังไฟฟ้าจากวัตต์ มิเตอร์ ตัวที่ 2
W3 = กาลังไฟฟ้าจากวัตต์ มิเตอร์ ตัวที่ 3
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
Wt = W1 + W2 + W3
ความยุ่งยากแบบนีก้ ค็ อื การทีจ่ ะ
ต่ อขดลวดกระแสอนุกรมกับโหลด ใน
แต่ ละเฟสในขณะทีก่ าลังจ่ ายไฟฟ้ า
ให้ กบั โหลดอยู่ ซึ่งอาจจะทาให้ เกิดการ
อาร์ ครุนแรงได้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
Wt = W1 + W2 + W3
เป็ นการไม่ ประหยัด ซึ่งสามารถใช้
วัตต์ มิเตอร์ 2 ตัว ใช้ วดั กาลังไฟฟ้า ของ
วงจรไฟฟ้าสามเฟสก็ได้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
2. การวัดกาลังไฟฟ้าของระบบไฟฟ้า3 เฟส
ด้ วยวัตต์ มิเตอร์ หนึ่งเฟส 2 ตัว
วิธีนีใ้ ช้ วดั กาลังไฟฟ้ าได้ ท้งั ในกรณีที่
โหลดแบบสมดุลและแบบไม่ สมดุล
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วิธีต่อวงจร คือ นาขดลวดกระแสของ
วัตต์ มเิ ตอร์ แต่ ละตัวต่ ออนุกรมกับสายไฟ
(line)ของโหลด สาหรับขดลวดแรงดันให้ ต่อ
ขนานกับโหลดโดยให้ ปลายที่เหลือของ
ขดลวดแรงดันต่ อรวมกันกับสายไฟ (line)
ที่เหลือ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การวัดกาลังไฟฟ้าวงจร 3 เฟส โดยใช้
วัตต์ มิเตอร์ หนึ่งเฟส2 ตัว กรณีมีโหลดแบบ
สมดุล กาลังไฟฟ้าของวงจร 3 เฟส (Wt) จะมี
ค่ าดังนีค้ อื
Wt = W1 + W2
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วิธีวดั กาลังไฟฟ้าด้ วยวัตต์ มิเตอร์ 2 ตัวนี้
มักจะดัดแปลงเป็ นวัตต์ มิเตอร์ แบบ 3
เฟส ซึ่งนิยมใช้ กบั สวิทช์ บอร์ ด ที่
เรียกว่ า วัตต์ มิเตอร์ หลายเฟส
(Poly phase wattmeter)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
3. การวัดกาลังไฟฟ้าของระบบ 3 เฟส ด้ วย
วัตต์ มิเตอร์ 1 เฟส 1 ตัว
การวัดกาลังไฟฟ้าด้ วยวิธีนี้ ใช้ วตั ต์
มิเตอร์ เพียงตัวเดียววัดกาลังไฟฟ้าของ ระบบ
3 เฟสโดยใช้ สวิทช์ สองทางช่ วย เป็ นวิธี
ประหยัดและค่ าทีไ่ ด้ กถ็ ูกต้ องเช่ นเดียวกันกับ
กรณีที่ใช้ วตั ต์ มิเตอร์ 2 ตัว
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
เมื่อเลือ่ นสวิทช์ ไปยังตาแหน่ ง 1 จะอ่าน
ค่ าได้ ค่าหนึ่งและเมื่อเลือ่ น สวิทช์ ไปยัง
ตาแหน่ ง 2 จะอ่านค่ าได้ อกี ค่ าหนึ่ง แล้วนา
ค่ าที่อ่านได้ ท้งั สองครั้งมารวมกัน ก็จะได้ ค่า
กาลังไฟฟ้ าของวงจร แต่ วธิ ีนีไ้ ม่ นิยมใช้
เหมือนกับวิธีที่ 2 การใช้ วตั ต์ มิเตอร์ 1 ตัววัด
กาลังไฟฟ้ าวิธีนีเ้ หมาะสาหรับกรณีที่โหลด
แบบสมดุลเท่ านั้น
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
4. การวัดกาลังไฟฟ้าระบบ 3 เฟสด้ วยวัตต์
มิเตอร์ 3 เฟส 1 ตัว
วิธีนีก้ ารต่ อวงจรเหมือนกับวิธีวดั
กาลังไฟฟ้าระบบ 3 เฟสด้ วยวัตต์ มิเตอร์
2 ตัว ซึ่งวัตต์ มิเตอร์ 3 เฟส ปกติจะประกอบ
ด้ วยวัตต์ มิเตอร์ 1 เฟส 2 ตัว สาหรับขดลวด
เคลือ่ นทีจ่ ะยึดติดกับแกนหมุนเดียวกัน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แรงบิดทีเ่ กิดขึน้ จะขึน้ อยู่กบั ผลบวกทาง
พีชคณิตของแรงบิดจากวัตต์ มิเตอร์ แต่ ละตัว
เมือ่ เข็มชี้ไปหยุดอยู่ ณ ตาแหน่ งใดให้ อ่านค่ า
โดยตรงได้ เลย
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
1. การวัดค่ากาลังไฟฟ้ าในวงจร ควร
ศึกษาการใช้งานวัตต์มิเตอร์ก่อน
2. ต้องคานึงถึงขั้วการวัดตามคู่มือ
ถ้าต่อผิดขั้ว ก็จะทาให้ค่ากาลังที่ได้
ผิดพลาดหรื ออาจทาความเสี ยหายได้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
3.ในการวัดต้องคานึงย่านวัดด้วยเนื่อง
จากค่าที่ได้จากเข็มชี้ตอ้ งนามาคูณกับตัว
คูณซึ่งค่าคูณในแต่ละย่านวัดมีค่าไม่
เท่ากัน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
4. ในการปรับย่านวัดแต่ละครั้ง ควรนา
สายวัดออกจากจุดวัดก่อนเสมอ
5. ป้ องกันมิให้โวลท์มิเตอร์ได้รับการ
กระทบกระเทือน ฝุ่ นละออง ความชื้น
และความร้อน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
6.ในการวัดต้องระมัดระวังอันตรายจาก
ไฟฟ้ าดูดได้ โดยเฉพาะในการย่านวัด
กาลังที่ค่าแรงดันสู ง ๆ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
กิโลวัตต์ ฮาว์ มิเตอร์ หรือ วัตต์ ฮาวร์ มิเตอร์
วัตต์ ฮาวร์ มิเตอร์ ส่ วนใหญ่ เป็ น
เครื่องวัดที่ทางานด้ วยการเหนี่ยวนาไฟฟ้า
ถูกสร้ างขึน้ มาเพือ่ วัดปริมาณกาลังไฟฟ้า
กระแสสลับทั้งในบ้ านเรือน และในโรงงาน
อุตสาหกรรม โดยมีหน่ วยวัด พลังงานไฟฟ้า
เป็ นกิโลวัตต์ ชั่วโมง (Kilowatt-hour)
จาแนกตามระบบไฟฟ้ าได้ 2 ประเภท
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แบ่ งตามชนิดของระบบไฟฟ้าได้ 2 ชนิด
1) กิโลวัตต์ ฮาว์ มิเตอร์ ชนิด 1 เฟส
2) กิโลวัตต์ ฮาว์ มิเตอร์ ชนิด 3 เฟส
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วัตต์ ฮาวร์ มิเตอร์ 1 เฟส
(single phase watt-hour meter)
ทางานเหมือนกับวัตต์มิเตอร์ชนิด
การเหนี่ยวนาไฟฟ้ า และมีส่วนประกอบที่
เหมือนกันคือ
ขดลวดกระแสไฟฟ้ า (Current coil) และ
ขดลวดแรงดันไฟฟ้ า (Potential coil)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ส่ วนที่แตกต่างกัน คือในวัตต์มิเตอร์ จะแสดง
ค่าด้วยการบ่ายเบนของเข็มชี้ ซึ่งใช้ช้ ีค่าบน
สเกล ส่ วนวัตต์ฮาวร์มิเตอร์จะแสดงค่าโดย
ใช้แม่เหล็กเหนี่ยวนาให้เกิดกระแสไหลวนทา
ให้จานหมุนและใช้ชุดเฟื องไปขับชุดตัวเลข
ให้แสดงค่าออกมาบนหน้าปัทม์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
โครงสร้ าง ประกอบด้ วยขดลวดกระแส
ต่ ออนุกรมกับโหลด และขดลวดแรงดันต่ อ
ขนานกับโหลด ขดลวดทั้งสองชุดจะพันอยู่
บนแกนเหล็กที่ออกแบบโดยเฉพาะและมีจาน
อะลูมเิ นียมบาง ๆ ยึดติดกับแกนหมุน วางอยู่
ในช่ องว่ างระหว่ างขดลวดทั้งสอง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หลักการทางาน
ขดลวดกระแสและ ขดลวดแรงดันทา
หน้าที่สร้างสนามแม่เหล็กส่ งผ่านไปยังจาน
อะลูมิเนียมที่วางอยูร่ ะหว่างขดลวดทั้งสอง
ทาให้เกิดแรงดันไฟฟ้ าเหนี่ยวนาและมีกระแส
ไหลวน (Eddy current) เกิดขึ้นในจาน
อะลูมิเนียม
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แรงต้านระหว่างกระแสไหลวนและ
สนามแม่เหล็กของขดลวดแรงดันจะทาให้
เกิดแรงผลักขึ้น จานอะลูมิเนียมจึงหมุนไป
ได้ ที่แกนของจานอะลูมิเนียมจะมีเฟื องติด
อยู่ เฟื องนี้จะไปขับชุดตัวเลขที่หน้าปัด
ของเครื่ องวัด
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
แรงผลักที่เกิดขึ้นจะเป็ นสัดส่วน
ระหว่างความเข้มของสนามแม่เหล็กของ
ขดลวดแรงดันและกระแสไหลวนในจาน
อะลูมิเนียม และขึ้นอยูก่ บั จานวนรอบของ
ขดลวดด้วย ส่ วนจานวนรอบการหมุน
ของจานอะลูมิเนียมขึ้นอยูก่ บั การใช้พลัง
งานไฟฟ้ าของโหลด
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
โครงสร้ างของวัตต์ อาวร์ มเิ ตอร
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การนาไปใช้ งาน
การต่อวัตต์ฮาวร์มิเตอร์หรื อกิโลวัตต์
ฮาวร์มิเตอร์เพื่อใช้วดั ปริ มาณพลังงานไฟฟ้ า
ด้านที่ต่อกับแหล่งจ่ายจะมีตวั เลขกากับไว้ คือ
1S และ 2S ส่ วนด้ านที่ต่อไปยังโหลดจะมี
ตัวเลขกากับไว้ คอื 1L และ 2L
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การนาไปใช้ งาน
ตัวอักษร S ย่อมาจากคาว่า “Supply”
หมายถึงด้านที่จ่ายไฟเข้า ส่ วนอักษร L ย่อมา
จากคาว่า “Load” หมายถึงด้านที่ต่อ กับโหลด
ไฟฟ้ า ส่ วนตัวเลข 1 หมายถึงต่ อกับสายไฟ
(Line) และเลข 2 หมายถึง สายนิวทรอล
(Neutral)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วัตต์ ฮาวร์ มิเตอร์ 3 เฟส แบบ 3 จานหมุน
และ 2 จานหมุน
เครื่องวัดแบบนีม้ ีส่วนประกอบ
เหมือนกับวัตต์ มิเตอร์ ชนิด 3 เฟส หรือ
อาจจะเอาวัตต์ ฮาวร์ มิเตอร์ หนึ่งเฟส 3 ตัวมา
ประกอบร่ วมกันเป็ น วัตต์ ฮาวร์ มิเตอร์ สาม
เฟส
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วัตต์ ฮาวร์ มิเตอร์ 3 เฟส แบบ 3 จานหมุน
และ 2 จานหมุน
หลักการทางาน อาศัยการทางาน
เหมือนกับวัตต์ มิเตอร์ ชนิดเหนี่ยวนาไฟฟ้า
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วัตต์ ฮาวร์ มิเตอร์ 3 เฟส แบบ 3 จานหมุน
และ 2 จานหมุน
การนาไปใช้ งาน การต่ อใช้ งานวัตต์
ฮาวร์ มิเตอร์ สามเฟสแบบ 3 จานหมุนหรือ
อาจจะนาวัตต์ ฮาวร์ มิเตอร์ หนึ่งเฟส 2 ตัวมา
ประกอบร่ วมกันเป็ นกิโลวัตต์ ฮาวร์ มิเตอร์ 3
เฟส แบบ 2 จานหมุน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ (Power factor)
เป็ นเครื่ องวัดความแตกต่าง
ระหว่าง เฟสของแรงดันไฟฟ้ าและ
กระแสไฟฟ้ าของวงจร ที่เกิดขึ้น
นาหน้าหรื อหล้าหลัง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
คุณสมบัตขิ อง R เมื่อเราจ่ ายแรงดันให้
วงจรที่มตี ัวความต้ านทานอยู่อย่ างเดียว จะ
ทาให้ กระแสในวงจรนั้นเฟสเดียวกับแรงดัน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
คุณสมบัตขิ อง C เมื่อเราจ่ ายแรงดันให้
วงจรทีม่ ตี วั เก็บประจุประกอบอยู่แล้ ว จะทา
ให้ กระแสในวงจรนั้นนาหน้ าแรงดันอยู่ 90
องศา กระแสนีจ้ ะต่ าง ๆ กับกระแสที่ไหลใน
ตัวต้ านทาน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
คุณสมบัตขิ อง L เมื่อเราจ่ ายแรงดันให้
วงจรที่มขี ดลวดประกอบอยู่แล้ว จะทาให้
กระแสในวงจรนั้นล้าหน้ าแรงดันอยู่ 90
องศา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ (Power factor)
ของวงจรไฟฟ้ า สามารถที่จะคานวณได้
จากสู ตร
P  E * ICos 
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
P  E * ICos 
Cos θ = ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
P = กาลังไฟฟ้ า มีหน่วยเป็ นวัตต์
E = แรงดันไฟฟ้ ามีหน่วยเป็ นโวลท์
I = กระแสไฟฟ้ ามีหน่วยเป็ นแอมแปร์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
เครื่ องวัดเพาเวอร์แฟคเตอร์ประดิษฐ์
ขึ้นมา โดยดัดแปลงมาจากเครื่ องวัดไฟฟ้ า
ชนิดขดลวดเคลื่อนที่แบบอิเล็กโทรไดนาโม
มิเตอร์ การบ่ายเบนของเข็มชี้จะเป็ น
อัตราส่ วนระหว่างกาลังไฟฟ้ า (P) ต่อโวลท์
แอมแปร์ (VxA)
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หรื อบางครั้งเรี ยกว่า เรโชมิเตอร์
(ratio meter) และเครื่ องวัดแบบนี้สามารถจะ
บอกค่าที่วดั ได้วา่ กระแสล้าหลัง(Lag) หรื อ
นาหน้าแรงดัน (Lead) โดยที่การบ่ายเบนของ
เข็มชี้ จะขึ้นอยูก่ บั อัตราส่ วน (ratio)ระหว่าง
กระแสที่ไหลผ่านขดลวดเคลื่อนที่ท้ งั สองชุด
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ถ้ากระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านขดลวด
เคลื่อนที่ชุดใดมีมุมต่างเฟสกับกระแสของ
โหลดน้อยมาก ก็จะทาให้เข็มชี้บ่ายเบนไป
นอกจากนี้ เมื่อขดลวดเคลื่อนที่ไปแล้วจะ
หยุดนิ่ง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
เมื่อขดลวดเคลื่อนที่ไปแล้วจะหยุดนิ่ง
โดยไม่ตอ้ งอาศัยแรงบิดควบคุมจากสปริ ง
หรื อน้ าหนักถ่วงแรงเหมือนกับโวลท์มิเตอร์
หรื อแอมมิเตอร์
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
โครงสร้ างและส่ วนประกอบคล้ายกับ
วัตต์ มิเตอร์ ชนิดขดลวดเคลือ่ นที่แบบอิเล็ก
โทรไดนาโมมิเตอร์ 1 เฟส คือมีขดลวดทีอ่ ยู่
กับที่ (Fix coil : F) 1 ชุดต่ ออนุกรมกับ
โหลด แตกต่ างกันที่ส่วนเคลือ่ นที่จะมี
ขดลวดเคลือ่ นที่(Moving coil) สองชุดยึด
ติดกับแกนหรือเพลาเดียวกัน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
และวางตั้งฉากซึ่งกันและกัน ขดลวด
เคลือ่ นทีช่ ุดหนึ่ง (M1) จะต่ อขนานกับ
โหลดโดยมีตัวต้ านทาน (Resistance) ต่ อ
อนุกรมอยู่ สนามแม่ เหล็กของ M1 จะ
ผลักดันกับสนามแม่ เหล็กของขดลวด F
แรงบิดที่เกิดขึน้ จะเป็ นสั ดส่ วนกับส่ วนของ
กระแสของขดลวด M1
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
มีเฟสเดียวกันกับเส้ นแรงแม่ เหล็กของ
ขดลวด F ขดลวดเคลือ่ นทีช่ ุดทีส่ อง (M2)
จะต่ อขนานกับโหลดและมีขดลวดเหนี่ยวน
า (Inductance) ต่ ออนุกรมอยู่ด้วย กระแสที่
ไหลผ่ านขดลวด M2 นีจ้ ะล้าหลังแรงดัน
ประมาณ 90 องศา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ดังนั้นแรงบิดที่เกิดขึน้ จากขดลวดชุด
นีจ้ ะเป็ นสั ดส่ วนกับกระแสของโหลดที่มมี ุม
ต่ างเฟสกับแรงดันของโหลด 90 องศา
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
หลักการทางาน
เมื่อต่อเครื่ องวัดเพาเวอร์แฟคเตอร์ เข้า
กับวงจรไฟฟ้ าที่มีโหลดประเภทความ
ต้านทาน ( R ) จะมีค่า P.F. เท่ากับ 1
กระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านขดลวดอยูก่ บั ที่ F จะ
มีเฟสเดียวกัน (In phase) กับแรงดันของ
โหลดและกระแสของขดลวดเคลื่อนที่ M1
จะมีเฟสเดียวกับโหลดด้วย
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ทาให้ M1 เกิดแรงบิดบ่ายเบนสูงสุ ด
เข็มจะชี้ค่าที่ก่ ึงกลางสเกลตรงหมายเลข 1
ส่ วนขดลวด M2 จะไม่เกิดแรงบิดบ่ายเบน
เพราะเส้นแรงแม่เหล็กต่างเฟสกับขดลวด F
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ถ้าโหลดเป็ นประเภท ตัวเหนี่ยวนา ( L )
หรื อตัวเก็บประจุ ( C ) จะมีค่า P.F. น้อยกว่า 1
ขดลวดเคลื่อนที่ M2 จะเกิดแรงบิดทาให้เข็มชี้
บ่ายเบนไปในทิศทางล้าหลัง(Lag) หรื อนาหน้า
(Lead) ขึ้นอยูก่ บั กระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านโหลด
ส่ วนขดลวด M1 จะไม่เกิดแรงบิดบ่ายเบน
เนื่องจากเส้นแรงแม่เหล็กตั้งฉากกับขดลวด F
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การนาไปใช้ งาน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การนาไปใช้ งาน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วาร์ มิเตอร์ (Var meter) เป็ นเครื่องมือวัด
ทางไฟฟ้ าที่วดั ปริมาณกาลังไฟฟ้าที่เกิดขึน้
ภายในวงจรไฟฟ้าทีป่ ระกอบด้ วยอุปกรณ์ L
หรือ C ค่ าที่อ่านออกมานั้น เป็ นแรงดัน คูณ
กระแส คูณ ด้ วยค่ าต้ านกลับ VAR
VOLT-AMP-REACTIVE
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
-*- กาลังไฟฟ้ าที่ปรากฏ S = E*I
-*- กาลังไฟฟ้าจริง P = E*I Cosθ
-*- กาลังไฟฟ้าต้ านกลับ Q = E*I Sinθ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
ซึ่งมีที่มาจากค่าอิมพีแดนซ์ ของ
โหลดในวงจร ทาให้เกิดกาลังไฟฟ้ า
ได้ 3 รู ปแบบ
-*- กาลังไฟฟ้ าต้ านกลับ PR = E*I Sinθ
-*- กาลังไฟฟ้าที่ปรากฏ PA = E*I
-*- กาลังไฟฟ้าจริง PT = E*I Cosθ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
กาลังไฟฟ้าจริง
กาลังไฟฟ้าปรากฏ
P
cos  
S
Q
sin  
S
กาลังไฟฟ้าต้ านกลับ
กาลังไฟฟ้าปรากฏ
Q
tan  
P
กาลังไฟฟ้าต้ านกลับ
กาลังไฟฟ้าจริง
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
วาร์ มิเตอร์ (Var meter) นิยมสร้ างแบบอิ
เล็กโทรไดนาโมมิเตอร์ มีขดลวด 3 ขด ขด
ใหญ่ ว่ างขนานกัน อยู่กลับที่ 2 ขด หรือ ขด
กระแส ขดที่ 3 เป็ นขดแรงดัน มีขนาดเล็ก อยู่
ตรงกลางเคลือ่ นที่ ได้ เชื่อมติดกับแกนร่ วมกับ
เข็มชี้
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
การนาวาร์ มิเตอร์ แบบอิเล็กโทร
ไดนาโมมิเตอร์ ไปต่ อใช้ งาน ต้ องต่ อวงจร
ทั้งขดลวดคงที่ (ขั้วA, ±) และขดลวด
เคลือ่ นที่(ขั้วV,±) เข้ าด้ วยกัน นาไปต่ อกับ
ภาระทีต่ ้ องการวัดค่ า และต่ อเข้ าแหล่ ง
จ่ ายแรงดันของวงจร
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
1. การวัดค่ ากาลังไฟฟ้าในวงจร ควร
ศึกษาการใช้ งานวัตต์ มิเตอร์ และทา
ความเข้ าใจเรื่องกาลังไฟฟ้าทั้ง 3
ประเภทให้ เข้ าใจเป็ นอย่ างดีก่อน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
2.ป้องกันมิให้ วาร์ มิเตอร์ ได้ รับการ
กระทบกระเทือนฝุ่ นละออง ความชื้น
และความร้ อน
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
3.ในการวัดต้ องระมัดระวังอันตรายจาก
ไฟฟ้าดูดได้ โดยเฉพาะในการย่ านวัด
กาลังทีค่ ่ าแรงดันสู ง ๆ
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ
สอบถามข้ อสงสั ยได้ ที่
แผนกช่ างไฟฟ้า
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
ถนนเลียบวัง อาเภอหัวหิน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77110
โทร.(032)520500 , 520481
นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ