ดาวน์โหลดไฟล์ PowerPoint เรื่อง

Download Report

Transcript ดาวน์โหลดไฟล์ PowerPoint เรื่อง

ประเทศไทย
กับสังคมสวัสดิการ
ดร. วรวรรณ ชาญด้วยวิทย์
สถาบันวิจยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย
29 พฤศจิกายน 2555
หัวข้อการบรรยาย
• อดีตและปจั จุบนั
o ประวัตยิ อ่
o รูปแบบสวัสดิการสังคมหลักๆ ในต่างประเทศ
o สวัสดิการสาหรับคนไทยกลุม่ ต่างๆ
• อนาคต
o สวัสดิการสังคมทีค่ นไทยต้องการ
o ค่าใช้จา่ ย ใครเป็ นผูจ้ า่ ย
ประวัตยิ ่อๆ
• สแกนดิเนเวีย
• เยอรมัน
• อังกฤษ
รูปแบบสวัสดิการสังคมหลักๆ
บทบาทของรัฐ
กลุม่ ที่ 1
กลุม่ ที่ 3
กลุม่ ที่ 2
บทบาทสูง
รัฐร่วมจ่าย
บทบาทน้อย
ถ้วนหน้า
ถ้วนหน้าแต่
แบ่งเป็ นกลุม่
อาชีพ
ถ้วนหน้าแบบพอ
ยังชีพ แต่เน้นช่วย
กลุม่ เป้าหมาย
อาศัยเงินจากภาษี
ค่อนข้างสูง
ผูไ้ ด้ประโยชน์รว่ ม
สมทบ
เก็บภาษีต่า
ช่วยเหลือเฉพาะ
คนจน
VDO
สวัสดิการสาหรับคนไทยกลุม่ ต่างๆ
•
•
•
•
•
ประวัตยิ อ่ ๆ
วัยเด็ก
วัยผูใ้ หญ่
วัยสูงอายุ
ทุกช่วงวัย
VDO
สวัสดิการสังคมในอนาคต
ไปทางไหนดี?
ควรทราบ: ประชากรในอนาคต
45
40
35
30
25
20
15
10
5
0
-
-
อายุ 0-14
อายุ 15-59
อายุ 60+
2593
2588
2583
2578
2573
2568
2563
2558
2553
2548
2543
2538
2533
2528
2523
2518
2513
2508
2503
2498
2493
%
80
สัดส่วนประชากรวัยต่างๆ
70
60
แผนฯ 3 – แผนฯ 7
50
40
30
20
10
0
ควรทราบ: สาเหตุทต่ี อ้ งมีบทบาทของรัฐ
• ความล้มเหลวของตลาด (market failures)
o ตัวอย่าง การประกันสุขภาพ การประกันการว่างงาน
• แต่ตอ้ งระวังความล้มเหลวของรัฐ (government failures)
o รัฐมีขอ้ จากัดเรือ่ งข้อมูล เช่น การไม่รวู้ า่ จะมีผสู้ งู อายุจานวนมาก ทาให้เงินใช้จา่ ยเพือ่
การรักษาพยาบาลและบานาญสูงขึน้
o รัฐมีขอ้ จากัดในการตอบสนองการปรับตัวของตลาด เช่น รัฐกาหนดราคาค่า
รักษาพยาบาล แต่หมอและคนไข้เป็ นผูก้ าหนดการใช้บริการ และการรักษา
o รัฐมีขอ้ จากัดในการควบคุมผูป้ ฏิบตั งิ าน เช่น หมอและคนใช้รวมมือกันในการทาให้คา่
รักษาพยาบาลแพงขึน้
o รัฐมีขอ้ จากัดในด้านการสนับสนุนทางการเมือง เช่น นักการเมืองระดับจังหวัดสนับสนุน
ให้ผลู้ าออกจากงานได้รบั เงินประกันการว่างงาน
สวัสดิการสังคมทีค่ นไทยต้องการ
•
•
•
•
ถ้วนหน้า หรือเฉพาะคนจน
สวัสดิการทีจ่ ดั โดยรัฐควรครอบคลุมอะไรบ้าง
ผูด้ าเนินการควรเป็ นใคร
คนไทยเต็มใจจ่ายภาษีเพิม่ หรือไม่
ทาแบบสอบถาม
แสดงผลการสารวจคนไทย
10
ค่าใช้จ่ายสวัสดิการสังคม
ค่าใช้จ่ายเพือ่ การศึกษา
ประมาณ 3.5-3.9 % ของ GDP
12
ค่าใช้จ่ายเพือ่ การศึกษา OECD
% of GDP
Primary
Secondary
Tertiary
8
7
6
OECD Average =4.8%
5
4
3
2
1
0
13
การศึกษาและสวัสดิการสังคม
ค่าใช้จ่ายสวัสดิการสังคม
15
สวัสดิการด้านสุขภาพ 2551
สวัสดิการผูส้ ูงอายุ 2551
ค่าใช้จ่ายสวัสดิการสังคม 3 แสนล้านบาท
18
ประมาณค่าใช้จ่าย
แสนล้านบาท
เด็ก
เงินสงเคราะห์บุตร 350 บาท
ค่าใช้จา่ ยเพือ่ การศึกษาต่อหัวเพิม่ 20%
สุขภาพถ้วนหน้า
กรณี 1 แบบข้าราชการ
กรณี 2 แบบประกันสังคม
ผูส้ งู อายุ
ข้าราชการ
บานาญถ้วนหน้า
รวม (เด็ก สุขภาพ และสูงอายุ)
กรณี 1 แบบข้าราชการ
กรณี 2 แบบประกันสังคม
2553
2570
4.17
0.65
3.52
3.83
0.60
3.24
6.33
2.03
1.19
0.49
0.70
8.11
2.56
2.59
1.55
1.04
11.69
7.40
14.54
8.98
19
ประมาณค่าใช้จ่าย
เด็ก
เงินสงเคราะห์บตุ ร 350 บาท
ค่าใช้ จ่ายเพื่อการศึกษาต่อหัวเพิ่ม 20%
สุขภาพถ้ วนหน้ า
กรณี 1 แบบข้ าราชการ
กรณี 2 แบบประกันสังคม
ผู้สูงอายุ
ข้ าราชการ
บานาญถ้ วนหน้ า
รวม (เด็ก สุขภาพ และสูงอายุ)
กรณี 1 แบบข้ าราชการ
กรณี 2 แบบประกันสังคม
% of GDP (ข้อสมมติ
growth 2%)
% of GDP (ข้อสมมติ
growth 4%)
2553
2570
2553
2570
4.42
0.68
3.73
2.90
0.45
2.45
4.25
0.66
3.59
2.00
0.31
1.69
6.70
2.15
1.26
0.52
0.74
6.14
1.93
1.96
1.17
0.79
6.45
2.07
1.22
0.50
0.71
4.24
1.34
1.36
0.81
0.54
12.38
7.84
11.00
6.79
11.91
7.54
7.60
4.70
20
ระบบสวัสดิการสังคม
บทบาทของรัฐ: บนหลักความเสมอภาคและความยัง่ ยืน
ข้าราชการ
ลูกจ้าง
อาชีพอื่นๆ
21
ตัวอย่าง หลักประกันสุขภาพ
• กระทรวงสาธารณสุขทาหลายบทบาท จนทาให้เกิดความ
ขัดแย้งของผลประโยชน์ในฐานะของการเป็ นผูก้ ากับ
• วิวฒ
ั นาการของหลักประกันสุขภาพสาหรับประชาชน 3 กลุ่ม
เป็ นแบบตัวใครตัวมัน
• ขาดคนกลางทีจ่ ะดูแลว่าประชาชนได้รบั หลักประกันสุขภาพที่
เป็ นธรรม
• ประเทศขาดกลไกทีจ่ ะกากับการใช้เงินจากภาษีของประชาชน
22
ตัวอย่าง หลักประกันรายได้ผูส้ ูงอายุ
• วิวฒ
ั นาการของหลักประกันด้านรายได้ของผูส้ งู อายุในประเทศไทยมีความ
เป็ นมาคล้ายๆ กับหลักประกันสุขภาพ คือ เป็ นวิวฒ
ั นาการแบบแนวตัง้
ขาดการบูรณาการ ขาดนโยบายภาพรวมทีม่ องประโยชน์ของประชาชน
เป็ นหลัก และขาดความเป็ นธรรม
• การสนับสนุนจากรัฐสาหรับผูส้ งู อายุแต่ละกลุ่มขาดความโปร่งใสและความ
น่าไว้วางใจ
23
ผลของการสมทบเงินต่อช่องว่างของรายได้
กรณี รัฐช่วยออมเท่ากันทุกคน
กรณี ยิง่ ออมมากรัฐสมทบมาก
กลุ่มรายได้
รายได้
เฉลีย่
ภาษี
(40%)
รัฐช่วยออม
สมทบ
รายได้หลังภาษีและ
รับเงินออมสมทบ
A (20%)
1000
400
240
840
500
1100
B (20%)
800
320
240
720
400
880
C (20%)
600
240
240
600
150
510
D (20%)
400
160
240
480
100
340
E (20%)
200
80
240
360
50
170
สัดส่วนระหว่าง
กลุ่ม A และ E
5/1
(=1200)
(=1200)
2.33/1
(=1200)
6.47/1
รัฐช่วย
รายได้หลังภาษีและ
ออมสมทบ รับเงินออมสมทบ
24
ผลของการสมทบเงินต่อช่องว่างของรายได้
กรณี รัฐช่วยออมเท่ากันทุกคน กรณี ยิง่ ออมมากรัฐสมทบมาก
กลุม่ รายได้
รายได้
เฉลีย่
ภาษี
(40%)
A (20%)
1000
E (20%)
สัดส่วนระหว่าง
กลุม่ A และ E
รัฐช่วย
ออมสมทบ
รายได้หลังภาษี
และรับเงินออม
สมทบ
รัฐช่วยออม
สมทบ
รายได้หลังภาษี
และรับเงินออม
สมทบ
400
240
840
500
1100
200
80
240
360
50
170
5/1
(=1200)
(=1200)
2.33/1
(=1200)
6.47/1
25
ประเทศไทยยังขาดกลไกสาคัญทีจ่ ะให้หลักประกันด้านรายได้สาหรับผูส้ ูงอายุเป็ น
ระบบทีม่ คี วามเป็ นธรรม และดูแลเรื่อง
•
•
•
•
•
•
•
บานาญพืน้ ฐานควรเป็ นเท่าไร
บานาญของประชาชนกลุม่ ต่างๆ ควรมีการปรับตามอัตราเงินเฟ้อหรือไม่
อายุเกษียณสาหรับคนไทย
กติกา การย้ายกองทุนของสมาชิกกลุม่ ต่างๆ
ธรรมาภิบาลของกองทุนต่างๆ
ความมันคงของกองทุ
่
นต่างๆ ควรได้รบั การติดตามอย่างไร
การบริหารจัดการบางอย่างร่วมกัน เช่น ระบบข้อมูล การเก็บเงิน การ
จ่ายเงิน สามารถทาร่วมกันได้หรือไม่เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพของระบบ
• กองทุนต่างๆ สามารถต่อรองกับรัฐบาลเพือ่ ให้ออกพันธบัตรผลตอบแทน
สูงแก่ประชาชนได้หรือไม่ และอื่นๆ ทีเ่ ป็ นประโยชน์แก่ประชาชนทุกกลุม่
26
สวัสดิการสังคมของไทยกาลังพัฒนาไปตามแบบไทยๆ
ค่าใช้จา่ ยในอนาคตจะสูงเพียงใดขึ้นอยู่กบั ทางเลือกของ
สวัสดิการที่ตอ้ งการ ปัญหาจะไม่ได้อยู่ท่คี ่าใช้จา่ ย แต่จะเป็ น
ปัญหาของการจัดการระบบให้มีประสิทธิภาพและเป็ นธรรม
และเป็ นระบบที่ประชาชนไว้ใจ (trust)
อภิปราย
สรุปผลแบบสอบถาม
27