การเปลี่ยนแปลงของชุมชนและประชาชน

Download Report

Transcript การเปลี่ยนแปลงของชุมชนและประชาชน

การเปลีย
่ นแปลงของชุมชนและ
สั งคมไทยทีม
่ ผ
ี ลกระทบตอระบบราชการ
่
พลเดช ปิ่ นประทีป
สถาบันชุ มชนท้องถิ่นพัฒนา
25 มกราคม 2554
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
เทคโนโลยี
สมัยใหม่
ระบบ
ทุนนิยม
โลก
ประเทศ
สังคม
ชุมชนท้องถิ่น
ประชาธิปไ
ตย
ภาวะโลก
ร้อน
อุดมการณ์ทนุ นิยม 6 ประการ (Core
• มนุษย์เป็ นปั จจัยการผลิต (แรงงาน)
Value)
• เงินทุนเป็ นปั จจัยการผลิตที่สาคัญ
• ให้ความสาคัญแก่ระบบตลาด(แข่งขัน)
• มนุษย์เป็ นลูกค้า(ผูบ้ ริโภค)
• ทุกสิ่งอย่างมีราคา(สินค้า)
• ยอมรับการเป็ นเจ้าของทรัพย์สินส่วนบุคคล
ผลกระทบจากระบบทุน
• ค่านิยมและพฤติกรรมบริโภคนิยม
นิย• มระบบเศรษฐกิจที่มุ่งกาไรสูงสุด
• วิถีการผลิตแบบ Mass, ผลิตเพื่อขาย, Standard,
ความเชี่ยวชาญที่แยกย่อย
• เงินเป็ นศูนย์กลาง การเก็งกาไร การเคลื่อนย้ายเงินทุนรอบโลก
• วิกฤตเศรษฐกิจเป็ นวงจรตามธรรมชาติ
ผลกระทบจากระบบทุนนิยม
• ใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็ นต้นทุน
• คนเป็ นทั้งปั จจัยการผลิต และเป็ นตลาด
• คุณภาพชีวิตดีข้ ึน สะดวกสบายมากขึ้น
• ความรู ้ ข้อมูลข่าวสาร เข้าถึงได้ง่ายขึ้น
• ความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจ และสังคม
ผลกระทบจากเทคโนโลยี
•
เปลี
ย
่
นพฤติ
ก
รรมและความเคยชิ
น
ของมนุ
ษ
ย์
สมัยใหม่
• การปฏิวตั กิ ารเกษตร การปฏิวตั อิ ุตสาหกรรม
การปฏิวตั เิ ทคโนโลยีสื่อสาร
• จานวนและโครงสร้างประชากร
• ประชากรยุคดิจติ อล (Digital Natives)
• สื่อ (Traditional & New Media)
ผลกระทบจากภาวะโลกร้อน
• ภาวะเรือนกระจก
• พิบตั ภิ ยั ธรรมชาติ
• การตัง้ ถิ่นฐานของมนุษย์
• โรคระบาด (เก่าและใหม่)
ผลกระทบจากกระแสประชาธิปไตย
• การปฏิเสธเผด็จการ, คณาธิปไตย
• สิ้นสุดยุคสงครามเย็น
• จากประชาธิปไตย โดยตัวแทนสูป่ ระชาธิปไตย
แบบการมีส่วนร่วม
• การกระจายอานาจ จากส่วนกลางสูท่ อ้ งถิ่น
• การเพิ่มบทบาทแก่ภาคประชาสังคม
• การลดอานาจรัฐ เพิ่มอานาจประชาชน ดุลอานาจสามเส้า
• การปฏิรูประบบราชการและองค์กรรัฐ
“วาด
มชนเขมแข็
ง และ
่ วยชุ
้
้
ประชาสั งคม”
• ชุมชน
- ชุมชนหมู่บา้ น/ชุมชนท้องถิ่น
- ชุมชนที่มีขอบเขตกว้าง
- ชุมชนที่ไร้พรมแดน
• ความเป็ นชุมชน
• ประชาคม
• ประชาสังคม
• ชุมชนเข้มแข็ง
• องค์กรชุมชน
• ผูน
้ าชุมชน
• นักพัฒนาชุมชน
ความเคลื่อนไหวประชาสังคมในโลก
ตะวั• พันฒตก
นาการแนวคิดประชาสังคม
• ยุคก่อตัวแนวคิดประชาสังคม (ก่อนศตวรรษ 18)
• ยุครัฐชาติสมัยใหม่ (ศตวรรษที่ 18-19)
• ยุคประชาสังคมร่วมสมัย (ศตวรรษที่ 20)
ความเคลื่อนไหวประชาสังคมในประเทศ
ไทย
• อานาจรัฐกับภาคประชาชนในสังคมไทย
• สังคมกับการตรวจสอบถ่วงดุลอานาจรัฐ
- ยุคก่อน 2475
- ยุค 2475-2516
- ยุคหลัง 14 ตุลา 16
แนวคิดวัฒนธรรมชุมชนกับ
การเคลื่อนไหวสังคมแนว
- ระยะที่ 1 ทางเลือกการพัฒนา (2520-2529)
ใหม่
- ระยะที่ 2 ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ-สังคม (2530-2539)
- ระยะที่ 3 อุดมการณ์ของสังคม (2540
รูปแบบการเปลี่ยนแปลงทาง
การเมื• การพั
องการปกครอง
ฒนาและแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
• การรัฐประหาร
• การปฏิรูป
• การปฏิวตั ิ
ขบวนการปฏิรปู สังคมไทย
- ปฏิรูปการเมือง (2538-2540)
- ปฏิรูปการศึกษา (2541-...)
- การกระจายอานาจ (2542-...)
- ปฏิรูปสื่อ (2542-...)
- ปฏิรูประบบสุขภาพ (2543-2550)
- ปฏิรูประบบราชการ (2545-...)
- ปฏิรูประบบยุตธิ รรม (2546-...)
การปรับตัวของระบบราชการ
 การกระจายอานาจ
- จากส่วนกลาง, ภูมิภาค สูท่ อ้ งถิ่น
- จากส่วนราชการ สูช่ ุมชน, ประชาสังคม
- จากราชการสูธ่ ุรกิจ
 การลดขนาดกาลังคนภาครัฐ
การปรับตัวของระบบราชการ
 การเปลี่ยนรูปแบบองค์กรในการบริหารจัดการแบบใหม่
- SDU
- องค์การมหาชน
- รัฐวิสาหกิจ
การปรับตัวของราชการ
 ความเข้าใจและยอมรับสถานการณ์จริงในการเปลี่ยนแปลง
 การเปลี่ยนแปลงบทบาทและสถานะความสัมพันธ์
- จากผูป้ กครองเป็ นผูใ้ ห้บริการ
- จากผูด้ าเนินการ เป็ น ผูก้ ากับดูแล
- จากผูพ้ ฒ
ั นา เป็ น ผูเ้ อื้ออานวย
- จากนักปฏิบตั กิ าร เป็ น นักวิชาการ
 การปรับตัวในกระแสความขัดแย้งทางสังคมการเมือง
- ข้าราชการ VS นักการเมือง
- ข้าราชการ VS ชุมชนและประชาสังคม
- ข้าราชการ VS ท้องถิ่น
- ข้าราชการ VS ธุรกิจ
- ข้าราชการ VS สื่อมวลชน