การจัดการความรู้

Download Report

Transcript การจัดการความรู้

องค์กรแห่งการเรี ยนรู้กรมสุ ขภาพจิต
:
แนวคิดสู่ การปฏิบตั ิจากแผน 10 สู่แผน 11
โดย
นายแพทย์ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์
ผูบ้ ริ หารสูงสุ ดด้านการจัดการความรู้ กรมสุ ขภาพจิต
พันธกิจ
เพื่อความสุข
ที่ยงยื
ั ่ นของสังคมไทย
ค่านิยม
วิสยั ทัศน์
หน่ วยงาน 17 โรงพยาบาล/สถาบัน 14 ศูนย์สขุ ภาพจิต และ 10 หน่ วยงานส่วนกลาง
วิสยั ทัศน์ กรมสุขภาพจิต แผน ฯ 10
 เป็ นองค์กรมาตรฐานการพัฒนางานสุขภาพจิต
ทัง้ ด้านส่งเสริม ป้ องกัน รักษาและฟื้ นฟู
 เป็ นศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศ องค์ความรู้ ตลอดจน
เทคโนโลยีด้านสุขภาพจิตของประเทศ
 เป็ นศูนย์กลางประสานงานความร่วมมือทางวิชาการ
สุขภาพจิตในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
 เป็ นองค์กรที่มีการบริหารที่ดีเยี่ยม มีขนาดกะทัดรัด
คล่องตัว มีบคุ ลากรที่มีคณ
ุ ภาพ
เพือ่ ความสุ ขทีย่ งั่ ยืนของสั งคมไทย
พันธกิจกรมสุ ขภาพจิต แผนฯ 10
 พัฒนา ผลิต และถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี
ด้านสุขภาพจิตและจิตเวชแก่เครือข่าย และประชาชน
 บริการสุขภาพจิตและจิตเวชที่มีคณ
ุ ภาพ มาตรฐาน เป็ นธรรม
และทันต่อสถานการณ์แก่ผปู้ ่ วยที่มีปัญหารุนแรง ยุ่งยาก
ซับซ้อน
ยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : เสริมสร้างศักยภาพของประชาชน
ในการดูแลสุขภาพจิต เข้าถึงบริการสุขภาพจิต
และให้โอกาสผูท้ ี่อยู่กบั ปัญหาสุขภาพจิต
ยุทธศาสตร์ที่ 2 : ส่งเสริมและพัฒนาภาคีเครือข่ายทัง้ ในและ
นอกระบบสาธารณสุขในการดาเนินงาน
สุขภาพจิต
ยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนาความเชี่ยวชาญสู่การเป็ นศูนย์กลาง
ทางวิชาการด้านสุขภาพจิต
ยุทธศาสตร์ที่ 4 : พัฒนาคุณภาพมาตรฐานและความเป็ น
เลิศเฉพาะทางด้านบริการจิตเวช
ยุทธศาสตร์ที่ 5 : พัฒนาความสามารถในการเพิ่มประสิทธิภาพ
ของการบริหารองค์กรและสมรรถนะบุคลากร
ค่านิยมกรมสุขภาพจิต
M
E
N
T
A
L
=
=
=
=
=
=
service Mind
Efficiency
Network
Team work
Accountability
Learning
วิสยั ทัศน์ KM กรมสุขภาพจิต
แผน 10 : พัฒนาขีดความสามารถของบุคลากร
สุขภาพจิตในการดาเนินงาน
ให้ ประชาชนมีสุขภาพจิตดี
แผน 11 : มุ่งเน้ นองค์ กรแห่งการเรียนรู้
เพื่อบรรลุวสิ ัยทัศน์ /พันธกิจกรม
1. เป้ าหมาย KM กรมสุขภาพจิต
6. ภาพความสาเร็จ
2.แนวคิด KM
กรมสุขภาพจิต
5. กลวิธี /ปัจจัย
ความสาเร็จ
3.โครงสร้าง /
บทบาทหน้ าที่
4. Road map
เกณฑ์คณ
ุ ภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ลักษณะสาคัญขององค์กร
สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย
2. การวางแผน
เชิงยุทธศาสตร์
และกลยุทธ์
5. การมุ่งเน้น
ทรัพยากรบุคคล
1. การนา
องค์กร
3. การให้ความสาคัญ
กับผูร้ บั บริการและ
ผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสีย
6. การจัดการ
กระบวนการ
4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู ้
7. ผลลัพธ์
การดาเนินการ
1. เป้ าหมายของ KM
องค์กร
- บรรลุเป้าหมายองค์กร
- ทัวถึ
่ งทัง้ องค์กร
งาน
- บูรณาการ
คน
- คิดเป็ น ทาเป็ น
- ประสิทธิภาพ /ประสิทธิผล
คน
+
องค์กร
เก่งขึน้
2. แนวคิดกรมสุขภาพจิตเรื่อง KM

บูรณาการใช้ความรู้ เพื่อพัฒนางาน
 ใช้ KM เพื่อเพิ่มคุณภาพงาน
 ใช้ KM ขับเคลื่อน พันธกิจ / ยุทธศาสตร์กรม
 นาองค์กรสู่ LO โดยมี วิสย
ั ทัศน์ รว่ ม
จิตวิญญาณร่วม
ค่านิยมร่วม
แนวคิด ปิรามิดความรู้
การใช้ความรู้ เพื่อพัฒนางาน
CQI
KM
P D C A
P D S I
R&D
กาหนดวัตถุประสงค์การวิจยั
ศึกษาวิเคราะห์ค้นหาข้อมูล
ออกแบบ นวตกรรม
ทดสอบและปรับปรุง
ประชาสัมพันธ์ /ขยายผล
KM
1. บ่งชี้ความรู้
2. สร้างและแสวงหาความรู้
3. จัดการให้เป็ นระบบ
4. ประมวลและกลันกรอง
่
5. เข้าถึงความรู้
6. แลกเปลี่ยนเรียนรู้
7. เรียนรู้
แนวคิดหลักของ CEO และ CKO
• “ทา KM ไม่ใช่เพื่อดาเนินงานตามแนวทางการจัดการความรู้
ที่ ก.พ.ร. กาหนดเท่านัน้ ”
• “ใช้ KM ไม่ใช่ทา KM”
• “ทา KM มุ่งเน้ นเพื่อสร้างวัฒนธรรมการจัดการความรู้ภายในองค์กร”
• “นา KM ไปใช้อย่างทัวถึ
่ ง และทัวทั
่ ง้ องค์กร”
• “ทา KM ให้เนี ยนไปกับเนื้ องาน”
• “การดาเนินงาน KM ยึดหลักการมีส่วนร่วม”
• “คนทา KM ต้องมีความสุข”
แนวคิด CKO
ใช้ KM
- บูรณาการกับงานปกติ
- พัฒนางาน
- สร้างคุณค่าคน
- สร้างนวัตกรรมองค์กร
ถูก KM ใช้
- เป็ นงานพิเศษ
- จัดกิจกรรม
- ใช้คน
- กิจกรรมชัวคราว
่
CEO
3. โครงสร้างบทบาทหน้ าที่
CKO
คณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารจัดการความรู้
กรมสุขภาพจิต ผูบ้ ริหารระดับสูง ผูบ้ ริหาร
หน่วยงาน สานักพัฒนาสุขภาพจิตเป็ นเลขานุ การ
กาหนดแนวทางพัฒนาระบบการ
จัดการความรู้ ควบคุม กากับ
รายงานความก้าวหน้า /วิเคราะห์
คณะทางานพัฒนาระบบบริหารจัดการความรู้
กรมสุขภาพจิต CKO /FA หน่วยงานในสังกัดสานัก
พัฒนาสุขภาพจิตเป็ นเลขานุการ
จัดทาข้อเสนอแนะ แนวทาง/
เป้าหมายการจัดการความรู้ ชีแ้ จง
ทาความเข้าใจ ติดตามประเมินผล
พัฒนาปรับปรุงการทางาน
ทุกหน่วยงานในสงั กัดกรมสุขภาพจิต (17
สถาบัน/โรงพยาบาล 15 ศูนย์สข
ุ ภาพจิต 10
หน่วยงานสว่ นกลาง)
ทางานจัดการความรู ้ / ทีมจัดการความรู ้ มี
CEO /CKO ผลักดัน/บริหารจัดการ/ บริหาร
แผนการจัดการความรู ้
4. Road Map /
พัฒนาการ งาน KM ของกรมสุขภาพจิต ช่ วงแผน 10
ยุคริเริ่ม
(ปี 2548 – 2550)
• มีการจัดองค์กรเพื่อผลักดันงาน
( CKO/KM Team)
• สื่อสารนโยบายสูก่ ารปฏิบตั ิ
• พัฒนาบุคลากร
• ใช้ KM สร้ างความรู้ใหม่
• จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ระดับกรม
(ตลาดนัดความรู้สสู่ ขุ ภาพจิตดี)
• ทุกหน่วยงานในสังกัดมีการจัดการ
ความรู้ผ่านตัวชี ้วัดตามคารับรองฯ
ยุคพัฒนา
(ปี 2552 – 2554)
• เน้ นผลักดันความสาเร็จของตัวชี ้วัดตาม
ประเด็นยุทธศาสตร์
• ใช้ ประโยชน์จากความรู้ที่ผ่าน KM
• บูรณาการ KM กับเครื่ องมือพัฒนา
คุณภาพอื่นๆ เช่น CQI, R2R, R&D
• ยกระดับคุณภาพความรู้
• เข้ าสูค่ วามเป็ นเลิศ / การพัฒนาอย่างเป็ น
ระบบ ด้ วยการ KMA
Short & Long-term
KM
อนาคต
2554
2551 - 2553
2550
2549
2548
•
•
•
•
่ งค์กรแห่งการเรียนรู ้
สูอ
+ ว ัฒนธรรมการเรียนรู ้
• บูรณาการก ับเครือ
่ งมือคุณภาพต่างๆ
่ มอบความรูเ้ ข้าระบบ
• สง
• ยกระด ับคุณภาพความรู ้
่ ก
• ขยาย KM สูท
ุ หน่วยงาน สน ับสนุนยุทธศาสตร์
กรม/หน่วยงาน + ขยายหน่วยนาร่อง KM ข้ามหน่วย
• พ ัฒนาคล ังความรู ้
ั
้ ง + พ ัฒนาศกยภาพบุ
• ขยายระบบพีเ่ ลีย
คลากร
• ยกระด ับคุณภาพความรู ้
• หาหน่วย good /Best practice
่ ก
• ขยาย KM สูท
ุ หน่วยงาน สน ับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์กรม/
หน่วยงาน + หน่วยนาร่องความรูข
้ า้ มหน่วยงาน
ั
้ ง + พ ัฒนาศกยภาพบุ
• พ ัฒนาระบบพีเ่ ลีย
คลากร
• จ ัดโครงสร้างเชงิ ระบบ(CKO, คณะกรรมการ, คณะทางาน KM)
• เสริมสร้างท ัศนคติทด
ี่ ใี นการใช ้ KM
เตรียมความพร้อมด้านโครงสร้างเชงิ ระบบ ระด ับหน่วยงาน
่ ารสร้างนวตกรรม
มีหน่วยนาร่องทาKM สูก
ั
พ ัฒนาศกยภาพบุ
คลากร
เสริมสร้างท ัศนคติทด
ี่ ใี นการใช ้ KM
• เตรียมความพร้อมด้านโครงสร้างเชงิ ระบบ ระด ับกรม
• สร้างความตระหน ัก ความรู ้ ความเข้าใจและท ักษะทีจ
่ าเป็นในการจ ัดการความรู ้
ให้แก่คณะทางาน KM ของทุกหน่วยงาน
5. กลวิธ ี /ปั จจัย
่ วามสาเร็จ
สูค
ปัจจ ัย
่ วามสาเร็จ
สูค
ด ้านผู ้บริหาร
ด ้านกระบวนการ
และเครือ
่ งมือ
ด ้านทีมขับเคลือ
่ น
กลวิธ ี
1. จัดโครงสร ้างองค์กร
2. หาแนวคิดทีเ่ หมาะสม
3. กาหนดนโยบายเรือ
่ ง KM
4. จุดประกายขายความคิด
5.พัฒนาวิชาการ
6. เพิม
่ คุณค่า เสริมความสุขใจ
กลวิธีที่ 2
แสวงหาแนวคิด KM ที่เหมาะสม
ต่อการดาเนินงานสุขภาพจิต
1. สถาบันส่ งเสริมการจัดการความรู้ เพือ่ สั งคม (สคส.)
2.
การจัดทาแผนการจัดการความรู้ ตามแนว ก.พ.ร
แนวคิดการจัดการความรู้
1. สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม
(สคส.)
 โมเดลปลาทู
 การจัดการความรูแ้ บบสองวง
 โมเดลปลาตะเพียน
แนวคิดการจัดการความรู้
2. การจัดทาแผนการจัดการความรู้ตามแนว ก.พ.ร.
 KMP
 ซีรอ็ กซ์ โมเดล (CMP)
การดาเนินงานการจัดการความรู้ กรมสุขภาพจิต ปี 49 - 54
กรมสุขภาพจิต
การจัดการความรู้กลุ่มภารกิจ
ด้านพัฒนาการแพทย์(ตัวชี้วดั ....)
หน่ วยงาน
ในสังกัดกรมสุขภาพจิต
การจัดการความรู้เพื่อ
สนับสนุนประเด็น
ยุทธศาสตร์กรม
สุขภาพจิต KM ใน PMQA
(ตัวชี้วดั .....)
การจัดการความรู้
ของทุกหน่ วยงานใน
สังกัดกรมสุขภาพจิต
(ตัวชี้วดั ที่....)
การนาเครื่องมือ “การจัดการความรู้ ” ไปใช้ ในการพัฒนางาน
สุขภาพจิตครอบคลุมทุกประเด็นยุทธศาสตร์ และทั่วทัง้ องค์ กร
โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการความรู้ กรมสุ ขภาพจิต
จัดสรรงบประมาณ
กาหนดแนวทางการจัดการความรู้
วางระบบการติดตามประเมินผล
(ตัวอย่าง) แผนการดาเนินงาน
ภายใต้โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการความรู้ กรมสุขภาพจิต
กิจกรรม
1. การสื่อสาร
- ประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบ
บริหารจัดการความรู้
- สัมมนา CKO ด้านการจัดการความรู้
- ประชุมคณะทางานพัฒนาระบบบริหาร
จัดการความรู้
ปี 2550 ปี 2551
ปี 2552
ปี 2553 ปี 2554















2. การพัฒนาศักยภาพบุคลากร
- จัดอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากร





3. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับกรมฯ
- ตลาดนัดความรู้ส่สู ขุ ภาพจิตดี





4. การพัฒนาฐานข้อมูล/สินทรัพย์ความรู้
- ปรับปรุง Website KM กรมสุขภาพจิต





การใช้ KM เป็ นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพ
หน่ วยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิต
สนับสนุนการ
ดาเนินงาน
ตามประเด็น
ใช้ KM
สนับสนุน ยุทธศาสตร์
กิจกรรม
ปี 50
ในโครงการ
KM
เรียนรู้
เข้าใจ
ปี 48
ปี 49
ขยายประเด็น
สนับสนุน / ความรู้เพื่อผลักดัน
ผลักดัน
ความสาเร็จของ
ความสาเร็จ ตัวชี้วดั ตามประเด็น
ของตัวชี้วดั ยุทธศาสตร์
ตามประเด็น
ปี 52 - 54
ยุทธศาสตร์
ปี 51
…LO
จังหวะก้าวของทีม Facilitator ระดับกรม
ในการผลักดันให้หน่ วยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิตนา KM ไปใช้
เป็ นทีมพี่เลี้ยง +
คัดเลือกหน่ วยนาร่องอื่น +
หน่ วย PM
(บริหารและติดตามผล)
เป็ นหน่ วยนาร่อง
เรียนรู้ตามก.พ.ร. +
เอื้ออานวยการเรียนรู้
แก่ทกุ หน่ วยงาน
KM
แสวงหาเรียนรู้
เข้าใจ
ปี 48
ปี 49
ปี 50 - 54
ขัน้ ตอนการเอื้ออานวยให้เกิดการยอมรับ KM
Co - creating
Counseling
Testing
Selling
Telling
สรุป บทบาทการเป็ น FA สู่ ความสาเร็จ
ในการขับเคลือ่ นงาน KM







มุมมอง / ความคิด / เข้าใจบริบท
เริ่มเรียนรู้ด้วยตนเอง
เป็ นแบบอย่าง
ตัวเชื่อม
คิดก่อนทา (ไตร่ตรอง ออกแบบงาน)
วางจังหวะก้าวการเรียนรู้
สรุปบทเรียน
ตัวอย่ างเทคโนโลยี/นวัตกรรมด้ านการพัฒนาคุณภาพการให้ บริการ
• องค์ ความรู้ เรื่ อง การบริหารระบบการจัดการด้ านยาจิตเวช ให้ มี
คุณภาพตามมาตรฐาน HA
• ชุดความรู้ และแนวปฏิบัตเิ รื่ อง การวางแผนจาหน่ ายผู้ป่วยจิตเภท
• โปรแกรม Sakeao Inter-Network Assiting Program(SINAP)
• “ เสือ้ อิสระ” สาหรั บผูกยึดผู้ป่วย ที่มีพฤติกรรมก้ าวร้ าวรุ นแรง
สับสน
ตัวอย่าง เทคโนโลยีสนับสนุนระบวนการถ่ายทอด ฯ
เช่น คู่มือ วิทยากรสอนเรือ่ งเครียด
ตัวอย่างนวัตกรรม / เทคโนโลยีของกระบวนการ
ระบบการแจ้งรายละเอียดของการจ่ายเงินเดือนผ่านทางเว็ปไซต์
แนวคิดหลักของ CEO และ CKO
• “ทา KM ไม่ใช่เพื่อดาเนินงานตามแนวทางการจัดการความรู้ที่ ก.พ.ร.
กาหนดเท่านัน”
้
• “ใช้ KM ไม่ใช่ทา KM”
• “ทา KM มุง่ เน้ นเพื่อสร้ างวัฒนธรรมการจัดการความรู้ภายในองค์กร”
• “นา KM ไปใช้ อย่างทัว่ ถึง และทัว่ ทังองค์
้ กร”
• “ทา KM ให้ เนียนไปกับเนื ้องาน”
• “การดาเนินงาน KM ยึดหลักการมีสว่ นร่วม”
• “คนทา KM ต้ องมีความสุข”
ผูบ้ ริหารสูงสุดของกรมสุขภาพจิต (CEO)
1. กาหนดนโยบายและเน้ นยา้ ความสาคัญเรือ่ งการ
จัดการความรู้
2. บ่งชี้ความรูท้ ี่สาคัญของกรม
3. ส่งเสริมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการ
จัดการความรู้
4. สนับสนุนทรัพยากรทางการบริหารเพื่อการจัดการ
ความรู้
5. จูงใจโดยการชมเชยและให้รางวัล
“คุณเอื้อ” (Chief Knowledge Officer - CKO)
กรมสุขภาพจิต
1. เชื่อมันและศรั
่
ทธาใน KM
2. ศึกษาและตัดสินใจเลือกรูปแบบการจัดการความรู้
ที่เหมาะสมกับบริบทของกรมสุขภาพจิต
3. จุดประกายและขายความคิดเรื่อง KM ให้แพร่หลายทัวทั
่ ง้
องค์การ
4. มีส่วนร่วมกิจกรรม KM
5. สนับสนุนและให้กาลังใจผูป้ ฏิบตั ิ และทีมงาน
กลวิธี่ 5
พัฒนาวิชาการด้านการจัดการ
ความรู้
การพัฒนาบุคลากร
5.1 จัดเวทีเรียนรูเ้ รือ่ ง KM แก่คณะทางาน KM ทุก
หน่ วยงาน(อย่างน้ อย 60 % ของคณะทางาน)
5.2 จัดประชุมเชิงปฏิบตั ิ การเพื่อพัฒนาทักษะการจัดการ
ความรูแ้ ก่บคุ ลากรที่ทางานด้านการจัดการความรู้
5.3 จัดเวทีสาธิตการแลกเปลี่ยนเรียนรูภ้ ายใต้ประเด็น
เฉพาะแก่บคุ ลากรที่ปฏิบตั ิ งานด้านสุขภาพจิต
5.4 จัดเวทีเรียนรูแ้ ละแลกเปลี่ยนเรียนรูใ้ นตลาดนัด
ความรูส้ ่สู ขุ ภาพจิตดี
5.5 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูเ้ พื่อพัฒนางานเฉพาะเรือ่ ง
การพัฒนาศักยภาพบุคลากร KM ปี 48 - 53
แนวคิด KM
เทคนิค / ทักษะ
การบริหารจัดการ
2 หลักสูตร / 2 รุ่ น
8 หลักสูตร / 10 รุ่ น
2 หลักสูตร / 2 รุ่ น
แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ ต่าง ๆ
หลั-- การจั
กกิจกรรมแลกเปลี
สูดตเวทีรการอบรมปี
่ยนความรู้ที่เด่นชัด
-การจัดทาแผนการจัดการ
ความรู้
- การจัดทาแผนการจัดการ
ความรู้ตามแนวทาง KMP
+ CMP
- การสร้ างความตระหนักและ
ความเข้ าใจเรื่ อง KM
- KM กับการพัฒนา
องค์กรแห่งการเรี ยนรู้
-
- ทักษะ “คุณอานวย” อย่างมีคณ
ุ ภาพ
- ทักษะ “คุณลิขิต” อย่างมีคณ
ุ ภาพ
- ทักษะการประมวลและร้ อยเรี ยง
- ทักษะคุณอานวยและคุณลิขิตมืออาชีพ
- ทักษะการถอดบทเรี ยนและการประเมิน
แบบเสริ มพลัง
-Digital KM
ต้ นทุนทางทรัพยากรบุคคล
1. ทุนปั ญญาที่ส่ ังสมจากประสบการณ์ ในหน้ างาน
2. การทางานในรูปแบบสหวิชาชีพ
3. เทคนิค ทักษะที่ใช้ ในการทางาน เช่ น การฟั ง การถาม
การทากลุ่ม
3. คุณลักษณะและความสามารถร่ วมที่ได้ รับการฝึ กฝนจาก
การทางาน
3.4.1 การสังเกต
3.4.2 การใส่ ใจ เข้ าใจ เห็นอกเห็นใจ
3.4.3 ความสามารถในการสื่อสาร
กลวิธีที่ 6
การเสริมคุณค่า
และสร้างความสุขใจ
เวที แลกเปลีย
่ น เรียนรู้
ผลงาน การจัดการความรู้ จาก
หน
วยงาน
่
โครงการตลาดนัดความรูสู
้ ่
สุ
ข
ภาพจิ
ต
ดี
ครั
ง
้
ที
่
6
ระหวางวันที่ 8 - 10 สิ งหาคม
่
2554
ณ โรงแรมปริน
้ ซพาเลช
มหานาค
์
ผู้เขาร
ง้ หมด
393 คน จาก
้ วมงานทั
่
กรุ
งเทพมหานคร
บุคลากรสั งกัดกรมสุขภาพจิต
และจากหน่วยงานภาครัฐอืน
่ ๆ /
 30 หน่วยงาน นาผลงานจาก KM มาจัดแสดงนิทรรศ
เอกชน
รวม 30 เรือ
่ ง
 ความพึงพอใจตอการจั
ดงานฯ
่
ผู้เขาร
้ วมงาน
่
ของ
มแรงใจ
ดวยการยกย
องชมเชย
วัลเสริ
ชนะเลิ
ศผลงานการจั
2554
้ ดการความรู
่ ดี
้ เดนปี
่
KM กับบริการสุขภาพจิตและจิ
1 ตเวช
2
3
KM กับการสนับสนุ นการทางานของเครื
อขาย
่
1
KM กับการเพิม
่ ประสิ ทธิภาพในการทางาน
1
งวัลหน่วยงานทีด
่ าเนินการจัดการความรูเพื
่ สนับสนุ น/ผล
้ อ
สาเร็จของตัวชีว้ ด
ั ตามประเด็นยุทธศาสตรของกรมสุ
ขภาพ
์
อบรางวัลหน่วยงานหลักทีด
่ าเนินงาน/ผลักดันความสาเร็จ
ในคารับรองการปฏิบต
ั ริ าชการระดับกลุมภารกิ
จดานพั
ฒนา
่
้
สิ่งดีๆจากการนา KM มาใช้ในกรมสุขภาพจิต
จากการสารวจทีมการจ ัดการความรูป
้ ี 53
KM กับการพัฒนาบุคลากร
• บุคลากรมีความรู้ และ นา KM ไปใช้กบั งานประจามากขึน้ กระตือรือร้นใน
การทางานมากขึน้ เห็นและเพิม่ คุณค่าของผูป้ ฏิบตั งิ านมากขึน้
• มีการแลกเปลีย่ น แบ่งปนั ความรู้ ความคิดเห็น และเรียนรูเ้ ทคนิคการ
ทางานต่าง ๆ กันมากขึน้ ทัง้ ภายในหน่วยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิต
กับผูร้ บั บริการ เครือข่าย
• สร้างบรรยากาศทีด่ ใี นการทางาน เช่น เกิดการรับฟงั ความคิดเห็น
ระหว่างผูบ้ งั คับบัญชาและผูป้ ฏิบตั งิ าน มีการทางานเป็ นทีมมากขึน้
เห็นความสาคัญซึง่ กันและกันว่าต่างเป็ นฟนั เฟืองในการทางาน
สิ่งดีๆจากการนา KM มาใช้ในกรมสุขภาพจิต
KM กับการพัฒนางานอย่างต่อเนื่ อง
• มีนวัตกรรมและองค์ความรู้ใหม่ทงั ้ ด้านการบริการ และ วิชาการ
ที่สามารถนาไปใช้ปฏิบตั ิ งานได้จริง
• มีการนา KM ไปบูรณาการกับงานประจา ทาให้งานมี
ประสิทธิภาพมากขึน้ มีแนวทางการดาเนินงานที่เป็ นมาตรฐาน
ลดข้อผิดพลาด ความซับซ้อนในการทางาน เกิดคลังความรู้
ของหน่ วยงาน ประหยัดทรัพยากรในการทางาน เป็ นต้น
สิ่งดีๆจากการนา KM มาใช้ในกรมสุขภาพจิต
ลักษณะของการนา KM ไปใช้ในหน่ วยงานในสังกัดกรม
• นา KM ไปบูรณาการกับเครื่องมือการพัฒนาคุณภาพขององค์กร
ได้แก่ HA, CQI, HR (17 แห่ง จากทัง้ หมด 29 แห่ง)
• จากทัง้ หมด 29 หน่วยงาน พบว่า ร้อยละ 50 มีการนา KM ไปใช้
ในทุกหน่ วยงานย่อย (15 หน่วยงาน) ทีเ่ หลือมีการนาไปใช้ใน
บางหน่วยงานย่อย
• มีชุมชนนักปฏิบตั ิ (CoP) ทีด่ าเนินงานมาอย่างต่อเนื่อง
ตัง้ แต่ปี 2550 หรือ 2551 - 2553 ทัง้ สิน้ 21 CoPs จาก13 หน่วยงาน
สิ่งดีๆจากการนา KM มาใช้ในกรมสุขภาพจิต
จากรายงานผลการดาเนินงาน KM ของทุกหน่ วย(ปี 50 – 53)
KM กับการพัฒนาองค์กร
• มีความรู้ที่ช่วยสนับสนุนการดาเนินงาน
ทัง้ 5 ประเด็นยุทธศาสตร์ของกรมสุขภาพจิต
• ความรู้ผา่ นกระบวนการพัฒนาที่มีคณ
ุ ภาพมากขึน้ ช่วยให้
การดาเนินงานสุขภาพจิตดีขึน้ ตอบสนองความต้องการของ
ผูร้ บั บริการ และผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย และสอดคล้องกับบริบทของ
คนไทยมากขึน้
• เป็ นที่ยอมรับขององค์กรอื่น ๆ
สิ่ งดีๆจากการนา KM มาใช้ใน
กรมสุขภาพจิต
KM กับการสรางวั
้ ฒนธรรม /
คานิ
่ ยมในองคกร
์
Learning :
ตระหนักวา่ บุคลากรทุกระดับมีคุณคา่
มีความรู้ ความสามารถ
การจัด
เวทีแลกเปลีย
่ นเรียนรูเป็
้ นกิจกรรมระดับกรมและ
หน่วย
Team : สรางบรรยากาศที
ด
่ ใี นการทางาน กระชับ
้
มิตรภาพ
ความรวมมื
อรวมใจ
พัฒนาการทางานเป็ น
่
่
ทีมมากขึน
้
Network :
เรียนรูความต
องการ
ความคาดหวัง
้
้
คะแนนการประเมินตนเอง (KMA)แต่ละหมวด
ลักษณะสาคัญขององค์กร
สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย
2. การวางแผน ฯ
3.17 คะแนน
1. การนา
องค์กร
3 คะแนน
3. การให้ความสาคัญ
กับผูร้ บั บริการ ฯ
3 คะแนน
5. การมุ่งเน้น
ทรัพยากรบุคคล
2.8คะแนน
6. การจัดการ
กระบวนการฯ
3 คะแนน
7. ผลลัพธ์
การดาเนินการ
2.8 คะแนน
4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู ้ 3.4 คะแนน
วิสยั ทัศน์ กรมสุขภาพจิต แผนฯ 11
 เป็ นศูนย์กลางความเชี่ยวชาญในการพัฒนางาน
สุขภาพจิต
พันธกิจกรมสุขภาพจิต แผนฯ 11
1. เสริมสร้างศักยภาพประชาชนให้มีสขุ ภาพจิตดี
2. ส่งเสริมบทบาทของภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพจิตให้แข็งแรง
3. พัฒนาบริการและวิชาการสุขภาพจิตให้มีคณ
ุ ภาพและ
เข้าถึงง่าย
4. สร้างกลไกในการพัฒนางานสุขภาพจิต
แผน 10 : พัฒนาขีดความสามารถของบุคลากร
สุขภาพจิตในการดาเนินงาน
ให้ ประชาชนมีสุขภาพจิตดี
แผน 11 : มุ่งเน้ นองค์ กรแห่งการเรียนรู้
เพื่อบรรลุวสิ ัยทัศน์ /พันธกิจกรม
ให้เชื่อมโยงกับกระบวนงานสาคัญ (Value Chain)
- การเรี ยนรู้ขา้ มหน่วยงาน
- เชื่อมเข้ากับระบบพัฒนาบุคลากร
- พัฒนารู ปแบบการเข้าถึงความรู้โดยเฉพาะ IT
- KM
ระดับกรม
การจัดการความรู้เพื่อ
บรรลุ V,M กรม
ระดับหน่วยงาน
การเรี ยนรู้ของคน
และหน่วยงานในกรม
ความเชื่อมโยงของความรู้กบั ทุก Oc
ความเชื่อมโยงของความรู้กบั Oc หลัก
BMK กับหน่วยงานต่าง ๆ ตาม Oc
พัฒนา Good
Best Practiceตาม Oc
CoP ตามความรู้สาคัญที่บรรลุ OC ตามพันธกิจกรม
หน่วยงานบรรลุ KMA ในทุกกระบวนการ
หน่วยงานบรรลุ KMA ในกระบวนการหลัก
BMK กับหน่วยงานต่าง ๆ ตาม องค์ประกอบ KMA
พัฒนา Good
Best Practice ตามองค์ประกอบ KMA
พัฒนา / ประเมิน KMA ตามบริบทกรม
ข้อเสนอจากที่ประชุม : จังหวะก้าว KM สู่ LO แผน 11
• KM ในเชิงยุทธศาสตร์ มากกว่าเป็ นชิ ้นๆ ศึกษากระบวนการตังแต่
้ ต้นจนจบ
ของกระบวนการสาคัญของกรม เชื่อม Value Chain
(ผู้จดั การความรู้ระดับองค์กร ใช้ Outcome เป็ นตัวตัง้ + VC
แล้ วนามาลปรร. กัน ระดับหน่วย ใช KMA เป็ นเครื่ องมือ)
• กาหนด Value Chain ที่จะจัดการความรู้ เน้ นการพัฒนาคุณภาพงานไหน
เป็ นหลักในแต่ละปี (เลือก Business Process)
• KM เชื่อมโยง Excellence โดยกรมกาหนดนโยบาย หน่วยงานชัดเจน
• KM ข้ ามหน่วยมากขึ ้น
• พัฒนาศักยภาพ และ ระบบจัดการความรู้ในภาพระบบ
• หา Best Practice นาไป BMK
ต้ องใช้ K. อะไร
และปรับปรุงตังเป
้ ้ าหมายจะปรับปรุงอะไร ผลลัพธ์องค์กรดีขึ ้น)
• ระบบข้ อมูลสารสนเทศที่จะสนับสนุนฐานข้ อมูล KM ที่เข้ าถึงได้ นามาปรับปรุงงาน
ข้อเสนอที่ประชุม : จังหวะก้าว KM สู่ LO แผน 11 (ต่อ)
• รวบรวมจัดระบบความรู้ตา่ ง ๆ ที่เรามีตามตัวชี ้วัดต่าง ๆในแผน 11 (ด้ าน
ประชาชน ด้ านเครื อข่าย ด้ าน ........
• ตังคณะท
้
างาน 3 คณะ จัดการความรู้แต่ละด้ าน
• แต่ละคณะทางาน Mapping ความรู้สาคัญที่จะช่วยให้ ผลลัพธ์
กระบวนการทางานนันดี
้ ขึ ้น
• นามาแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ระหว่างหน่วยงาน ในลักษณะ BMK
การสนับสนุนจากกรม
• กระบวนการพัฒนาศักยภาพ(ทักษะ) มีทีมที่ปรึกษาให้ หน่วย
หาเครื่ องมอใหม่ๆทาให้ หน่วยงานมอง KM เชิงระบบ
(ระดับกรมยึด OC ระดับหน่วยใช้ KMA (กรม)
ทีม KM สู่ LO สานักพัฒนา