บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคและสรีรวิทยา รศ.ดร.สมปอง สรวมศิริ

Download Report

Transcript บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคและสรีรวิทยา รศ.ดร.สมปอง สรวมศิริ

บทที่ 1 ความรู้ เบื้องต้ นเกีย่ วกับกายวิภาคและสรีรวิทยา
รศ.ดร.สมปอง สรวมศิริ
วิชากายวิภาคและสรีรวิทยาของสั ตว์ เลีย้ ง (สศ 310)
วิชาบังคับก่อน : ชว 100 ชีววิทยาทัว่ ไป และ ชว 220 สัตววิทยา
คาอธิบายรายวิชา
ความรู ้เกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์ เนื้อเยือ่ พื้นฐานของร่ างกาย
ระบบประสาท ระบบกล้ามเนื้อ ระบบอวัยวะรับความรู ้สึก ระบบ
กระดูก และโครงสร้างที่เกี่ยวกับกระดูก ระบบสู บฉีดโลหิ ต และ
น้ าเหลือง ระบบย่อยอาหาร ระบบการหายใจ ระบบการขับถ่าย
ระบบต่อมไร่ ท่อ ระบบการสื บพันธุ์ ระบบปกคลุกร่ างกาย
ความรู้เบื้องต้ นเกีย่ วกับกายวิภาค และ สรีรวิทยา
นักศึกษาสามารถแยกความแตกต่างระหว่างกายวิภาคศาสตร์
และ สรี รวิทยาได้ เข้าใจถึงการแบ่งประเภทในการศึกษาวิชา
กายวิภาคศาสตร์ เข้าใจในเรื่ องระนาบต่างๆ ในร่ างกาย และ
สามารถเรี ยกชื่อตาแหน่งต่างๆ ที่สาคัญในร่ างกายสัตว์ได้
และใช้คาศัพท์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบอกตาแหน่ง
ในร่ างกาย คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของร่ างกาย
กายวิภาคศาสตร์
กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) มาจากภาษากรี ก
คาว่า ana = up แปลว่า เพิ่ม
tomy หรื อ tome = cutting แปลว่า ตัด
 ดังนั้น Anatomy หมายถึงแขนงวิชาที่ศึกษา เกี่ยวกับ
การตัดเพิ่ม หรื อการชาแหละ หรื อการตัดออกเป็ น
ส่ วนๆเพื่อศึกษารู ปร่ างหรื อโครงสร้างของอวัยวะ
ต่างๆในร่ างกาย
ประโยชน์ ของการเรียนวิชากายวิภาคศาสตร์
1. ทาให้รู้ตาแหน่งต่างๆของอวัยวะในร่ างกาย
 2. ทราบรู ปร่ าง ลักษณะและองค์ประกอบของอวัยวะต่างๆ
 3.สามารถเรี ยกชื่ออวัยวะต่างๆตามคาศัพท์เทคนิ คที่ยอมรับ
และเข้าใจกันอย่างสากล
 4. เพื่อเป็ นพื้นฐานในการศึกษาในสาขาวิชาต่างๆ เช่น วิชา
ศัลยศาสตร์ และวิชาการสื บพันธุ์ เป็ นต้น

สรีรวิทยา (Physiology)
เป็ นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับหน้าที่หรื อการทางานของอวัยวะ
ต่างๆในร่ างกาย ซึ่งรวมถึงหน้าที่ในระดับเซลล์
วิชาสรี รวิทยาเป็ นวิชาที่ตอ้ งเรี ยนรู ้ให้เข้าใจ และจดจาได้จน
สามารถทราบถึงกลไกการทางานตามธรรมชาติของอวัยวะ
หรื อระบบต่างๆในร่ างกาย
กายวิภาค และ สรีรวิทยา

การศึกษาด้านกายวิภาคและการศึกษาด้านสรี รวิทยาจะเป็ น
การศึกษาที่ควบคู่กนั ไปก็ได้

เพื่อจะได้ทราบว่าอวัยวะแต่ละอย่างในร่ างกายมีรูปร่ าง
ขนาด ตาแหน่ง ที่ใดของร่ างกาย และอวัยวะนั้นๆทาหน้าที่
อย่างไร เช่นหัวใจรู ปร่ างเหมือนรู ปกรวย มีช่องว่างด้านในมี
ขนาดเท่ากาปั้น ตั้งอยูใ่ นช่องอก หน้าที่สูบฉี ดโลหิ ต
สาขาวิชาทางสรีรวิทยา
สรี รวิทยาการสื บพันธุ์ (reproductive physiology)
 สรี รวิทยาการย่อยอาหาร (digestive physiology)
 สรี รวิทยาของระบบประสาท(neuro physiology)
 สรี รวิทยาของสัตว์เคี้ยวเอื้อง (ruminant physiology)
 สรี รวิทยาของสัตว์ปีก (poultry physiology)
 สรี รวิทยาของกระเพาะรู เมน(rumen physiology)

แนววิชาของกายวิภาคศาสตร์
แบ่งออกเป็ น
1. กายวิภาคศาสตร์ เฉพาะทาง (Special anatomy) ศึกษาทาง
ลักษณะโครงสร้างของสัตว์แต่ละชนิด ทุกระบบของร่ างกาย
2. จุลกายวิภาคศาสตร์ (Histology หรื อ Microscopic anatomy)
ศึกษาเนื้อเยือ่ ต่างๆ ของร่ างกายว่าประกอบด้วยเซลล์ประเภทใดบ้าง
มีรูปร่ างอย่างไร ขนาด อย่างไร
แนววิชาของกายวิภาคศาสตร์ (2)
3. มหกายวิภาคศาสตร์ (Gross anatomy หรื อ Macroscopic
anatomy) ศึกษาลักษณะโครงสร้างของอวัยวะต่างๆ ที่สามารถเห็นได้
ด้วยตาเปล่า โดยวิธีการชาแหละแยกเป็ นส่ วนๆ
4. คัพภะวิทยา (Embryology หรื อ Developmental anatomy)
ศึกษาการเจริ ญเติบโตเปลี่ยนแปลงของเซลล์ เนื้อเยือ่ และอวัยวะ
ตั้งแต่เป็ นตัวอ่อน จนกระทัง่ คลอด
แนววิชาของกายวิภาคศาสตร์ (3)
5. กายวิภาคศาสตร์ เปรียบเทียบ (Comparative anatomy) ศึกษา
เปรี ยบเทียบด้านโครงสร้าง รู ปร่ างของอวัยวะของสัตว์ชนิดต่างๆ
6. กายวิภาคศาสตร์ ทางสั ตว์ แพทย์ (Veterinary anatomy) ศึกษา
กายวิภาคศาสตร์ของสัตว์เลี้ยง เพื่อประโยชน์ในอาชีพสัตว์แพทย์
ท่ ามาตรฐานทางกายวิภาคศาสตร์
ใช้อา้ งอิงเมื่อจะกล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างอวัยวะต่าง ๆ
กาหนดท่านี้เป็ นท่า คนยืนตัวตรง ตาทั้งสองข้าง มองตรงไป
ข้างหน้าในแนวระดับ แขนทั้งสองข้างแนบชิดลาตัว โดยหันฝ่ ามือทั้ง
สองข้างแบออกไปทางด้านหน้า และเท้าทั้งสองข้างชิดกันตลอด
การศึกษากายวิภาคศาสตร์สตั ว์เลี้ยงจาเป็ นต้องยึดหลักท่ามาตรฐาน
ทางกายวิภาคของคนเช่นกัน
ท่ ามาตรฐานทางกายวิภาคศาสตร์ (2)
กาหนดท่านี้เป็ นท่า
 คนยืนตัวตรง
 ตาทั้งสองข้าง มองตรงไป
ข้างหน้าในแนวระดับ
 แขนทั้งสองข้างแนบชิดลาตัว
โดยหันผ่ามือทั้ง สองข้างแบ
ออกไปทางด้านหน้า
ระนาบหรื อแนวตัดแบ่ งร่ างกาย
ใช้กาหนดตาแหน่งและการบอกความสัมพันธ์ระหว่างอวัยวะแบ่งเป็ น
1. ระนาบข้ าง (Sagittal plane) หมายถึง ระนาบในแนวดิ่งที่แบ่ง
ร่ างกายมนุษย์ หรื อสัตว์เลี้ยงออกเป็ นสองซีกขวาและซ้าย แต่ละซีกไม่
จาเป็ นต้องเท่ากัน
ถ้าผ่าแบ่งตามแนวกึ่งกลางร่ างกายตามแนวดิ่งพอดี จะแบ่งร่ างกาย
ออกเป็ นสองซีกเท่ากัน ทั้งซ้ายและขวา เรี ยกว่า Midsagittal plane หรื อ
Median plane
ระนาบข้ าง (Sagittal plane)
(Sagittal plane)
(Sagittal plane)
ระนาบหน้ าหลัง (Coronal plane)
2. ระนาบหน้ าหลัง (Coronal plane) หมายถึง ระนาบที่แบ่งร่ างกาย
คนตามแนวดิ่งตัดขนานกับรอยต่อของกะโหลก แบ่งร่ างกายออกเป็ น
ซีกหน้าและซีกหลัง แต่ในสัตว์เลี้ยงเนื่องจากยืนด้วยเท้าทั้งสี่ ระนาบนี้
จะแบ่งร่ างกายออกเป็ นครึ่ งบนและครึ่ งล่าง เรี ยกว่า Horizontal plane
Dorsal
Horizontal plane
Caudal /
Posterior
Cranial /
Anterior
Ventral
ระนาบขวาง (Transverse plane)
3. ระนาบขวาง (Transverse plane) เป็ นระนาบที่ต้ งั ฉากกับระนาบ
ข้าง และระนาบหน้าหลัง แบ่งร่ างกายคนออกเป็ นครึ่ งบน และครึ่ งล่าง
ร่ างกายสัตว์แบ่งออกเป็ นซีกหน้า และหลัง
Transverse plane
Caudal or Posterior
Anterior or Cranial
แนวแกนร่ างกาย (Body axis)
แบ่งเป็ น 3 แกนคือ
1. แกนหน้ าหลัง (Anterior posterior axis) เป็ นแนวแกนที่ทอด
ผ่านจากส่ วนหน้าของสัตว์ไปส่ วนหลังของสัตว์ตามแนวนอน
2. แกนขวาง (Transverse axis หรื อ Horizontal axis) เป็ นแนว
แกนที่ทอดผ่านร่ างกายจากด้านซ้ายไปด้านขวาของร่ างกายสัตว์ หรื อ
มนุษย์ตามแนวนอน
3. แกนดิ่ง (Vertical axis) เป็ นแนวแกนในแนวดิ่งที่ต้ งั ฉากกับสอง
แกนแรก
ศัพท์ ทใี่ ช้ ชี้บอกตาแหน่ งและความสั มพันธ์ ของอวัยวะ
กาหนดศัพท์เฉพาะขึ้น เพื่อใช้ช้ ีบอกว่าโครงสร้างหรื ออวัยวะนั้น ๆ
อยูท่ ี่ใดในร่ างกาย และมีความสัมพันธ์กบั อวัยวะอื่น ๆ อย่างไร
ศัพท์ ทใี่ ช้ ชี้บอกตาแหน่ งและความสั มพันธ์ ของอวัยวะ (2)
คาศัพท์
Anterior (Cranial)
Posterior (Caudal)
Ventral
Dorsal
ความหมาย
ส่ วนหัวหรื อด้านหน้าของสัตว์ หรื อ
ส่ วนที่ค่อนไปทางด้านหน้า
ส่ วนท้ายหรื อด้านหลังของสัตว์ หรื อ
ส่ วนที่ค่อนไปทางด้านหลัง
ด้านล่างหรื อด้านที่ค่อนไปทางท้องของสัตว์
ด้านบนหรื อด้านหลังของร่ างกายสัตว์
ศัพท์ ทใี่ ช้ ชี้บอกตาแหน่ งและความสั มพันธ์ ของอวัยวะ (3)
ศัพท์ ทใี่ ช้ ชี้บอกตาแหน่ งและความสั มพันธ์ ของอวัยวะ (4)
คาศัพท์
Proximal
Distal
Superior
Inferior
Medial
Lateral
ความหมาย
ด้านที่อยูส่ ู ง หรื อเหนือกว่า หรื ออยูใ่ กล้กบั
แนวกระดูกสันหลังมากกว่า
ด้านที่อยูต่ ่ากว่า หรื อไกลกว่าแนวกระดูกสันหลัง
ส่ วนบนเหนือหัวหรื อส่ วนหัว
ส่ วนล่างของร่ างกาย
อยูใ่ กล้กบั แนวกลางตัว
ส่ วนที่อยูห่ ่างจากแนวกลางตัว
Terminology of Movement
คาศัพท์
Adduction
Abduction
Abduction
ความหมาย
การเคลื่อนไหวที่เข้าหาแนวกลางตัว
การเคลื่อนไหวออกจากแนวกลางตัว
Adduction
Terminology of Movement (2)
คาศัพท์
Flexion
Extension
ความหมาย
การงอข้อต่อข้อใดข้อหนึ่ง
การยืดข้อต่อที่มีทิศทางตรงกันข้าม
Flexion
Extension
Terminology of Movement (3)
คาศัพท์
Elevation
Depression
ความหมาย
การเคลื่อนที่ยกหรื อเคลื่อนขึ้นไปทางส่ วนหัว
หรื อด้านบน
การเคลื่อนลดหรื อเคลื่อนลงไปทางด้านล่าง
Terminology of Movement (4)
คาศัพท์
Protraction
Retraction
ความหมาย
การเคลื่อนที่ในลักษณะการยืน่ ส่ วนใดส่ วน
หนึ่งของร่ างกายออกไปข้างหน้า
การเคลื่อนที่ในลักษณะการหดหรื อดึงกลับ
ส่ วนใดส่ วนหนึ่งของร่ างกายไปทางด้านท้าย
แสดงคาศัพท์ ทเี่ กีย่ วข้ องกับตาแหน่ งบนร่ างกายสุ กร
loin
poll
face
snout
rump
hock
jowl
belly
shank
dewclaw
แสดงคาศัพท์ ที่เกีย่ วข้ องกับตาแหน่ งบนร่ างกายโค
rump
hump
loin
poll
muzzle
rib
dewlap
shank
flank knee
brisket