The Future of Genetics

Download Report

Transcript The Future of Genetics

Introduction to
Quantitative Genetics
Qunatitative genetics Vs
Mendelian genetics
Mendelian Genetics
 พันธุศาสตร์ เมนเดล
 ว่าด้ วยการการแสดงออกยีน 1-2
ตาแหน่ง บนโครโมโซมต่างแท่ง
กัน

ใช้ หลักการตรวจสอบสัดส่วนของ
แต่ละจีโนไทป์ในประชากร
Quantitative Genetics
 พันธุศาสตร์ เชิงปริ มาณ
 ว่าด้ วยการแสดงออกของยีน
หลายตาแหน่ง (polygenes)
ทุกโครโมโซมทัว่ จีโนม
(genome)
 ใช้ หลักการทางสถิติของการหา
ค่าเฉลี่ย ความผันแปรในรูป
ความแปรปรวน (variance)
เมื่อลักษณะถูกควบคุมด้ วยยีนหลายคู่

การแจกแจงจะมี
ลักษณะต่อเนื่องและ
ใกล้ เคียงการแจกแจง
แบบปกติมากขึ ้น
ความสาคัญของลักษณะเชิงปริ มาณ
ส่วนใหญ่เป็ นลักษะเศรษฐกิจ
เช่น ความยาวฝั ก, ปริมาณ
ผลผลิต, การเจริญเติบโต,
ADG, FCR, การกินได้ ,
ปริมาณน ้านม, การทนโรค, ฯลฯ
 เป็ นลักษณะที่นิยมใช้ ในการ
คัดเลือก (selection,
breeding program)
 สภาพแวดล้ อมมักมีผลกระทบ
ต่อประสิทธิภาพการคัดเลือก

BASIC GENETIC MODEL
P=G+E
P
= Phenotype
= ลักษณะปรากฏที่เห็น ชัง่ ตวง วัด ได้
เป็ นข้ อมูลตัวเลขต่อเนื่อง
G
= Genotype
= อิทธิพลทางพันธุกรรม
E
= Environment
= อิทธิพลทางสิ่งแวดล้ อม
= อุณหภูมิ/ความชื ้น / สภาพภูมิศาสตร์ / อาหาร / การจัดการ
Variation
จาก
P=G+E
เมื่ออธิบายในรูปความผันแปรที่เกิดขึ ้น จะได้ วา่
VP = VG + VE + 2COV(G,E)
กาหนดให้ COV(G,E) = 0, ดังนัน้
VP = VG + VE
Heritability
VG
h 
VP
2
• ค่าอัตราพันธุกรรมเป็ นค่าที่ใช้ อธิบายความผันแปรของ
พันธุกรรมต่อความผันแปรเนื่องจากลักษณะปรากฏ
• จาก VP = VG + VE ดังนัน้
VG
h 
VG  VE
2
Heritability (ต่อ)
VG
h
VG  VE
2
• ค่าอัตราพันธุกรรมมีคา่ บวกเสมอ
• ค่าอัตราพันธุกรรมมีคา่ อยูใ่ นช่วง 0 -1
• จากสูตร จะเห็นว่า
ถ้ าค่าอัตราพันธุกรรมสูง แสดงว่าลักษณะนันขึ
้ ้นกับ
ความแปรปรวนของพันธุกรรม
ถ้ าค่าอัตราพันธุกรรมต่า แสดงว่าลักษณะนันขึ
้ ้นกับ
ความแปรปรวนของสภาพแวดล้ อม
Broad sense VS Narrow sense
•เราสามารถแบ่ง VG ได้ เป็ น VA + VD + VI
•VA เป็ นความผันแปรเนื่องจากพันธุกรรมแบบบวกสะสม
(additive gene)
•VD เป็ นความผันแปรเนื่องจากพันธุกรรมเนื่องจากการข่มกัน
ของยีน (dominance)
•VI เป็ นความผันแปรเนื่องจากพันธุกรรมเนื่องจากการอิทธิพล
ร่วมของยีนต่างตาแหน่ง (epistatis)
VG
h 
 broad sense
VG  VE
VA
2
h 
 narrow sense
VA  VE
2