Document 7185785

Download Report

Transcript Document 7185785

การชี้แนะสาธารณะด้ านสุ ขภาพ
(HEALTH ADVOCACY)
ผศ. ดร. ลักขณา เติมศิริกลุ ชัย
ภาควิชาสุ ขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
คณะสาธารณสุ ขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
NEW VS. TRADITIONAL PUBLIC H. APP
NEW
TRADITIONAL
 SOCIAL-POLITICAL ISSUES  PERSOAL-BEH. PROBLEMS
 ROLE of SOCIAL CONDITION
 ROLE of RISK FACTORS K.
 POLICY DEVELOPMENT
 SERVICE DELIVERY
 HEALTHY ENVIRONMENT  DETERMINATS of DISEASE
NEW VS. TRADITIONAL PUBLIC H. APP
NEW
TRADITIONAL
 MULTISECTORAL PLANING  HEALTH SECTOR PLAN.
 BROAD-BASED PARTICIPA.
 LIMITED PARTICIPATON(H)
 SOIAL ACCOUNTABILITY
 INDIVID. RESPONSIBILITY
 ADVOCACY -LEGISLATION
 EDUCATION- TREATMENT
สุ ขศึกษา - การสร้ างเสริมสุ ขภาพ
สุ ขศึกษา ผลรวมของประสบการณ์การเรี ยนรู ้ ที่จดั ขึ้น
เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้วยความสมัครใจ
อันนาไปสู่ การมีสุขภาพดี
การสร้ างเสริมสุ ขภาพ - ผลรวมของการสนับสนุนด้าน
การศึกษาและสิ่ งแวดล้อมเพื่อให้เกิดการปฏิบตั ิและเกิด
สภาพการดาเนินชีวติ ที่นาไปสู่ การมีสุขภาพ
“การสร้ างเสริมสุ ขภาพ”
(Ottawa Charter ,1986)
กระบวนการสนับ สนุ น ให้ ประชาชนสามารถ
ควบคุ ม พฤติ ก รรมสุ ข ภาพของตนเอง สั ง คม และ
สิ่ งแวดล้อมเพื่อให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน มีสุขภาวะ
และคุณภาพชีวติ ที่ดี
4
5
ปรับระบบบริการให้ เอือ้ ต่ อ
การส่ งเสริมสุ ขภาพ
พัฒนาทักษะชีวติ
3
•Enable
•Advocacy
เพิม่ ศักยภาพของชุ มชน
•Mediate
สร้ างสิ่ งแวดล้ อมทีเ่ อือ้ ต่ อสุ ขภาพ
2
1
สร้ างนโยบายสาธารณะ
Health Promotion Objectives
 Individual




Knowledge
Attitudes
Behaviors
Physiology
 Organization





Policies
Practices
Programs
Facilities
Resources
 Community





Policies
Practices
Programs
Facilities
Resources
 Government




Policies/Programs
Facilities/Resources
Legislation/Ordinances
Regulation/Enforcement
กีฬา & วัฒนธรรม
สถานทีท่ างาน
ครอบครัว
มิตขิ อง
การสร้ างเสริมสุ ขภาพ
กลยุทธ์
สถานทีต่ ้งั
การพัฒนาสุ ขภาพ
• บุหรี่
• สุ รา
•เครียด
• ความอ้วน
• ออกกาลังกาย
• พฤติกรรม
ความปลอดภัย
•การตรวจ
ร่ างกาย
ประจาปี
•สุ ขภาพหัวใจ
•สุ ภาพจิตดี
•สุ ขภาพปาก+ฟัน
•สุ ขภาพทางเพศ
เมือง
ชุ มชน
โรงเรียน
กลุ่มเป้ าหมาย
เด็ก
ชาย
คนพิการ
วัยรุ่ น
หญิง
ผู้สูงอายุ
• สุ ขศึกษา
• การให้ ข้อมูลข่ าวสาร
•การตลาดเพื่อสั งคม
• การสร้ างเครื อข่ าย
• การพัฒนาชุ นชน
•นโยบายการเงินการคลัง
• การชี้แนะสาธารณะ
•การพัฒนานโยบาย
•การออกกฎหมาย
•การฟ้ องร้ อง
ADVOCACY FOR HEALTH
ผลรวมของการดาเนินงานทีก่ าหนดขึน้ โดยบุคคล / กลุ่ม เพื่อสร้ าง
POLITICAL COMMITMENT
POLICY SUPPORT
SYSTEM SUPPORT
SOCIAL ACCEPTANCE
เพื่อบรรลุเป้าหมายด้านสุ ขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย
1°Target
2°Target
ผู้มีอานาจในการตัดสินใจ
3°Target
ประชาชน
/
/
(NGOs )
MEDIA ADVOCACY VS. PUBLIC HEALTH
MEDIA ADVOCACY
 INDIVI. AS ADVOCATE
PUBLIC HEALTH
 INDIVI. AS AUDIENCE
 HEALTHY PUBLIC POLICY  HEALTH MESSAGES
 DECENTRAL.-OPPORTUNIST.  PROBLEM- APP. FIXED
 CHANGES THE ENV.
 CHANES THE INDIVIDUAL
MEDIA ADVOCACY VS. PUBLIC HEALTH
MEDIA ADVOCACY
PUBLIC HEALTH
 NEWS , PAID ADVERTISING  RELIES ON PUBLIC SERVICES
 TARGET IS PERSON WITH
POWER TO MAKE CHANGE
 TARGET IS PERSON WITH
PROBLEM OR AT RISK
 ADDRESS THE POWER GAP.  ADDRESS THE
INFORMATION GAP
TACTICS
FOR ADVOCACY
ADVOCACY TACTICS
1. Tactics สาหรับการศึกษาวิจัย และการค้ นหาปัญหา
(Research & Investigation)
2. Tactics สาหรับการส่ งเสริมและให้ การศึกษา
(Encouragement and Education)
3. Tactics สาหรับการปฏิบตั ิการโดยตรง
(Directs action tactics)
1. Tactics for Research & Investigate (1)
(Tactics สาหรับการศึกษาวิจัย และการค้ นหาปัญหา)
1. กาหนดปั ญหาที่จะศึกษาและดาเนินการศึกษาวิจยั
(Conducts studies of the issues)
2. รวบรวมข้อมูลจากสาธารณชน
(Gather data from public opinion)
3. ศึกษาฝ่ ายตรงกันข้าม
(Study the opposition)
4. เรี ยกร้องให้มีการตรวจสอบ
(Request accountability)
1.Tactics for Research & Investigate
5. แสดงให้เห็นประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่จะได้รับ
(Demonstrate commercial benefits)
6. จัดให้มีการรับฟังความเห็นหรื อข้อร้องเรี ยนต่าง ๆ
(Document complaints)
7. ทาตนประหนึ่งสุ นขั เฝ้าบ้าน (Act as a watchdog)
8. จัดให้มีการตรวจสอบ
บริ การต่าง ๆ ที่ให้แก่ผบู ้ ริ โภค
(Organize consumer service audits)
Cigarette sale, excise tax rate and revenue (1992 – 2004)
Pack (million)
Excise tax
(million Baht)
Tax rate%
1992
2,035
15,438
55
1993
2,125
15,345
55
1994
2,328
20,002
60
1996
2,463
24,092
62
1997
2,415
29,755
68
1998
1,951
28,691
70
2000
1,826
28,110
71.5
2001
1,727
29,627
75
2004
2,110
36,326
75
Source : The Excise Department, Thailand
Note the 2% dedicated tax for Thai Health not included
2. Tactics สาหรับการส่ งเสริมและให้ การศึกษา
(Tactics for Encouragement & Education)
1 การยกย่องผูท้ ี่เกี่ยวข้อง และการสร้างแรงสนับสนุน
ทางสังคม (Give personal compliments and public
support)
2 จัดให้มีงานเฉลิมฉลอง (Arrange celebrations)
3 จัดทาแผนงาน (Develop proposal)
2. Tactics สาหรับการส่ งเสริ มและให้การศึกษา
(Tactics for Encouragement & Education)
4. สร้างการมีส่วนร่ วมของชุมชน และเครื อข่าย
(Establish contact and request participation)
5. เตรี ยมข้อมูลเพื่อการเผยแพร่
(Prepare for sheets)
6. ให้การศึกษาแก่สาธารณชน
(Offer public education)
7. จัดให้มีเวทีรับฟังความคิดเห็น
(Provide corrective feedback)
3. Tactics สาหรับการปฏิบัติการโดยตรง
(Directs action tactics)
1. เตรี ยมตัวให้พร้อมเมื่อเผชิญกับสถานการณ์ เฉพาะหน้า
(Making your presence felt)
2. การสร้างให้เกิดแรงสนับสนุนทางสังคม
(Mobilize public support)
3. การนาสิ่ งที่มีอยูใ่ นระบบมาใช้ประโยชน์
(Using the system)
4. เมื่อเผชิญกับสถานการณ์ที่หนักหน่วง (Getting serious)
3. Tactics สาหรับการปฏิบัติการโดยตรง
(Direct action tactics)
1. เตรี ยมตัวให้พร้อมเมื่อเผชิญกับสถานการณ์เฉพาะหน้า
ทาให้ล่าช้า (Postpone action)
มีทางเลือกในการดาเนินโครงการ
(Establish an alternative system or program)
3. Tactics สาหรับการปฏิบัติการโดยตรง
(Direct action tactics)
 สร้างช่องทางติดต่อกับพันธมิตรต่าง ๆ (Establish line of
communication with the opponent’s traditional allies)
 มีการวิพากษ์/วิจารณ์การกระทาที่ไม่ถูกต้อง
(Criticize unfavorable actions)
 ตอบโต้ฝ่ายตรงข้ามเพื่อให้สงั คมรับรู ้
(Express opposition publicly)
3. Tactics สาหรับการปฏิบัติการโดยตรง
(Direct action tactics)
กระตุน้ เตือนถึงความรับผิดชอบ (Remind those
responsible)
จัดให้มีการร้องทุกข์ (Make a complaint)
ล็อบบี้ผมู ้ ีอานาจในการตัดสิ นใจ (Lobby decisionmakers)
3.2 การสร้างให้เกิดแรงสนับสนุนทางสังคม
(Mobilize public support)
สนับสนุนให้มีการทาประชาพิจารณ์
(Sponsor a community conference or public hearing)
การเขียนจดหมายลูกโซ่ / จดหมายเวียน / จดหมาย
ประท้วง (Conduct a letter-writing campaign)
3.2 การสร้างให้เกิดแรงสนับสนุนทางสังคม
(Mobilize public support)
จัดให้มีการลงคะแนนเสี ยงเพื่อกาหนดกฎ ระเบียบ/
นโยบายนั้นๆ (Conduct a petition drive, Conduct a
ballot drive, Register voters, or distribute registration
material)
จัดให้มีการประท้วง (Organize public demonstrations)
3.3 การนาสิ่ งทีม่ อี ยู่ในระบบมาใช้ ประโยชน์
(Using the system)
จัดระบบข้อมูลการร้องทุกข์ของประชาชน
(File a format complaint)
เรี ยกร้องให้มีการใช้กฎหมายที่มีอยูอ่ ย่างจริ งจัง
(Seek enforcement of existing laws or policies)
เรี ยกร้องให้มีการออกกฎหมายกฎระเบียบ หรื อนโยบาย
ใหม่ (Seek enactment of new laws,policies or
regulations)
3.3 การนาสิ่ งทีม่ อี ยู่ในระบบมาใช้ ประโยชน์
(Using the system)
มีการเจรจาต่อรอง (Seek a negotiation)
จัดให้มีตวั กลางในการเจรจา (Seek a mediator)
จัดให้มีผทู ้ ี่มีความรู ้จริ งในเรื่ องนั้น (Seek a fact finder)
จัดให้มีการกระทาที่ถูกกฏหมาย (Initiate legal action)
3.4 เมื่อเผชิญกับสถานการณ์ ทหี่ นักหน่ วง
(Getting serious)
จัดให้มีการตอบโต้จากสื่ อมวลชน
(Arrange a media expose)
โจมตีระบบที่มีอยู่ (Flood the system)
จัดให้มีการบอยคอตต์ (Organize a boycott)
ดาเนินการกับกลุ่ม “พลังเงียบ” ที่ไม่เห็นด้วย
(Organize passive resistance)
สิ่ งที่ควรคานึงเมื่อจะใช้ Tactics ต่ าง ๆ เหล่ านีค้ ือ
 ไม่ จาเป็ นจะต้ องใช้ ทุก Tactics ที่มอี ยู่ (No need to use all
tactics)
 ไม่ จาเป็ นต้ องใช้ Tactics โดยเรียงลาดับ(No need to use in
order)
 ใช้ Tactics ต่ างๆ ที่มอี ยู่นีเ้ ป็ นกลยุทธ์ เริ่มต้ น เพื่อที่จะคิดค้ น
Tactics อื่นๆ ต่ อไป (Develop the new one )
การวางแผนการชี้แนะสาธารณะด้ านสุ ขภาพ
PLANNING FOR
HEALTH ADVOCACY
PLANNING FOR HEALTH ADVOCACY
วิสัยทัศน์ (VISION)
พันธกิจ (MISSION)
เป้าประสงค์ (GOAL)
วัตถุประสงค์ (OBJECTIVES)
กลยุทธ (STRATEGIES))
กลุ่มเป้าหมาย (TARGETS)
การประเมินผล (EVALUATION)
วิสัยทัศน์ (VISION)
 คือ การเปลีย่ นแปลงที่ต้องการให้ เกิด
(ULTIMATE GOAL)
 คุณลักษณะของวิสัยทัศน์ 5 ประการ
 ข้ อความในพันธกิจ ควรรัดกุม (สั้ น & ได้ ใจความ)
 “สั งคมปลอดบุหรี่ “ “เมาไม่ ขบั ” “ชุ มชนปลอดยาเสพติด”
 ชี้ปัญหาร่ วม
 แสดงให้ เห็นเงื่อนไขที่สามารถเปลีย่ นแปลงได้
 นาไปสู่ ความรับผิดชอบ และศักยภาพของบุคล
 นาไปสู่ ความหวังแลทางออกของความสาเร็จ
พันธกิจ (MISSION)
ช่ วยตอบคาถามว่ า”อะไร” & “ทาไม”
เข็มทิศช่ วยในการทางาน ตัวอย่ าง :
 VISSION :- ‘สั งคมปลอดบุหรี่”
 MISSON :- เป็ นกลไกเร่ งเร้ า(CATALYST )เพื่อให้ เกิด
สั งคมปลอดบุหรี่
 คิดค้ นรู ปแบบกิจกรรมเพื่อเยาชนปลอดยาเสพติด
เป้าประสงค์ (GOAL)
 SMART
 S :- SPECIFIC ( Issues & target gr. )




M :- MEASURABLE
A :- ACHIEVABLE
R :- RELAVANT ( to the VISSION)
T:- TIME
 Exp. “ลดอัตราการสู บบุหรี่ของประชาชนไทยไห้ ไม่ เกินร้ อยละ
17 ในปี 2553”
OBJECTIVES
วัตถุประสงค์เชิงนโยบาย
(SPECIFIC POLICY OBJECTIVES)
วัตถุประสงค์ของการชี้แนะผ่านสื่ อ
(MEDIA ADVOCACY OBJECTIVES)
การรณรงค์ เพื่อการไม่ สูบบุหรี่
GOAL
Gen. Obj.
Specific
Policy Obj.
Reduce cigarette smoking to no more than
17 % among Thai people by the year
Advocate for policies that reduce smoking
Among Youth.
Adhere to Picture health warning on
cigarette Pack.
Media Adv. Obj Put Youth smoking on public agenda
การรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
1°Target
2°Target
3°Target
Policy makers
Those who’d like to mobilize to
put pressure on policy makers
(NGOs )
Thai people
Evaluation I
 Basic Process Evaluation Questions
 Did the issue get on the media agenda?
 Did the issue get frame from the policy
perspective?
 Did the media coverage advance the issue?
 Basic Outcomes Evaluation Questions
 The issue got on the public agenda?
 It put Pressure on & mobilized key decision
makers
 The policy was enacted / the change occurred
 Basic Impact Evaluation Questions
 The advanced policy was actually adopted?
Evaluation II
 Process Measures
 Community participation
 Media coverage (newspaper
,radio, T.V.)
 Financial resources generated
 Members’ satisfaction ratings
 Analysis of critical events
Evaluation III
 Outcome Measures
 Services provided (workshops
,newsletters.information channels)
 Community actions
 Changes in Programs
 Rating of Significant Outcomes
 Access to services
 Objectives met over time
Evaluation IV
 Impact Measures
 Behavioral measures:- Risk beh. change
 Community-level Indicators:- Health
Reports
 Using the evaluation
 Celebrate accomplishment
 Make adjustments and contribute to
renewal
 Source and maintain resources