Document 7162127

Download Report

Transcript Document 7162127

Histamine2 recepter antagonist
vs
Proton pump inhibitor
ภญ. อัญชลีพร หล่อสุ วรรณกุล
ฝ่ ายเภสั ชกรรม โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
Stomach
ลักษณะทางจุลกายวิภาคของกระเพาะอาหาร
กลไกการสร้ างและหลัง่ กรดเกลือ
H2O + CO2  H2CO3  H+ + HCO3
กลไกการสร้ างและหลัง่ กรดเกลือ
Diseases related to acid secretion



Peptic ulcer (gastric and duodenal ulcers)
Gastroesophageal reflux disease (GERD)
Zollinger-Ellison syndrome
Drugs used in peptic ulcer
Antacids
Antisecretory drugs
 Histamine 2 receptor antagonists
 Proton pump inhibitors
Cytoprotectives (mucosal protective drugs)
 Prostaglandin
 Sucrafate
 Colloidal bismuth compounds
H. pylori eradication (PPIs + Antibiotics)
H2-Receptor Antagonists
(H2 blocker)
H2-Receptor Antagonists : H2 blocker
 Cimetidine
 Ranitidine : Ranidine Inj, Xanidine Tab
 Famotidine : Famoc Tab
 Nizatidine
H2 blocker : Pharmacology
Competitive inhibition at parietal cell H2-Receptor
acid secretion stimulated by histamine
H2 blocker : Pharmacokinetics
Rapidly absorbed from intestine
First-pass metabolism
Clearance-hepatic metabolism, glomerular filtration and
renal tubular secretion
H2 blocker : Adverse effects
CNS : confusion, hallucination, agitation (IV adminstration,
elderly patients >> cimetidine)
Gynecomastia or impotence (men); galactorrhea (women)
Cimetidine (antiandrogenic effects, inhibit metabolism of
estradiol and increases serum prolactin)
H2 blocker : Adverse effects
ท้ องร่ วง อาการผิดปกติของทางเดินอาหาร ค่ าการทางานของตับเปลีย่ นแปลง (ภาวะ
ตับถูกทาลายพบได้ น้อย) ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ เป็ นผื่นและอ่อนแรง
ผลข้ างเคียงที่พบได้ น้อย ได้ แก่ ตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน หัวใจเต้ นช้ า
AV block สั บสน ซึมเศร้ า และประสาทหลอน (โดยเฉพาะผู้ป่วยสู งอายุ
หรื อผู้ป่วยหนัก) แพ้ยา ระบบเลือดผิดปกติ และอาการทางผิวหนัง
H2 blocker : Drug interaction
Cimetidine : cytochrome P450 inhibitor
หลีกเลีย่ งการใช้ ยา
Chloroquine
 Metformin
 Phenytoin
 Theophylline
 Warfarin

H2 blocker ขนาดและรูปแบบของยาทีม่ ีใช้ ในโรงพยาบาล
Ranitidine® injection 50 mg/2 ml
 Xanidine ® tablet 150,300 mg
 Famoc ® 20 tablet

Ranitidine
Indication





ใช้สำหรับแผลในกระเพำะอำหำร และลำไส้ส่วนเล็ก duodenum
Reflux oesophagitis
Zollinger-Ellison Syndrome
ใช้ป้องกันเลือดออกในกระเพำะอำหำรและลำไส้ส่วน duodenum เนื่องจำก
stress ulceration ในผูป้ ่ วยหนัก
ใช้ก่อนวำงยำสลบ สำหรับผูป้ ่ วยที่มีแนวโน้มจะเกิด acid aspiration โดยเฉพำะ
สตรี ระหว่ำงกำรคลอด
Ranitidine
Administration
IM 50 mg/2 ml
IV injection : 50 mg + 20 ml NSS, D5W เวลาให้ ยา > 5 นาที
IV infusion : 50 mg + 100 ml NSS, D5W


Rate 25 mg/hr
เวลำให้ยำ > 15-20 นำที
Ranitidine
Note

ในกำรป้องกันเลือดออกเนื่องจำกโรคแผลในกระเพำะอำหำรและลำไส้ส่วน
duodenum เนื่องจำก stress ulceration ในผูป้ ่ วยหนักหรื อป้องกัน
เลือดออกซ้ ำ ให้ ranitidine injection เมื่อผูป้ ่ วยรับประทำนได้จึงให้กำรรักษำ
ranitidine tablet
Ranitidine
ข้ อควรระวัง

Ranitidine ถูกขับถ่ำยทำงไต ในผูป้ ่ วย renal impairment
ความคงตัวหลังผสม


ยำมีควำมคงตัวหลังผสม 24 ชัว่ โมง
เก็บให้พน้ แสง
Famotidine
ใช้ รักษา Duodenal ulcer, gastric ulcer
รักษา Zollinger-Ellison Syndrome,
Gastroesophageal reflux disease
upper gastrointestinal bleeding
Proton-pump inhibitors
PPIs
Proton-pump inhibitors : PPIs
Omeprazole : Losec Inj, Zefxon Inj, Miracid Cap
Esomeprazole : Nexium Inj, Nexium Tab
( S-omeprazole-longer half-life than R-isomer)
Lansoprazole : Prevacid FDT Tab
Pantoprazole : Controloc Inj, Pantoprazole Sandoz Inj,
Controloc Tab
Rabeprazole : Pariet Tab
PPIs : Pharmacology
Protonation
Inhibition
Prodrug
Sulfenamide
Covalent กับ proton pump
Prodrugs
After absorption into the systemic circulation, the prodrug >> parietal
cells of the stomach >> secretory canaliculi >>activated by protoncatalyzed >> tetracycline sulfenamide
PPIs : Pharmacology
Prevent degradation of PPIs
Enteric coated
PPIs : Pharmacokinetics
Ideally – should be given about 30 min before meal
Food delays absorption
PPIs are rapid absorbed in small intestine, highly protein
bound, and extensively metabolized by hepatic CYPs,
particular CYP2C19 and CYP3A4
PPIs : Pharmacokinetics
Maximal suppression of acid secretion requires several doses
of the PPIs (2-5 day of therapy with once-daily dosing to
achieve the 70% inhibition of proton pumps that is seen at
steady state)
PPIs : Pharmacokinetics
Severe hepatic disease – dose reduction is recommended for
esomeprazole and should be considered for lansoprazole
Chronic renal failure does not lead to drug accumulation
with once-a-day dosing of PPIs
PPIs : Adverse effects
Nausea, abdominal pain, constipation, flatulance and diarrhea
Subacute myopathy, arthralgias, headaches and skin rashes
Loss of gastric acidity >> affect bioavailability of ketoconazole,
ampicillin, and iron salts
PPIs : Therapeutic uses
Gastroesophageal reflux disease (GERD)
Peptic ulcer disease



H.pylori-associated ulcers
NSAIDs-associated ulcers
Preventation of rebleeding from peptic ulcers
Prevention of stress-related mucosal bleeding
Gastrinoma and other hypersecretory condition (e.g.ZollingerEllison syndrome)
PPIs ขนาดและรูปแบบของยาทีม่ ีใช้ ในโรงพยาบาล
Omeprazole
• Losec® Injection 40 mg/vial
• Zefxon® Injection 40 mg/vial
• Miracid® Capsule 20 mg
Esomeprazole
• Nexium® Injection 40 mg
• Nexium® Tablet 20 mg
PPIs ขนาดและรูปแบบของยาทีม่ ีใช้ ในโรงพยาบาล
Lansoprazole
• Prevacid ® Tablet 15 mg, 30 mg
Pantoprazole
• Controloc® Injection 40 mg/vial
• Pantoprazole Sandoz® Injection 40 mg/vial
• Controloc® Tablet 40 mg
Rabeprazole
• Pariet® Tablet 10 mg
Omeprazole Inj
Administration
IV injection
 Reconstitution : ให้ละลำยยำด้วยสำรละลำยที่ให้มำ 10 ml (IV
injection > 2.5 นำที)
 ควรใช้ให้หมดภำยใน 4 ชัว
่ โมงหลังละลำยแล้ว
Esomeprazole Inj
Administration
IV injection


Reconstitution : 5 ml NSS
(>3 mins)
IV infusion (10-30 mins)




Reconstitution : 5 ml NSS
Dilute : 95 ml NSS
ควรใช้ภำยใน 12 ชัว่ โมงหลังผสม
เก็บที่อุณหภูมิต่ำกว่ำ 30°C
Pantoprazole Inj
Administration
IV injection :


Reconstitute : 10 ml NSS
เวลำให้ยำ 2-15 นำที
IV infusion :



Reconstitute : 10 ml NSS
dilute 100 ml NSS, D5W
อำยุยำหลังจำกผสมแล้ว : เก็บยำไว้ในที่อุณหภูมิไม่เกิน 25 °C และใช้
ภำยใน 12 ชัว่ โมง
PPIs
 Rabeprazole (Pariet ®) ขนาด 20
mg ไม่ แนะนาให้ ใช้ ในเด็ก
 เนื่องจากยังไม่ มกี ารทดลอง และมีขนาดรับประทาน วันละ
10-20 mg
 เป็ นเวลาติดต่ อกันนาน 4-8 สั ปดาห์ หรื อตามแพทย์ สั่ง
PPIs
ขนาด 20 mg มีข้อบ่ งใช้
ตั้งแต่ เด็กอายุ 1 ปี ขึน้ ไป ขนาดยาที่
รับประทานจะขึน้ กับโรคและความรุ นแรง
ของอาการ
เป็ นเวลาติดต่ อกันนาน 4-8 สั ปดาห์
หรื อตามแพทย์สั่ง
PPIs
 Esomeprazole (Nexium ®) ขนาด
20 mg ยานีไ้ ม่ แนะนาให้ ใช้ ในเด็กเนื่องจากยังไม่ มกี าร
ทดลอง ขนาดยาทีร่ ับประทานขึน้ กับโรคและความรุ นแรง
ขนาดยาทีแ่ นะนาคือวันละ 20-40 mg เป็ นเวลา
ติดต่ อกันนาน 4-8 สั ปดาห์ หรื อตามแพทย์ สั่ง
Nexium® ทำอยูใ่ นรู ปแบบ Filmcoated tablet จึงสำมำรถนำเม็ดยำมำละลำย
ในน้ ำก่อนรับประทำนได้ ใช้กบั ผูท้ ี่ไม่สำมำรถกลืนยำเม็ด
ได้ โดยนำไปละลำยน้ ำจำนวนเล็กน้อย แล้วจึงค่อยรับ
ประ ทำน แต่ยำในรู ปแบบนี้หำ้ มบดเม็ดยำเพรำะจะทำให้
กำรออกฤทธิ์เสี ยไป
PPIs
Pantoprazole
(Controloc®) ขนาด 40 mg
ไม่ แนะนาให้ ใช้ ในเด็กเนื่องจากยังไม่ มีการ
ทดลอง ขนาดยาที่รับประทานขึน้ กับโรค และ
ความรุ นแรงของอาการ ขนาดยาทีแ่ นะนาคือวัน
ละ 40-80 mg ติดต่ อกัน 2-8
สั ปดาห์ หรื อตามแพทย์สั่ง
PPIs
 Lansoprazole (Prevacid ® FDT)
ขนาด 30 mg มีข้อบ่ งใช้ ในเด็กตั้งแต่
 อายุ 1 ปี ขึน้ ไป โดยมีขนาดในการรับประทานยาดังนี้
เด็กอายุ 1-11 ปี
 นา้ หนัก ≤ 30 กิโลกรัม รับประทานวันละ 15 mg
 นา้ หนัก > 30 กิโลกรัม รับประทานวันละ 30 mg
 เด็ก 12-17 ปี รับประทานวันละ 15-30 mg
เป็ นเวลาติดต่ อกันนาน 8 สั ปดาห์
 ผู้ใหญ่ มีขนาดรับประทานตั้งแต่ 15-30 mg เป็ นเวลา
ติดต่ อกันนาน 4-12 สั ปดาห์
 ขนาดยาและระยะเวลาในการรักษาอาจปรับได้ ตามโรค และ
ความรุ นแรงของอาการ ซึ่งขึน้ กับดุลพินิจของแพทย์
PPIs
Prevacid ® ทาอยู่ในรู ปแบบ Fast
Disintegrating Tablet (FDT)
เม็ดยาจะมีลกั ษณะอ่ อน กร่ อนได้ ง่าย ยารู ปแบบนีส้ ามารถ
วางบนลิน้ อมให้ เม็ดยาแตกตัวในปากแล้วจึงค่ อยกลืนได้
นอกจากนีย้ งั สามารถนาเม็ดยามาใส่ ในนา้ จานวนเล็กน้ อยให้
เม็ดยาแตกตัว แล้วจึงนามารับประทานได้ เหมาะสาหรับ
ผู้ป่วยเด็ก หรื อผู้ป่วยทีไ่ ม่ สามารถกลืนเม็ดยาได้ อย่างไรก็
ตามยารู ปแบบนีห้ ้ ามนาไปบด หรื อเคีย้ วเม็ดยาในขณะทีอ่ ม
เม็ดยาอยู่ เพราะจะทาให้ ยาสู ญเสี ยการออกฤทธิ์ได้
นอกจากนีย้ ายังไวต่ อความชื้นและมีความเปราะบาง เมื่อ
แกะเม็ดยาออกจากแผงแล้วควรใช้ ยาทันที
PPIs ที่สามารถ feed ได้
Miracid (Omeprazole)
Nexium MUPs (Esomeprazole)
Prevacid FDT (Lansoprazole)
การเปรียบเทียบประสิ ทธิภาพในการลดการหลัง่ กรดของยากลุ่ม
H2 blocker VS PPIs
Parietal cell เป็ นเซลล์ในกระเพาะอาหารที่มหี น้ าที่หลัง่ กรด
มี receptor อยู่ 4 ตัวคือ M3, H2, SSR, CCK-B
H2 blocker
ยำกลุ่ม H2 blocker จะ จับกับ parietal cell
ที่ตำแหน่ง H2 receptor จึงไม่เกิดกำร
กระตุน้ proton pump ให้หลัง่ กรด แต่
proton pump ยังถูก activate ผ่ำน receptor
อีก 3 ตัวที่เหลือคือ M3, SSR, CCK-B ทำ
ให้กระเพำะอำหำรยังหลัง่ กรดออกมำได้
PPIs
PPIs block ที่ H+, K+ ATPase
ทำให้ parietal cell ไม่สำมำรถหลัง่ กรดได้
(Block final step)
Thank you