ความปลอดภัยในการใช้ เครื่องมือ เครื่องมือ ความหมาย อุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ง านโดยอาศัย ก าลัง จากมื อ และแขน ปกติ จ ะเป็ น อุ ป ก ร.

Download Report

Transcript ความปลอดภัยในการใช้ เครื่องมือ เครื่องมือ ความหมาย อุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ง านโดยอาศัย ก าลัง จากมื อ และแขน ปกติ จ ะเป็ น อุ ป ก ร.

ความปลอดภัยในการใช้
เครื่องมือ
1
1
เครื่องมือ
ความหมาย
อุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ง านโดยอาศัย ก าลัง จากมื อ และแขน ปกติ จ ะเป็ น
อุ ป ก ร ณ์ ที่ มี ข น า ด เ ล็ ก น้ า ห นั ก เ บ า พ อ ดี กั บ มื อ ห รื อ ก า ลั ง ข อ ง ค น
เพื่อจะได้สะดวกและเหมาะสมในการใช้งาน
32
การใช้งานของเครือ่ งมือ
ขึน้ รู ป
เจาะ
ประกอบ
เฉือน
ตัด
3
กลมุ่ ของเครื่องมือที่ใช้ในงานโลหะ
และงานไม้
เครื่องมือที่ใช้ ตัดหรือ
เฉือน
เครื่องมือทีใ่ ช้
แรงบิด
เครื่องมือที่ใช้ แรง
กระแทก
เครือ่ งมือที่ใช้ตดั หรือเฉือน
หมายถึ ง เครื่ องมื อที่ มีลกั ษณะการทางานตัดและเฉื อนชิ้ นงาน
โดยแบ่งเป็ นเครื่ องมือที่ใช้ตดั หรื อเฉื อนในงานโลหะ และเครื่ องมือที่ใช้ตดั
หรื อเฉือนในงานไม้
5
เครือ่ งมือที่ใช้ตดั หรือเฉือน
ใช้ ในงาน
โลหะ
ใช้ ในงานไม้
สกัด (Chisels)
สิ่ ว (Wood Chisels)
ตะไบงานโลหะ (Files)
มีด (Knives)
เ ลื่ อ ย มื อ ง า น โ ล ห ะ
(Hand saws)
เลื่อยมืองานไม้ (Hand
saws)
ชุ ดทาเกลียว (Tap and
die)
ขวาน (Hatchets)
มีดคัตเตอร์ (Cutter)
ตะไบงานไม้ (Files)
6
ตะไบ
เป็ นเครื่ องมือตัดหรื อเฉื อนชนิ ดหนึ่ง มี ฟันขนาด
เล็ก ๆ จ านวนมาก ฟั น จะท าจากโลหะที่ แ ข็ง มาก จึ ง
สามารถตัดหรื อเฉื อนวัสดุที่อ่อนกว่าได้
32
กฎความปลอดภัยในการใช้ตะไบ
เ ลื อ ก ใ ช้ ต ะ ไ บ ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ง า น โ ด ย พิ จ า ร ณ า ชิ้ น ง า น ที่ จ ะ ต ะ ไ บ ว่ า อ อ ก ม า
ม า ก ห รื อ น้ อ ย ต้ อ ง ก า ร พื้ น ผิ ว ที่ ต ะ ไ บ เ รี ย บ ข น า ด ไ ห น ข น า ด ข อ ง พื้ น ที่ ที่ ต้ อ ง
ตะไบมากหรื อน้อย
ต ะ ไ บ เ ห ม า ะ ที่ จ ะ น า ไ ป ใ ช้ ง า น อ ย่ า ง ก ว้ า ง ข ว า ง แ ต่ ก็ มี ต ะ ไ บ บ า ง ช นิ ด ที่
อ อ ก แ บ บ ม า ใ ช้ ส า ห รั บ ไ ม้ เ ห ล็ ก ส แ ต น เ ล ท อ ะ ลู มิ เ นี ย ม แ ล ะ ท อ ง แ ด ง
โดยเฉพาะ
เ ลื อ ก ใ ช้ ต ะ ไ บ ที่ ส ม บู ร ณ์
ฟันยังคม
ด้ า ม ไ ม่ หั ก ห รื อ แ ต ก ร้ า ว แ ล ะ ยึ ด แ น่ น กั บ ต ะ ไ บ
ยึดชิ้นงานให้แน่นกับปากกา โดยให้ส่วนที่ตอ้ งการตะไบอยูใ่ นแนวนอน
การยืนให้เท้าซ้ายอยูใ่ กล้กบั ชิ้นงาน ส่วนเท้าขวาอยูห่ ่างจากเท้าซ้ายประมาณ
12 นิ้ว โดยที่ปลายเท้าทั้ง 2 เปิ ดหรื อบานออกจากกันเล็กน้อย
 การจับตะไบ ใช้มือขวาจับด้าม ส่วนมือซ้ายจับที่ปลายของตะไบ
ถ้าต้องการตะไบให้กบั ชิ้นงานมากก็ใช้องุ ้ มือกดที่ปลาย แต่ถา้ ต้องการตะไบ
ไม่แรงก็ใช้นิ้วแม่มือกดแทน
 การตะไบ ให้กดทั้งมือซ้ายและมือขวา พร้อมผลักตะไบไปข้างหน้า ฟันของ
ตะไบจะเฉื อนหรื อตัดชิ้นงาน เมื่อสุดระยะของตะไบให้ยกขึ้นแล้วดึง
ถอยหลังมาเริ่ มต้นใหม่ ทาเช่นนี้จนกระทัง่ ชิน้ งานถูกตะไบถูกตะไบตัดหรื อ
เฉื อนจนได้ขนาดตามต้องการ
 ตะไบเมื่อใช้งานนานๆ ร่ องฟันของตะไบจะถูกอุดตันด้วยเศษโลหะหรื อไม้
ซึ่งจะทาให้การตะไบต่อไปไม่ได้ผล ควรแปรงลวดทาความสะอาดร่ องฟัน
เพื่อกาจัดสิ่ งสกปรกที่อุดตัน ไม่ควรใช้วธิ ีการเคาะ
 ห้ามใช้ตะไบทุบสิ่ งของแทนค้อนหรื อใช้งดั แทนเหล็กงัด
 ไม่ควรใช้ลมเป่ าเศษเหล็กหรื อไม้ที่ตะไบออกมาเพราะอาจกระเด็นเข้าตา
 สถานที่เก็บตะไบควรจะสะอาดและแห้ง เช่น กล่องหรื อที่แขวนตะไบ
โดยเฉพาะ
 ภายหลังจากใช้งานทุกครั้ง ควรทาความสะอาดตะไบด้วยแปรงลวดแล้วเก็บ
ไว้ให้เรี ยบร้อย
8
กฎความปลอดภัยในการใช้ตะไบ
การยืนให้เท้าซ้ายอยู่ใกล้กบั ชิ้ นงาน ส่ วนเท้าขวาอยู่ห่างจากเท้าซ้ายประมาณ
12 นิ้ว โดยที่ปลายเท้าทั้ง 2 เปิ ดหรื อบานออกจากกันเล็กน้อย
การจั บ ตะไบ ใช้ มื อ ขวาจั บ ด้ า ม ส่ วนมื อซ้ า ยจั บ ที่ ป ลายของตะไบ
ถ้าต้องการตะไบให้กบั ชิ้ นงานมากก็ใช้อุง้ มือกดที่ปลาย แต่ถา้ ต้องการตะไบ
ไม่แรงก็ใช้นิ้วแม่มือกดแทน
การตะไบ ให้กดทั้งมือซ้ายและมือขวา พร้อมผลักตะไบไปข้างหน้า ฟั นของ
ตะไบจะเฉื อ นหรื อตัด ชิ้ น งาน เมื่ อ สุ ด ระยะของตะไบให้ ย กขึ้ นแล้ว ดึ ง
ถอยหลังมาเริ่ มต้นใหม่ ทาเช่ นนี้ จนกระทัง่ ชิ้ นงานถูกตะไบถูกตะไบตัดหรื อ
เฉือนจนได้ขนาดตามต้องการ
9
กฎความปลอดภัยในการใช้ตะไบ
ตะไบเมื่ อใช้งานนานๆ ร่ องฟั นของตะไบจะถูกอุ ดตันด้วยเศษโลหะหรื อไม้
ซึ่ ง จะทาให้การตะไบต่ อไปไม่ได้ผล ควรแปรงลวดทาความสะอาดร่ อ งฟั น
เพื่อกาจัดสิ่ งสกปรกที่อุดตัน ไม่ควรใช้วิธีการเคาะ
ห้ามใช้ตะไบทุบสิ่ งของแทนค้อนหรื อใช้งดั แทนเหล็กงัด
ไม่ควรใช้ลมเป่ าเศษเหล็กหรื อไม้ที่ตะไบออกมาเพราะอาจกระเด็นเข้าตา
สถานที่ เ ก็ บ ตะไบควรจะสะอาดและแห้ ง เช่ น กล่ อ งหรื อที่ แ ขวนตะไบ
โดยเฉพาะ
ภายหลังจากใช้งานทุกครั้ง ควรทาความสะอาดตะไบด้วยแปรงลวดแล้วเก็บ
ไว้ให้เรี ยบร้อย
38
กฎความปลอดภัยในการใช้ตะไบ
ระมัดระวังอย่าให้ส่วนฟันของตะไบสัมผัสกับน้ าหรื อน้ ามัน
เ มื่ อ ใ ช้ ง า น น า น ค ว ร ต ร ว จ ส อ บ ส ภ า พ ข อ ง ต ะ ไ บ ต้ อ ง ไ ม่ โ ค้ ง ง อ ห รื อ ฟั น ช า รุ ด
ถ้าพบว่าผิดปกติตอ้ งซ่อมแซม
35
สกัด
เ ป็ น เ ค รื่ อ ง มื อ ตั ด ห รื อ เ ฉื อ น อี ก ช นิ ด ห นึ่ ง ที่ ใ ช้ ง า น อ ย่ า ง แ พ ร่ ห ล า ย
ซึ่งต้ องใช้ งานร่ วมกับค้ อน ปกติจะใช้ สกัดในงานตัดเศษโลหะส่ วนเกินบนผิวโลหะ ตัดนอตหรือสลัก เกลียวที่ถอดไม่
ออก ตัดรอยเชื่ อมส่ วนเกิน ตัดแผ่ นโลหะ และเซาะร่ อง สกัดทามาจากเหล็กกล้ าเนื้อดี มีความแข็งแ ละเหนียว
มากกว่ าเหล็กทัว่ ๆ ไป มีขนาดยาว 4-8 นิว้
สกัด
ลาตัวจะทาเป็ นรู ปหก
เหลี่ยม
ส่ วนหัวเป็ นรู ปทรง
กลมแบน
ส่ วนด้านปลายใช้เป็ นคมสาหรับตัดโลหะจะมีหลาย
แบบ เช่น ปลายแบน (Flat) ปลายแหลม (Cape) ปลายมน
(Round Nose) ปลายตัด (Diamond Point) ซึ่ งปลายแต่ละ
แบบมีความเหมาะสมในการใช้งานแตกต่างกัน
13
36
กฎความปลอดภัยในการใช้สกัด
สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ได้แก่ แว่นตานิรภัย รองเท้านิรภัย
เ ลื อ ก ใ ช้ ส กั ด ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ก า ร ใ ช้ ง า น เ ช่ น ส กั ด ป ล า ย แ บ น เ ห ม า ะ ส ม ส า ห รั บ
ใ ช้ ส กั ด ผิ ว ห น้ า ข อ ง โ ล ห ะ ที่ ต้ อ ง ก า ร เ อ า เ ศ ษ อ อ ก เ ป็ น พื้ น ที่ ก ว้ า ง แ ล ะ ลึ ก ส่ ว น ส กั ด
ปลายมนเหมาะในงานเซาะร่ องครึ่ งวงกลม
ปลายของสกัดจะต้องคม และคงรู ปเดิม ไม่บิ่น
ชิ้นงานที่จะสกัดต้องยึดให้แน่น
ก า ร จั บ ส กั ด ส า ห รั บ ผู ้ ที่ ถ นั ด มื อ ข ว า ใ ห้ ใ ช้ มื อ ซ้ า ย จั บ ด้ า ม ส กั ด
จับค้อน การสกัดต้องยกค้อนสูงเพียงพอที่จะมีแรงส่งให้สกัดตัดชิ้นงานได้
•ค้อนที่ใช้กบั สกัดต้องมีขนาดเหมาะสม หัวค้อนและหัวสกัดต้องแห้งไม่มีน้ ามัน
หรื อจาระบี
• มุมของสกัดกับชิ้นงานถ้าใช้สาหรับเซาะร่ องมุมสกัดจะน้อย ถ้าต้องการตัด
ชิ้นงานมุมจะมาก นอกจากนั้นมุมของสกัดยังขึ้นอยูก่ บั วัสดุที่จะสกัดด้วย
ถ้าเป็ นเหล็กเหนียวมุมสกัดประมาณ 50-70 องศา ถ้าเป็ นอะลูมิเนียมมุมสกัด
จะประมาณ 30 องศา
• ขณะสกัดต้องระมัดระวังเศษโลหะกระเด็น ถ้าจาเป็ นควรหาแผงกั้น
• สกัดเมื่อใช้งานนานๆ ส่วนหัวซึ่งถูกค้อนตีจะบานเป็ นดอกเห็ด ด้านปลายเองก็จะทื่อ
จึงต้องเจียระไนหรื อลับ ขณะลับสกัดต้องจุ่มน้ าเป็ นระยะเพื่อระบายความร้อน
• เมื่อสกัดเสร็ จแล้วชิ้นงานยังมีส่วนที่คมอยูค่ วรใช้ตะไบช่วยลบคมของชิ้นงานให้เรี ยบ
• การเก็บสกัดควรจะมีภาชนะโดยเฉพาะซึ่งสะอาดและแห้ง
ส่ ว น มื อ ข ว า
13
กฎความปลอดภัยในการใช้สกัด
ค้อ นที่ ใ ช้กับ สกัด ต้อ งมี ข นาดเหมาะสม หั ว ค้อ นและหั ว สกัด ต้อ งแห้ ง ไม่ มี น้ ามัน
หรื อจาระบี
มุ ม ของสกั ด กั บ ชิ้ น งานถ้ า ใช้ ส าหรั บ เซาะร่ องมุ ม สกั ด จะน้ อ ย ถ้ า ต้ อ งการตั ด
ชิ้ นงานมุ ม จะมาก นอกจากนั้ นมุ ม ของสกั ด ยั ง ขึ้ นอยู่ กั บ วั ส ดุ ที่ จะสกั ด ด้ ว ย
ถ้า เป็ นเหล็ ก เหนี ย วมุ ม สกัด ประมาณ 50-70 องศา ถ้า เป็ นอะลู มิ เ นี ย มมุ ม สกัด
จะประมาณ 30 องศา
ขณะสกัดต้องระมัดระวังเศษโลหะกระเด็น ถ้าจาเป็ นควรหาแผงกั้น
สกัดเมื่อใช้งานนานๆ ส่ วนหัวซึ่ งถูกค้อนตีจะบานเป็ นดอกเห็ด ด้านปลายเองก็จะทื่อ
จึงต้องเจียระไนหรื อลับ ขณะลับสกัดต้องจุ่มน้ าเป็ นระยะเพื่อระบายความร้อน
14
กฎความปลอดภัยในการใช้สกัด
เมื่อสกัดเสร็จแล้วชิ้นงานยังมีส่วนที่คมอยูค่ วรใช้ตะไบช่วยลบคมของชิ้นงานให้เรี ยบ
การเก็บสกัดควรจะมีภาชนะโดยเฉพาะซึ่งสะอาดและแห้ง
15
เลื่อยมือ
เลื่อยมือเป็ นเครื่ องตัดหรื อเฉื อนโลหะอีกชนิ ดหนึ่ งที่มีการใช้
อย่างแพร่ หลาย เหมาะสาหรับใช้ตดั ท่อหรื อแท่งเหล็กกลมที่มีขนาดเล็ก
และแผ่นโลหะที่หนาเกินกว่าจะใช้กรรไกรตัดได้
16
เลื่อยมืองานโลหะ
แบ่งได้เป็ น 3
ส่ วน
1. โครงเลือ่ ย
(Frame)
2. ด้ ามถือ
(Handle)
3. ใบเลือ่ ย
(Blade)
ความปลอดภัยในการใช้เลื่อยมือ
ส ว ม ใ ส่ อุ ป ก ร ณ์ ป้ อ ง กั น อั น ต ร า ย ส่ ว น บุ ค ค ล ไ ด้ แ ก่ แ ว่ น ต า นิ ร ภั ย เ พื่ อ ป้ อ ง กั น
เ ศ ษ โ ล ห ะ ก ร ะ เ ด็ น เ มื่ อ ใ บ เ ลื่ อ ย หั ก แ ล ะ ส ว ม ใ ส่ ร อ ง เ ท้ า นิ ร ภั ย เ พื่ อ ป้ อ ง กั น ข อ ง ห นั ก
ตกทับเท้า
เ ลื อ ก ใ ช้ ใ บ เ ลื่ อ ย ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ชิ้ น ง า น ถ้ า ชิ้ น ง า น มี ค ว า ม ห น า จ า น ว น ฟั น ข อ ง
ใ บ เ ลื่ อ ย ต่ อ ค ว า ม ย า ว ห นึ่ ง นิ้ ว จ ะ น้ อ ย ถ้ า ชิ้ น ง า น บ า ง จ า น ว น ฟั น ข อ ง ใ บ เ ลื่ อ ย ต่ อ
ความยาวหนึ่งนิ้วจะมาก
ใ ส่ ใ บ เ ลื่ อ ย เ ข้ า กั บ โ ค ร ง เ ลื่ อ ย
เพื่อให้การทางานสะดวกและปลอดภัย
โ ด ย ใ ห้ ฟั น ข อ ง ใ บ เ ลื่ อ ย พุ่ ง อ อ ก จ า ก ด้ า ม ข อ ง เ ลื่ อ ย
ปรับใบเลื่อยให้ตรงกับโครงเลื่อยแล้วขันสกรู ดึงให้ใบเลื่อยตรึ ง
• การจับเลื่อย สาหรับคนงานที่ถนัดมือขวา ให้ใช้มือขวาจับที่ดา้ ม ส่วนมือซ้ายจับที่
ด้านปลายของโครงเลื่อย ส่วนการวางเท้าให้ตาแหน่งเท้าซ้ายชิดกับชิ้นงาน
ส่วนเท้าขวาห่างจากชิ้นงานประมาณ 18-20 นิ้ว
• ขณะเลื่อยให้ออกแรงกดใบเลื่อยในจังหวะดันเลื่อยไปข้างหน้า ด้วยแรงเพียงพอที่
ฟันของใบเลื่อยจะตัดชิ้นงาน ส่วนจังหวะชักเลื่อยกลับไม่ควรออกแรงกดเลื่อย
ถ้าใบเลื่อยติดขัดกับตัวชิ้นงานให้ออกแรงเพียงพอที่จะดึงใบเลื่อยออกพ้นจากจุดที่ติด
• ใบเลื่อยจะหักได้ง่ายถ้าออกแรงกด กระแทกหรื อบิด ขณะเลื่อยมากไป
• ความเร็ วของการเลื่อยไม่ควรเกิน 50 ครั้งต่อนาที เพราะถ้าเร็ วมากไปใบเลื่อย
จะร้อน และฟันของใบเลื่อยจะอ่อนตัดไม่เข้า ความเร็ วของการเลื่อยจะเปลี่ยนไป
ตามวัสดุที่ใช้ทาใบเลื่อย จานวนฟันเลื่อย และวัสดุที่จะเลื่อย
• ถ้าชิ้นงานเป็ นแผ่นบางควรใช้ไม้ประกบหน้าและหลังขณะเลื่อย มิฉะนั้นชิ้นงาน
จะบิดไปมาขณะเลื่อย จะทาให้ใบเลื่อยหักง่าย
• กรณี ที่ชิ้นงานเป็ นท่อบาง ให้ใช้ประกบท่อขณะจับปากกา ส่วนท่อบริ เวณที่จะ
เลื่อยต้องหาไม้อุดไว้
• ขณะเลื่อยต้องระมัดระวังตลอดเวลาเพราะใบเลื่อยอาจหักทาอันตรายแก่มือได้
• การทาความสะอาดเศษขี้เลื่อยให้ใช้แปรง ห้ามใช้ลมเป่ า
• ขอบชิ้นงานที่ตดั เสร็ จจะคม ควรใช้ตะไบถูออกให้เรี ยบ
• ภายหลังจากใช้เสร็ จ ควรถอดใบเลื่อยออกจากโครงเลื่อยแล้วเก็บไว้พร้อมชโลม
น้ ามัน ส่วนโครงเลื่อยให้แขวนในที่จดั เตรี ยมไว้
37
ความปลอดภัยในการใช้เลื่อย
มือ
การจับเลื่อย สาหรับคนงานที่ถนัดมือขวา ให้ใช้มื อขวาจับที่
ด้ า ม
ส่ ว น มื อ ซ้ า ย จั บ ที่
ด้านปลายของโครงเลื่อย ส่ วนการวางเท้าให้ตาแหน่ งเท้าซ้าย
ชิ
ด
กั
บ
ชิ้
น
ง
า
น
ส่ วนเท้าขวาห่างจากชิ้นงานประมาณ 18-20 นิ้ว
ขณะเลื่อยให้ออกแรงกดใบเลื่อยในจังหวะดันเลื่อยไปข้างหน้า
ด้ ว ย แ ร ง เ พี ย ง พ อ ที่
ฟันของใบเลื่อยจะตัดชิ้นงาน ส่ วนจังหวะชักเลื่อยกลับไม่ควร
อ อ ก แ ร ง ก ด เ ลื่ อ ย
ถ้าใบเลื่อยติดขัดกับตัวชิ้ นงานให้ออกแรงเพียงพอที่จะดึงใบ
เลื่อยออกพ้นจากจุดที่ติด
ใบเลื่ อยจะหักได้ง่ายถ้าออกแรงกด กระแทกหรื อบิ ด ขณะ
เลื่อยมากไป
20
ความปลอดภัยในการใช้เลื่อย
มือ
ความเร็ วของการเลื่อยไม่ควรเกิน 50 ครั้งต่อนาที เพราะถ้า
เ ร็ ว ม า ก ไ ป ใ บ เ ลื่ อ ย
จะร้อน และฟั นของใบเลื่อยจะอ่อนตัดไม่เข้า ความเร็วของ
ก า ร เ ลื่ อ ย จ ะ เ ป ลี่ ย น ไ ป
ตามวัสดุที่ใช้ทาใบเลื่อย จานวนฟันเลื่อย และวัสดุที่จะเลื่อย
ถ้าชิ้ นงานเป็ นแผ่นบางควรใช้ไม้ประกบหน้าและหลังขณะ
เ ลื่ อ ย
มิ ฉ ะ นั้ น ชิ้ น ง า น
จะบิดไปมาขณะเลื่อย จะทาให้ใบเลื่อยหักง่าย
กรณี ที่ชิ้นงานเป็ นท่อบาง ให้ใช้ประกบท่อขณะจับปากกา
ส่ ว น ท่ อ บ ริ เ ว ณ ที่ จ ะ
เลื่อยต้องหาไม้อุดไว้
ขณะเลื่อยต้องระมัดระวังตลอดเวลาเพราะใบเลื่อยอาจหักทา
อันตรายแก่มือได้
การทาความสะอาดเศษขี้เลื่อยให้ใช้แปรง ห้ามใช้ลมเป่ า
21
ความปลอดภัยในการใช้เลื่อย
มือ
ขอบชิ้นงานที่ตดั เสร็ จจะคม ควรใช้ตะไบถูออกให้เรียบ
ภายหลังจากใช้เสร็ จ ควรถอดใบเลื่ อยออกจากโครงเลื่ อ ย
แ ล้ ว เ ก็ บ ไ ว้ พ ร้ อ ม ช โ ล ม
น้ ามัน ส่ วนโครงเลื่อยให้แขวนในที่จดั เตรี ยมไว้
22
เครือ่ งมือที่ใช้
แรงบิด
หมายถึง เครื่ องมือที่มีลกั ษณะการทางานจะใช้
แรงบิ ด จากเครื่ องมื อ ส่ ง ไปยัง ชิ้ น งาน เครื่ องมื อ ที่ ใ ช้
แรงบิ ดสามารถใช้ได้ท้ งั งานโลหะและงานไม้ เช่ น ไข
ควง ประแจ และคีม เป็ นต้น
23
ไขควง
ไขควงเป็ นเครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้แ รงบิ ด ส าหรั บ ขั น หรื อ
คลายสกรู และสลักเกลียวที่ยดึ ไม้ พลาสติกหรื อโลหะ
24
ไขควง
แบ่งได้เป็ น 3
ส่ วน
1. ด้ าม (Handle)
2. ก้ านหรือแกน
(shank)
3. ปากหรือปลาย
(Blade)
25
ไขควง
ด้ า
ม
ใช้ ส าหรั บ จั บ ท าจากไม้ โลหะ
หรือพลาสติก
ก้ านหรือ
แกน
ใช้ ส าหรั บ ส่ งแรงบิ ด ไปยั ง ส่ วน
ป
ล
า
ย
ท า จ า ก โ ล ห ะ มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น
สี่ เหลีย่ มหรือกลม
ปากหรือ
ปลาย
มี 2 แ บ บ คื อ ป า ก สี่ แ ฉ ก
(Phillip)
และ
ปากแบน (Flat)
26
ความปลอดภัยในการใช้ไข
ควง
เลือกใช้ ปากของไขควงให้เหมาะสมกับร่ องของหัวสกรู หรื อ
ส ลั ก เ ก ลี ย ว
เ ช่ น
ปากสี่ แฉก ร่ องสกรู ตอ้ งเป็ นสี่ แฉก ปากแบน ร่ องสกรู ตอ้ ง
เป็ นแบบตรง
ความหนาของปากไขควงต้องพอดีกบั ร่ องของสกรู
การจับไขควงสาหรับผูถ้ นัดมือขวา ให้มือขวาจับด้ าม ส่ วน
มื อ ซ้ า ย จั บ ที่ แ ก น แ ล้ ว
ออกแรงบิดด้วยมือขวาส่ วนมือซ้ายเพียงแต่ประคอง ถ้ากาลัง
ไ
ม่
พ
อ
ใ
ห้
ใ
ช้
ประแจปากตายช่วย
ขณะใช้งานไขควงต้องตั้งตรงหรื อตั้งฉากกับหัวสกรู เมื่ อ
ต้ อ ง ก า ร ค ล า ย ส ก รู ใ ห้ บิ ด
ไขควงทวนเข็มนาฬิกาและบิดตามเข็มนาฬิกาเมื่อต้องการขัน
ให้แน่น
27
ความปลอดภัยในการใช้ไข
ควง
ไม่ควรถือชิ้นงานไว้ในมือขณะใช้ไขควง เพราะอาจจะพลาด
ถูกมือได้
อย่าใช้ไขควงที่ชารุ ด เช่น ด้ามแตกหรื อร้าว ปากที่งอหรื อ
บิดงอ
การขันสกรู ยึดชิ้ นงานที่ เป็ นไม้ควรใช้เหล็กตอกหรื อสว่าน
เจาะนาก่อน
ปากไขควงและหัวสกรู ตอ้ งไม่มีน้ ามันหรื อจาระบี
ห้ามใช้ไขควงแทนสกัดหรื อเหล็กนาศูนย์และเหล็กงัด
28
ประแจ
ประแจเป็ นเครื่องมือทีใ่ ช้ แรงบิดที่สาคัญใช้
สาหรับจับ ยึด ขัน หรือคลายหัวสกรู นอต สลัก
เกลียว และท่ อ
29
ชนิดของ
ประแจ
1. ประแจชนิดปากปรับได้ (Adjustable
Wrenches)
ประแจชนิดนี้ปากสามารถปรับให้เล็กหรื อใหญ่ได้
ตามความเหมาะสมของงานที่จะนาไปใช้ เช่น ประแจเลื่อน
และประแจจับแป๊ บหรื อประแจคอม้า
30
ชนิดของ
ประแจ
2. ประแจชนิดปากปรับไม่ ได้
(Nonadjustable Wrenches)
ประแจชนิ ดนี้ ปากจะมีขนาดคงที่ ไม่สามารถปรับ
ให้เล็กหรื อใหญ่ได้ เช่น ประแจปากตาย (Open
and
Wrench) ประแจแหวน (Ring Box Wrench) และประแจ
รวม (Combination Wrench)
31
ชนิดของ
ประแจ
3. ประแจชนิดพิเศษ (Special
Wrenches)
ประแจชนิ ดนี้ ปกติออกแบบให้เหมาะสมกับหัว
สกรู ห รื อนอตที่ มี ล ัก ษณะพิ เ ศษ เป็ นงานเฉพาะจุ ด ซึ่ ง
ประแจ 2 ชนิ ดแรกทาไม่ได้หรื อไม่สะดวก เช่ น ประแจ
บล็อก (Socket Wrench) และประแจแอล (Set Screw
Wrench)
32
38
ความปลอดภัยในการใช้ประแจ
เ ลื อ ก ใ ช้ ป ร ะ แ จ ที่ มี ข น า ด ข อ ง ป า ก แ ล ะ ค ว า ม ย า ว ข อ ง ด้ า ม เ ห ม า ะ ส ม กั บ ง า น ที่ ใ ช้
ไม่ควรต่อด้ามให้ยาวกว่าปกติ
ปากของประแจต้องไม่ชารุ ด เช่น สึ กหรอ ถ่างออกหรื อร้าว
เ มื่ อ ส ว ม ใ ส่ ป ร ะ แ จ เ ข้ า กั บ หั ว น อ ต ห รื อ หั ว ส ก รู แ ล้ ว ป า ก ข อ ง ป ร ะ แ จ ต้ อ ง แ น่ น พ อ ดี
และคลุมเต็มหัวนอต
ก า ร จั บ ป ร ะ แ จ ส า ห รั บ ผู ้ ถ นั ด มื อ ข ว า ใ ห้ ใ ช้ มื อ ข ว า จั บ ป ล า ย ป ร ะ แ จ ส่ ว น มื อ ซ้ า ย
หาที่ยดึ ให้มนั่ คง ร่ างกายต้องอยูใ่ นสภาพมัน่ คงและสมดุล
ก า ร ขั น ป ร ะ แ จ ไ ม่ ว่ า จ ะ ขั น ใ ห้ แ น่ น ห รื อ ค ล า ย
และเตรี ยมพร้อมสาหรับปากประแจหลุดขณะขันด้วย
ต้ อ ง ใ ช้ วิ ธี ดึ ง เ ข้ า ห า ตั ว เ ส ม อ
• ควรเลือกใช้ประแจชนิดปากปรับไม่ได้ก่อน เช่น ประแจแหวนหรือประแจปากตาย
ถ้าประแจเหล่านี้ใช้ไม่ได้ จึงค่อยเลือกใช้ประแจปากปรับได้ เช่น ประแจเลื่อนแทน
• การใช้ประแจปากปรับได้ เช่น ประแจเลื่อนหรื อประแจจับแป๊ บ ต้องให้ปากด้าน
ที่เลื่อนได้อยูต่ ิดกับผูใ้ ช้เสมอ
• การใช้ประแจปากปรับได้ ต้องปรับปากประแจให้แน่นกับหัวนอตก่อน จึงค่อยออก
แรงขัน
• ปากและด้ามของประแจต้องแห้งปราศจากน้ ามันหรื อจาระบี
• การขันหัวนอตหรื อสกรู ที่อยูใ่ นที่คบั แคบหรื อลึก ให้ใช้ประแจบล็อก
เพราะปากของประแจบล็อกจะยาวสามารถสอดเข้าไปในรู หรื อที่คบั แคบได้
•ขณะขัน ประแจต้องอยูร่ ะนาบเดียวกับกันกับหัวนอตหรื อหัวสกรู
• ไม่ควรใช้ประแจปากปรับได้ กับหัวนอตหรื อสกรู ที่จะนากลับมาใช้อีกเพราะ
หัวจะเสี ยรู ป
• การเก็บประแจควรจะมีสถานที่เก็บเฉพาะซึ่งแห้ง และปราศจากจาระบีหรื อน้ ามัน
ถ้าจะให้ดีควรใช้วธิ ีแขวนไว้กบั แผงไม้หรื อใส่กล่องเฉพาะ
ความปลอดภัยในการใช้
ประแจ
ควรเลื อ กใช้ป ระแจชนิ ด ปากปรั บ ไม่ ไ ด้ก่อ น เช่ น ประแจ
แ ห ว น ห รื อ ป ร ะ แ จ ป า ก ต า ย
ถ้าประแจเหล่านี้ ใช้ไม่ได้ จึ งค่อยเลือกใช้ประแจปากปรับได้
เช่น ประแจเลื่อนแทน
การใช้ประแจปากปรับได้ เช่น ประแจเลื่อนหรื อประแจจับ
แ ป๊ บ
ต้ อ ง ใ ห้ ป า ก ด้ า น
ที่เลื่อนได้อยูต่ ิดกับผูใ้ ช้เสมอ
การใช้ประแจปากปรับได้ ต้องปรับปากประแจให้แน่นกับหัว
น อ ต ก่ อ น
จึ ง ค่ อ ย อ อ ก
แรงขัน
ปากและด้ามของประแจต้องแห้งปราศจากน้ ามันหรื อจาระบี
การขัน หั ว นอตหรื อ สกรู ที่ อ ยู่ใ นที่ ค ับ แคบหรื อลึก ให้ ใ ช้
ป
ร
ะ
แ
จ
บ
ล็
อ
ก
34
เพราะปากของประแจบล็อกจะยาวสามารถสอดเข้าไปในรู
ความปลอดภัยในการใช้
ประแจ
ขณะขัน ประแจต้องอยูร่ ะนาบเดียวกับกันกับหัวนอตหรื อหัว
สกรู
ไม่ ค วรใช้ป ระแจปากปรั บ ได้ กับ หัวนอตหรื อ สกรู ที่จะนา
ก ลั บ ม า ใ ช้ อี ก เ พ ร า ะ
หัวจะเสี ยรู ป
การเก็ บ ประแจควรจะมี ส ถานที่ เ ก็ บ เฉพาะซึ่ งแห้ ง และ
ป ร า ศ จ า ก จ า ร ะ บี ห รื อ น้ า มั น
ถ้าจะให้ดีควรใช้วธิ ี แขวนไว้กบั แผงไม้หรื อใส่ กล่องเฉพาะ
35
คีม
คีมล็อค
คีมปากแบนหรือ
ปากจิง้ จก
คีมตัด
คีมตัดปาก
ทะแยง
36
คีม
คีมเป็ นเครื่ องมือที่ใช้ แรงบิดสาหรั บ จับ ยึด ดัด
และตัด สิ่ งต่ างๆ เช่ น โลหะแผ่ นบาง สายไฟ ท่ อขนาด
เล็ก และเส้ นลวด เป็ นต้ น ใช้ มากในงานโลหะ แผ่ นงาน
ซ่ อมวิทยุหรืออิเล็กทรอนิกส์ และรถยนต์
37
ชนิดของ
คีม
คีมปากแบนหรือปากจิง้ จก (Flat Nose Pliers)
คีมปากขยาย (Slip Joint Pliers)
คีมล็อค (Vise Grip Pliers)
คีมตัด (Cutting Pliers)
คีมตัดปากทะแยง (Diagonal Cutting Pliers
or Slide Cutters)
38
ความปลอดภัยในการใช้คีม
เลื อกใช้คีม ให้ตรงกับ วัตถุ ประสงค์ข องคี ม ชนิ ดนั้นๆ เช่ น
คี ม ตั ด ไ ม่ เ ห ม า ะ ส ม กั บ
การใช้จบั คีมตัดสายไฟไม่เหมาะสมที่จะใช้ตดั แผ่นโลหะ
ฟั นที่ปากของคีมจับต้องไม่สึกหรอ ส่ วนปากของคีมตัดต้อง
ไม่ทื่อ
การจับคีม ควรให้ดา้ มคีมอยูท่ ี่ปลายนิ้ วทั้ง 4 แล้วใช้อุม้ มือ
แ ล ะ นิ้ ว หั ว แ ม่ มื อ
กดด้ามคีมอีกด้าน จะทาให้มีกาลังในการจับหรื อตัด
การปลอกสายไฟควรใช้คีมปลอกสายไฟโดยเฉพาะเพราะจะ
มี ข น า ด ข อ ง ส า ย ไ ฟ
พอดี ส่ วนการตัดสายไฟหรื อเส้นลวดที่ ไม่ตอ้ งการให้โผล่
จ า ก ชิ้ น ง า น ค ว ร ใ ช้ คี ม ตั ด
ปากทะแยง
39
39
เครือ่ งมือที่ใช้แรง
กระแทก
หมายถึง เครื่ องมือที่มีลกั ษณะการทางานจะใช้แรงกระแทกจากเครื่ องมือ
ส่ ง ไ ป ยั ง ชิ้ น ง า น เ พื่ อ ใ ช้ ทุ บ ตี ต อ ก ห รื อ เ ค า ะ ขึ้ น รู ป เ ช่ น ค้ อ น
ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็ น 3 ชนิดใหญ่ๆ คือ ค้อนสาหรับงานช่างกล ค้อนสาหรับงานช่าง
ไม้หรื อค้อนหงอน และค้อนปอนด์หรื อค้อนใหญ่
ค้อนสาหรับงาน
ช่างกล
ค้ อนส าหรั บงานช่ า งกล ได้ แก่ ค้ อนที่ใช้ ส าหรั บ
งานช่ างกลและโลหะแผ่ นทั่วไป ค้ อนสาหรั บงานช่ างกลมี
หลายขนาดและรู ปร่ าง มี น้า หนั ก ของหั ว ค้ อนตั้ งแต่ 4-48
ออนซ์
41
ค้อนสาหรับงาน
ช่างกล
แบ่ งได้ 2
แบบคือ
1. ค้ อนหัวแข็ง
2. ค้ อนหัวอ่ อน (ยาง
พลาสติก ไม้ )
42
40
ความปลอดภัยในการใช้คอ้ นสาหรับงานช่างกล
ส ว ม ใ ส่ อุ ป ก ร ณ์ ป้ อ ง กั น อั น ต ร า ย ส่ ว น บุ ค ค ล
เศษโลหะหรื อวัสดุ
เ ช่ น
แ ว่ น ต า นิ ร ภั ย เ พื่ อ ป้ อ ง กั น
เ ลื อ ก ใ ช้ หั ว ค้ อ น ( ห น้ า ค้ อ น แ ล ะ ป ล า ย ) ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ง า น เ ช่ น หั ว ค้ อ น
ห น้ า ก ล ม ส า ห รั บ ต อ ก ห รื อ ตี ส กั ด ใ ช้ ค้ อ น ห น้ า สี่ เ ห ลี่ ย ม ส า ห รั บ ง า น ห มุ ด ย้ า
ภ า ย ห ลั ง จ า ก ก า ร เ ลิ ก ใ ช้ ง า น ป ร ะ จ า วั น ต้ อ ง ท า ค ว า ม ส ะ อ า ด หั ว ค้ อ น แ ล ะ ด้ า ม
พร้อมทั้งเก็บไว้ในที่สะอาดและแห้ง เช่น กล่อง ตู ้ และแผง เป็ นต้น ใช้หน้าค้อน และปลายแบบอื่นๆ สาหรับงานขึ้นรู ป
โ ล ห ะ
แ ล ะ ใ ช้ ค้ อ น หั ว อ่ อ น กั บ
งานที่เป็ นพลาสติกหรื อโลหะอ่อน
ค ว า ม ย า ว ข อ ง ด้ า ม ค้ อ น ต้ อ ง เ ห ม า ะ ส ม กั บ น้ า ห นั ก ข อ ง หั ว ค้ อ น
เหมาะสมกับมือผูใ้ ช้
แ ล ะ ด้ า ม มี ข น า ด
หัวค้อนและด้ามค้อนต้องยึดกันแน่น ควรทดสอบด้วยวิธีการโยกหัวค้อนไปมา ก่อนใช้งานด้ามค้อน หน้าค้อน และชิ้นงาน
ต้อง ไม่เปี ยก มีน้ ามันหรื อจาระบี
ตรวจด้ามค้อนต้องไม่มีรอยร้าว การตีคอ้ นต้องระมัดระวัง เพราะด้ามค้อนอาจ
หักได้จึงควรคานึงถึงทิศทางที่หวั ค้อนกระเด็นไปด้วย
งานช่างทัว่ ๆ ไปใช้หวั ค้อนขนาด 4 – 16 ออนซ์
หน้าค้อนเมื่อสัมผัสกับชิ้นงานต้องตั้งฉาก และมือต้องจับปลายด้ามค้อน
ลักษณะงานที่ตอ้ งใช้คอ้ นตีแรงๆ ผูป้ ฏิบตั ิงานที่ไม่เคยทางานมาก่อนควรฝึ กหัด
วงสวิงก่อนที่จะทางานจริ ง โดยฝึ กหัดการเหวีย่ งค้อนช้าๆ เพื่อตรวจแนวค้อน
จนได้ที่แล้วจึงเพิม่ ความเร็ วและความแรงมากขึ้น
ความปลอดภัยในการใช้คอ้ นสาหรับ
งานช่างกล
ก่อนใช้งานด้ามค้อน หน้าค้อน และชิ้นงานต้อง ไม่เปี ยก มี
น้ ามันหรื อจาระบี
ตรวจด้ามค้อนต้องไม่มีรอยร้ าว การตี คอ้ นต้องระมัดระวัง
เ พ ร า ะ ด้ า ม ค้ อ น อ า จ
หักได้จึงควรคานึงถึงทิศทางที่หวั ค้อนกระเด็นไปด้วย
งานช่างทัว่ ๆ ไปใช้หวั ค้อนขนาด 4 – 16 ออนซ์
หน้าค้อนเมื่ อสัมผัสกับชิ้ นงานต้องตั้งฉาก และมื อต้องจับ
ปลายด้ามค้อน
ลัก ษณะงานที่ ต ้อ งใช้ค ้อ นตี แ รงๆ ผู้ป ฏิ บ ัติ ง านที่ ไ ม่ เ คย
ท า ง า น ม า ก่ อ น ค ว ร ฝึ ก หั ด
วงสวิงก่ อนที่ จะทางานจริ ง โดยฝึ กหัดการเหวี่ยงค้อนช้าๆ
เ พื่ อ ต ร ว จ แ น ว ค้ อ น
จนได้ที่แล้วจึงเพิ่มความเร็ วและความแรงมากขึ้น
44
ความปลอดภัยในการใช้คอ้ นสาหรับ
งานช่างกล
ภายหลังจากการเลิกใช้งานประจาวันต้องทาความสะอาดหัว
ค้
อ
น
แ
ล
ะ
ด้
า
ม
พร้อมทั้งเก็บไว้ในที่สะอาดและแห้ง เช่น กล่อง ตู ้ และแผง
เป็ นต้น
45
ค้อนสาหรับงาน
ช่างไม้
ค้ อ นส าหรั บ งานช่ างไม้ เ ป็ นค้ อ นซึ่ ง ออกแบบมา
อย่ างเหมาะสมที่จะใช้ ในงานช่ างไม้ หัวค้ อนจะทาด้ วยโลหะ
ห น้ า ค้ อ น จ ะ เ รี ย บ ส า ห รั บ ต อ ก ต ะ ปู
ส่ วนปลายหรื อหางจะมีลักษณะรู ปตัววี หรื อเป็ นหงอนใช้
สาหรั บดึงหรื อถอนตะปู ด้ ามค้ อนมักจะทาด้ วยไม้ หรือเหล็ก
ค้ อนสาหรั บงานช่ างไม้ เพื่อความสะดวกในการใช้ งานจะมี
นา้ หนักประมาณ 13-20 ออนซ์
46
ความปลอดภัยในการใช้คอ้ น
สาหรับงานช่างไม้
สวมใส่ อุ ป กรณ์ ป้ องกัน อัน ตรายส่ ว นบุ ค คล เช่ น แว่น ตา
นิรภัย
ตรวจดูหน้าค้อนจะต้องไม่บิ่น มีน้ ามันหรื อจาระบี เพราะจะ
ท า ใ ห้ เ กิ ด อุ บั ติ เ ห ตุ
ขณะใช้งานได้
ขณะตอกตะปู มือที่ใช้จบั ตะปูตอ้ งจับให้อยูใ่ กล้หัวตะปูมาก
ที่ สุ ด
ไ ม่ ค ว ร จั บ ต ะ ปู
ที่ปลายด้านล่าง เพราะถ้าเกิดผิดพลาดค้อนจะกระแทกนิ้วมือ
ได้
การตอกให้ใ ช้เฉพาะด้า นหน้าหัวค้อ นตอกเท่ า นั้น ห้ามใช้
ด้านข้าง
เมื่อต้องการตอกตะปูแรงๆ ต้องจับด้ามค้อนส่ วนปลายและ
ไ ม่ ค ว ร ใ ช้ มื อ จั บ ต ะ 47ปู
ความปลอดภัยในการใช้คอ้ น
สาหรับงานช่างไม้
การตอกตะปูเริ่ มแรก หัวค้อนควรวางไว้ที่หัวตะปู และให้
ด้ า ม ค้ อ น ท า มุ ม
90 องศากับตะปู
ควรตอกตะปู เ บาๆ กับ ชิ้ น งานก่ อ น เพื่ อ เป็ นการตอกน า
เ พื่ อ ยึ ด ต ะ ปู ใ ห้ แ น่ น
ก่อนที่จะลงมือตอกอย่างแรง
การตอกตะปูกบั ชิ้นงานที่แข็งๆ ต้องระมัดระวังตะปูกระเด็น
เมื่อตอกตะปูเข้ากับชิ้นงานแล้ว จะมีหัวตะปูโผล่ข้ ึนมา ควร
ห า เ ห ล็ ก ต อ ก ส่ ง ใ ห้
หัวตะปูมิดหายลงไปใต้เนื้อไม้
ด้ามค้อนควรมีขนาดเหมาะสมกับมือผูใ้ ช้ และควรมีที่กนั ลื่น
ด้ ว ย
โ ด ย เ ฉ พ า ะ ค้ อ น
ที่ดา้ มทาจากโลหะ
48
ความปลอดภัยในการใช้คอ้ นสาหรับ
งานช่างไม้
การถอนตะปู ควรดัดตะปูให้ตรงก่อน ถ้าตะปูยาวควรหา
แ ท่ ง ไ ม้ ม า ร อ ง เ ส ริ ม
หัวค้อนเพื่อจะได้ถอนได้สะดวก
เมื่อใช้คอ้ นไปนานๆ ควรตรวจสอบหัวค้อนกับด้ามค้อนโดย
ก า ร ท ด ล อ ง โ ย ก
หัวค้อน
ภายหลังจากใช้คอ้ นประจาวัน ควรทาความสะอาดด้ามค้อน
และหัวค้อนให้สะอาด
ควรมี ที่ เก็บ ค้อ นโดยเฉพาะ อาจจะใส่ กล่ อ ง ตู ้ หรื อแผง
เครื่ องมือ
49
ค้อนปอนด์
ค้ อ นปอนด์ เ ป็ นค้ อ นที่อ อกแบบใช้ ใ นงานหนั ก ๆ
เช่ น ตีเหล็ก ทุบตึก และตอกเสา เป็ นต้ น เนื่องจากต้ องใช้
งานหนักหัวค้ อนจึงมีนา้ หนักมาก ตั้งแต่ 7-14 ปอนด์ หรือ
บางรุ่ นนา้ หนักจะมากกว่ านี้ มีด้ามยาว 90-110 เซนติเมตร
50
41
ความปลอดภัยในการใช้คอ้ น
ปอนด์
สวมใส่ อุ ป กรณ์ ป้ องกัน อัน ตรายส่ ว นบุ ค คล เช่ น แว่น ตา
นิรภัยและรองเท้านิรภัย
หน้าค้อนต้องไม่บิ่นหรื อแตกร้าว ส่วนด้ามค้อนต้องไม่แตกร้าว
หัวค้อนและด้าม จะต้องยึดกันแน่น จะต้องมีการตรวจสอบเป็ นระยะๆ ขณะใช้งาน
ก า ร ใ ช้ ค้ อ น ป อ น ด์ ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง า น ต้ อ ง ใ ช้ มื อ ทั้ ง 2 ข้ า ง โ ด ย มื อ ซ้ า ย จั บ ป ล า ย ด้ า ม
ส่ ว น มื อ ข ว า จั บ ด้ า ม ค้ อ น ห่ า ง จ า ก หั ว ค้ อ น ป ร ะ ม า ณ 6 –
8 นิ้ ว เ มื่ อ ย ก ค้ อ น ขึ้ น
ให้เลื่อนมือขวาลงมาจนชิดมือซ้าย แล้วจึงเหวีย่ งค้อนลงเต็มแรงด้วยมือทั้ง 2 ข้าง
•
ท่ า ท า ง ก า ร ยื น ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง า น ต้ อ ง ยื น ใ ห้ เ ท้ า ซ้ า ย อ ยู่ ล้ า ห น้ า เ ท้ า ข ว า เ ล็ ก น้ อ ย แ ล ะ
ถ่างขาออกจากกัน ให้ร่างกายอยูใ่ นสภาวะสมดุล
ผูท้ ี่ใช้คอ้ นปอนด์ควรจะได้รับการฝึ กหัดการใช้มาก่อนปฏิบตั ิงานจริ ง
• ขนาดน้ าหนักของค้อนควรจะเหมาะสมกับผูใ้ ช้และลักษณะงานที่ใช้ เช่น ถ้าใช้
ทุบของที่แข็งมากควรใช้คอ้ นปอนด์ที่มีน้ าหนักมาก และคนใช้ตอ้ งมีรูปร่ าง
สูงใหญ่ดว้ ย
• การใช้คอ้ นปอนด์ ผูใ้ ช้ตอ้ งระมัดระวังให้ท่าทางการใช้งานถูกต้อง
เพราะถ้าผิดจังหวะอาจจะทาให้เกิดการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อบริ เวณหลังได้
• ขณะใช้คอ้ นปอนด์ บริ เวณด้านหน้าไม่ควรมีผอู ้ ื่นปฏิบตั ิงานอยู่
• ภายหลังจากเลิกใช้งานประจาวันควรทาความสะอาด หัวค้อนและด้ามให้สะอาด
แล้วเก็บในที่แห้งสะอาดและปลอดภัย
ความปลอดภัยในการใช้คอ้ น
ปอนด์
ผูท้ ี่ใช้คอ้ นปอนด์ควรจะได้รับการฝึ กหัดการใช้มาก่อนปฏิบตั ิงานจริ ง
ข น า ด น้ า ห นั ก ข อ ง ค้ อ น ค ว ร จ ะ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ผู ้ ใ ช้ แ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ ง า น ที่ ใ ช้ เ ช่ น ถ้ า ใ ช้
ทุ บ ข อ ง ที่ แ ข็ ง ม า ก ค ว ร ใ ช้ ค้ อ น ป อ น ด์ ที่ มี น้ า ห นั ก ม า ก แ ล ะ ค น ใ ช้ ต้ อ ง มี รู ป ร่ า ง
สูงใหญ่ดว้ ย
ก า ร ใ ช้ ค้ อ น ป อ น ด์ ผู ้ ใ ช้ ต้ อ ง ร ะ มั ด ร ะ วั ง ใ ห้ ท่ า ท า ง ก า ร ใ ช้ ง า น ถู ก ต้ อ ง
เพราะถ้าผิดจังหวะอาจจะทาให้เกิดการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อบริ เวณหลังได้
ขณะใช้คอ้ นปอนด์ บริ เวณด้านหน้าไม่ควรมีผอู ้ ื่นปฏิบตั ิงานอยู่
ภ า ย ห ลั ง จ า ก เ ลิ ก ใ ช้ ง า น ป ร ะ จ า วั น ค ว ร ท า ค ว า ม ส ะ อ า ด หั ว ค้ อ น แ ล ะ ด้ า ม ใ ห้ ส ะ อ า ด
แล้วเก็บในที่แห้งสะอาดและปลอดภัย
52