การวิเคราะห์ อภิมาน (meta-analysis) นงลักษณ์ วิรัชชัย ภาควิชาวิจยั ฯ คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย หัวข้ อการบรรยาย 1.

Download Report

Transcript การวิเคราะห์ อภิมาน (meta-analysis) นงลักษณ์ วิรัชชัย ภาควิชาวิจยั ฯ คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย หัวข้ อการบรรยาย 1.

การวิเคราะห์ อภิมาน (meta-analysis)
นงลักษณ์ วิรัชชัย
ภาควิชาวิจยั ฯ คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
หัวข้ อการบรรยาย
1. แนวคิดการสั งเคราะห์ งานวิจัยและการวิเคราะห์ อภิมาน
2.ขั้นตอนการวิจัย และการกาหนดปัญหาวิจัย
3. การประเมินงานวิจัยเพือ่ การวิเคราะห์ อภิมาน
4. ข้ อมูล และการสร้ างแบบบันทึกข้ อมูล
5. ขนาดอิทธิพล (effect size) และสถิติวิเคราะห์
6. การสั งเคราะห์ งานวิจัยเชิงปริมาณแบบอืน่ ๆ
7. การสั งเคราะห์ งานวิจัยเชิงคุณภาพ
1. แนวคิดการสั งเคราะห์ งานวิจัย
และการวิเคราะห์ อภิมาน
การสั งเคราะห์ งานวิจัย
(RESEARCH SYNTHESIS/REVIEW)
กระบวนการแสวงหาความรู้ /ตอบคาถาม
วิจัยด้ วยระเบียบวิธีวทิ ยาศาสตร์ โดยการ
รวบรวมงานวิจัยเกีย่ วกับปัญหานั้น ๆ มา
วิเคราะห์ และสรุปรวมสาระอย่ างมีระบบ
ความจาเป็ นในการสั งเคราะห์ งานวิจัย
1. ธรรมชาติของศาสตร์ ต้ องสั่ งสมความรู้
(กิจกรรมทีน่ ักวิจยั ทุกคนต้ องทา)
2. ปริมาณงานวิจัยเพิม่ มากขึน้ จาเป็ นต้ อง
มีการสรุปผลการวิจยั ในภาพรวม
3. ผลการวิจัยขัดแย้ งกัน จาเป็ นต้ องหาข้ อ
สรุปสุดท้ ายทีช่ ัดเจน
4. วิธีการสั งเคราะห์ งานวิจัยที่ใช้ ไม่ มีระบบ
หลักการในการสั งเคราะห์ งานวิจัย
- งานวิจัยที่นามาสั งเคราะห์ ให้ ข้อค้ นพบ
แต่ ละมุมมองของปรากฏการณ์ ทตี่ ้ องการ
- ผลการสั งเคราะห์ งานวิจัยให้ ภาพรวมที่
กว้ างขวางล่ ุมลึกกว่ าการนาผลการวิจัยทุก
เรื่องมารวมกัน
หลักการในการสั งเคราะห์ งานวิจัย
- การสั งเคราะห์ งานวิจัยใช้ ระเบียบวิธีทาง
วิทยาศาสตร์ (scientific method)
- การสั งเคราะห์ งานวิจัยทาได้ สองแบบ
1. เป็ นส่ วนหนึ่งของงานวิจัย
2. เป็ นงานวิจัย
กระบวนการสั งเคราะห์ งานวิจัย
1. การกาหนดจุดมุ่งหมาย/ปัญหาวิจัย
2. การศึกษาเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง และ
การสร้ างกรอบความคิด
3.การรวบรวมข้ อมูล:ระบุ,สื บค้ น,ประเมิน,บันทึก
4. การวิเคราะห์ ข้อมูลเพือ่ สั งเคราะห์
5. การสรุป อภิปรายผล และการเสนอรายงาน
ประเภทของการสั งเคราะห์ งานวิจัย
1. สั งเคราะห์ แบบพรรณนา/บรรยาย (narration)
2. สั งเคราะห์ แบบนับคะแนน (vote-counting)
3. สั งเคราะห์ แบบสะสมความน่ าจะเป็ น
(cumulation of probability values)
4. สั งเคราะห์ แบบประมาณค่ าขนาดอิทธิพล
(estimators of effect sizes)
5. สั งเคราะห์ ด้วยการวิเคราะห์ อภิมาน (metaanalysis)
การวิเคราะห์ อภิมาน (meta-analysis)
= การวิจัยเพือ่ สั งเคราะห์ งานวิจัยหลาย ๆ
เรื่องที่ศึกษาปัญหาเดียวกัน ให้ ได้ ข้อสรุป
ทีก่ ว้ างขวางล่ ุมลึก โดยใช้ วธิ ีการวิจัยเชิง
ปริมาณ/วิธีการทางสถิติ
ประเภทของการวิเคราะห์
 Primary Analysis
 Secondary Analysis
 Meta-Analysis
 Mega-Analysis
ศัพท์ ที่ใช้
การสั งเคราะห์ งานวิจัย (Research Synthesis)
บูรณาการงานวิจยั (Research Integration)
ปริทัศน์ งานวิจัย (Research Review)
การวิจัยงานวิจัย (Research of Research)
การวิเคราะห์ อภิมาน (Meta-analysis)
การสั งเคราะห์ ด้วยการวิเคราะห์ อภิมาน
(Meta-analytic Synthesis)
ประเด็นที่ต้องพิจารณา
- งานวิจัยที่ศึกษาปัญหาเดียวกัน
- ข้ อมูลสาหรับการวิเคราะห์ อภิมาน
- หน่ วยการวิเคราะห์
- ลักษณะเฉพาะของการวิเคราะห์
อภิมาน
ประเด็นที่ต้องพิจารณา
งานวิจัยที่ศึกษาปัญหาเดียวกัน
ลักษณะปัญหาวิจัยของงานวิจัยเป็ น
เรื่องเดียวกัน แต่ นิยาม/วัดตัวแปรต่ าง
กัน มีแบบแผนการวิจัยต่ างกัน มีกล่ มุ
ตัวอย่ างต่ างกัน การวิเคราะห์ ต่างกัน
1. การศึกษาเปรียบเทียบผลสั มฤทธิ์ทางวิชาการ และ
ความคงทนของการเรียน ระหว่ างกลุ่มผู้เรียนทีใ่ ช้ วธิ ี
สอนต่ างกัน 3 แบบ (DV = คะแนนสอบ)
2. อิทธิพลของการอบรมเลีย้ งดู และลักษณะครอบครัว
ต่ อเชาว์ ปัญญา&เชาว์ อารมณ์ ของเด็กเล็ก (DV = score)
3. ปัจจัยด้ านนักเรียน ครู และกลุ่มเพือ่ น ทีม่ อี ทิ ธิพลต่ อ
ทักษะกระบวนการเชิงวิทย์ ฯ (DV = ระดับทักษะ)
4. การพัฒนาและตรวจสอบความตรงของโมเดลความ
เชื่อประสิ ทธิภาพในตน (self efficacy) (DV ในโมเดลมี
หลายตัว มีหน่ วยวัดต่ างกัน)
ผลการวิจัย
เรื่องที่ 1 อิทธิพลของวิธีสอนต่ อ DV
เรื่องที่ 2 อิทธิพลของการอบรมเลีย้ งดู ต่ อ DV
อิทธิพลของลักษณะครอบครัวต่ อ DV
เรื่องที่ 3 อิทธิพลของปัจจัยด้ านนักเรียนต่ อ DV
อิทธิพลของปัจจัยด้ านครูต่อ DV
อิทธิพลของปัจจัยด้ านกลุ่มเพือ่ น ต่ อ DV
เรื่องที่ 4 อิทธิพลของตัวแปรสาเหตุที่ i ต่ อ DVi
ขนาดอิทธิพลมีหลายแบบ&หน่ วยวัดต่ างกัน
ต้ องการหน่ วยมาตรฐานวัดขนาดอิทธิพล
ประเด็นที่ต้องพิจารณา
2. ข้ อมูลสาหรับการวิเคราะห์ อภิมาน
งานวิจัยทั่วไป: Y = f (X, Z, Error)
ผลการวิจัย คือ d หรือ r
เมื่อ d = Effect size = [ YE - YC ]/SD
การวิเคราะห์ อภิมาน:
d หรือ r = f (X, Y, Z, C, Error)
ประเด็นที่ต้องพิจารณา
2. ข้ อมูลสาหรับการวิเคราะห์ อภิมาน
2.1 ตัวแปรเกีย่ วกับการพิมพ์
2.2 ตัวแปรเกีย่ วกับเนือ้ หาสาระ
2.3 ตัวแปรเกีย่ วกับวิธีการวิจัย
2.4 ผลการวิจัย
ประเด็นที่ต้องพิจารณา
3. หน่ วยการวิเคราะห์
หน่ วยการวิเคราะห์ (unit of analysis)
= หน่ วยการวัดขนาดอิทธิพล
= งานวิจัยแต่ ละเล่ ม หรือ ชุดการทด
สอบสมมุตฐิ านแต่ ละชุด
ประเด็นที่ต้องพิจารณา
4. ลักษณะเฉพาะของการวิเคราะห์ อภิมาน
X
X
Y
Z
Y
งานวิจัยทั่วไป
การวิเคราะห์ อภิมาน
การวิเคราะห์ งานวิจัย ศึกษาความต่ างของขนาดอิทธิพล
ชื่อเรื่อง ปี ที่พมิ พ์ นักวิจัย
ความสาคัญ วัตถุประสงค์
งานวิจัย
ทฤษฎี/หลัก กรอบแนวคิด
วิธีดาเนินการวิจัย
ข้ อมูล และเครื่องมือวิจัย
ผลการวิจัย=ขนาดอิทธิพล
หลักการในการวิเคราะห์ อภิมาน
X
Y
งานวิจัยทั่วไป
ผลการวิจัย = อิทธิพลของ X ทีม่ ีต่อ Y
= ขนาดอิทธิพล (effect size) = d
= standardized mean difference
= mean E – mean C = YE - YC
standard deviation s.d.
หลักการในการวิเคราะห์ อภิมาน
Z
X
Y
งานวิจัยทั่วไป
Z
d
X
Y
การวิเคราะห์ อภิมาน
เปรียบเทียบการวิจัย-การวิเคราะห์ อภิมาน
งานวิจัยทั่วไป
การวิเคราะห์ อภิมาน
1. Cause & effect 1. Cause & effect
( X -------> Y)
(Z ------> d)
2. Generalization 2. Generalization
(to population)
(to universe)
3. Developing theory 3. Developing theory
2.ขั้นตอนการสั งเคราะห์ งานวิจัย
หลักการตั้งชื่อเรื่องงานวิจัยเชิงปริมาณ
องค์ ประกอบในชื่อเรื่อง
ตัวแปรตาม, ตัวแปรต้ น, วัตถุประสงค์ , บริบท
ตัวอย่ าง
อิทธิพลของการอบรมเลีย้ งดู และระดับการศึกษาทีม่ ีต่อ
แรงจูงใจในการทางานของเยาวชน ภาคกลาง
การเปรียบเทียบค่ าเฉลีย่ ผลสาเร็จในการป้องกัน
โรคติดต่ อ ระหว่ างกลุ่มหมู่บ้านทีม่ ขี นาด และระดับ
การศึกษาของคนในหมู่บ้าน แตกต่ างกัน 3 กลุ่ม
หลักการตั้งชื่อเรื่องงานวิเคราะห์ อภิมาน
องค์ ประกอบในชื่อเรื่อง
ตัวแปรตาม, ตัวแปรต้ น, วัตถุประสงค์ , บริบท
ตัวอย่ าง: นักวิจัยต้ องการสั งเคราะห์ งานวิจัย เกีย่ วกับ
ความแตกต่ างของจิตลักษณะของนักเรียนที่มีเพศ
ต่ างกัน (ผลการวิจัย = ขนาดอิทธิพลของเพศต่ อจิต
ลักษณะ)
ปัจจัยด้ านลักษณะงานวิจัยที่มีผลต่ ออิทธิพลของเพศต่ อ
จิตลักษณะของนักเรียน: การวิเคราะห์ อภิมาน
กระบวนการสั งเคราะห์ งานวิจัย
1. การกาหนดจุดมุ่งหมาย/ปัญหาวิจัย
2. การศึกษาเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง และ
การสร้ างกรอบความคิด
3.การรวบรวมข้ อมูล:ระบุ,สื บค้ น,ประเมิน,บันทึก
4. การวิเคราะห์ ข้อมูลเพือ่ สั งเคราะห์
5. การสรุป อภิปรายผล และการเสนอรายงาน
กระบวนการวิเคราะห์ อภิมาน
1. การกาหนดปัญหา วัตถุประสงค์
2. การศึกษาเอกสารที่เกีย่ วข้ อง,โมเดลการวิจัย
3. การรวบรวมข้ อมูล-ระบุ,สื บค้ น,ประเมิน,บันทึก
4. การวิเคราะห์ ข้อมูลเพือ่ สั งเคราะห์
5. การสรุปและอภิปรายผล การเสนอรายงาน
3.การประเมินงานวิจัยเพือ่
การวิเคราะห์ อภิมาน
ประเด็นการประเมินงานวิจัย ของ วช.
1. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศ
ตามแผนฯ 10 (10 คะแนน)
2. คุณค่ าทางปัญญาของงานวิจยั (60 คะแนน)
2.1 ปัจจัยการวิจัย (20 คะแนน)
2.2 กระบวนการวิจัย (20 คะแนน)
2.3 ผลผลิตการวิจัย (20 คะแนน)
3. ผลกระทบของงานวิจัย (30 คะแนน)
การประเมินงานวิจัยในการสังเคราะห์ งานวิจัย
การรวบรวมงานวิจัยที่จะสั งเคราะห์
การกาหนดประเด็นประเมินงานวิจัย
การสร้ างและตรวจสอบคุณภาพแบบประเมินงานวิจัย
การประเมินงานวิจัย
การนาผลการประเมินงานวิจัยไปใช้
แบบประเมินงานวิจัย
- แบบประเมินอัตนัย
- แบบประเมินสองตัวเลือก (ใช่ /ไม่ ใช่ )
- แบบประเมินชนิดมาตรประเมินค่ า (RATING
SCALE) 5 ระดับ
- แบบประเมินชนิดมาตรหลายตัวเลือก และ
สร้ างตัวเลือกโดยกาหนดค่ าคะแนนตัวเลือก
แบบ RUBRICS SCORING
หลักการตั้งชื่อเรื่องงานวิเคราะห์ อภิมาน
ตัวอย่ าง: นักวิจัยต้ องการสั งเคราะห์ งานวิจัย เชิงทดลอง
เปรียบเทียบความแตกต่ างของค่ าเฉลีย่ ผลการเรียน
ระหว่ างกลุ่มนักเรียนทีเ่ รียนด้ วยวิธีสอนต่ างกัน
ปัจจัยด้ านลักษณะงานวิจัยและศักยภาพนักวิจัยที่มี
อิทธิพลต่ อประสิ ทธิผลของวิธีสอนของนักเรียน:
การวิเคราะห์ อภิมาน
การวิเคราะห์ อภิมานเรื่องประสิ ทธิผลของวิธีสอน
สาหรับนักเรียน
ตัวอย่ างแบบประเมินงานวิจัย
1. ชื่อเรื่องวิจัยสมบูรณ์ ตามหลักวิจัย
ก. ระบุตัวแปรตาม
ข. ระบุตัวแปรตามและตัวแปรต้ น
ค. ข้ อ ข. และระบุวัตถุประสงค์ หลักของการวิจัย
ง. ข้ อ ค. และระบุบริบท (CONTEXT)
จ. ข้ อ ง. และตรงสาขาวิชา
ตัวอย่ างแบบประเมินงานวิจัย
2. ปั ญหา/วัตถุประสงค์ วิจัย เหมาะสม
ก. ปั ญหา/วัตถุประสงค์ วิจัยชัดเจน
ข. ข้ อ ก. และแสดงความสัมพันธ์ ระหว่ างตัวแปร
ค. ข้ อ ข. และสอดคล้ องกับชื่อเรื่อง
ง. ข้ อ ค. และสามารถทาวิจัยได้
จ. ข้ อ ง. และแสดงถึงนวัตกรรม
4. การสร้ างแบบบันทึกข้ อมูล
การวิเคราะห์ อภิมาน
ข้ อมูลในการสั งเคราะห์ งานวิจัย
ข้ อมูล: สาระจากงานวิจัยตามประเด็นปัญหาวิจัย
ประชากร/กลุ่มตัวอย่ าง: งานวิจัย
ขนาดกลุ่มตัวอย่ าง:
- ศึกษาจากประชากร
- เลือกกลุ่มตัวอย่ าง (เจาะจง, สุ่ ม)
เครื่องมือวิจัย:
- แบบบันทึกข้ อมูลจากงานวิจยั
- แบบประเมินงานวิจัย
ข้ อมูลสาหรับการวิเคราะห์ อภิมาน
1. ตัวแปรเกีย่ วกับการพิมพ์
2. ตัวแปรเกีย่ วกับเนือ้ หาสาระ
3. ตัวแปรเกีย่ วกับวิธีการวิจัย
2.4 ผลการวิจัย
ไฟล์ ข้อมูล
1. ไฟล์ ข้อมูลจากงานวิจยั (หน่ วย=เล่ ม)
2. ไฟล์ ข้อมูลจากผลการวิเคราะห์
(หน่ วย = หน่ วยการวัดขนาดอิทธิพล)
การจัดกระทาข้ อมูล
1. Data aggregation
2. Merge files
รหัสข้ อมูล
รหัส
ชื่อตัวแปร
ค่ าของตัวแปร
เลขที่งานวิจัย
001RID
ตัวแปรตาม
1=ความพร้ อมทางการเรียนคณิตศาสตร์
DV
IV
ตัวแปรต้ น
DES
แบบการวิจัย
2=
1=
2=
1=
แบบบันทึกข้ อมูล
RID DV
1
2
3
IV
DESIGN NGR
5. ขนาดอิทธิพล (effect size)
และสถิติวเิ คราะห์
ขนาดอิทธิพล (Effect Size)
ค่ าสถิตบิ อกความแตกต่ างระหว่ างค่ าเฉลีย่ ของกลุ่มทดลอง
และกลุ่มควบคุม ในหน่ วยของส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
Effect Size = d =
YE - YC
SD
การศึกษาความสั มพันธ์ เชิงสาเหตุ
การวิจัยเชิงทดลอง
การวิจัยเชิงสหสั มพันธ์
CONTROL BY
DESIGN
CONTROL BY
STATISTICS
การวิเคราะห์ ในงานวิจัยสหสั มพันธ์
X1
Y
X2
ผลการวิจัย
r1 = ความสั มพันธ์ (X1, Y)
r2 = ความสั มพันธ์ (X2, Y)
การวิเคราะห์ ในงานวิจัยเชิงทดลอง
E: X
R
C:
YE
YC
ผลการวิจัย
d = ขนาดอิทธิพลของ X ต่ อ Y
ค่ าขนาดอิทธิพล
Y E  YC
dG =
SC
YE  YC
dH =
S pooled
1 v
;
2
2
dG = dH
v = SE / SC
การประมาณค่ าขนาดอิทธิพล
d
= [y E y- C ] / SY
p E  pC
d
=
r
n
= d nd 2  4n  8
p C (1  p C )
การประมาณค่ าขนาดอิทธิพลจากค่ าสถิติ
t
r
=
d
=
r
2
= 2  n
t n2
n  2  2r 


2
n  1 r 
2
การวิเคราะห์ ในงานวิจัยสหสั มพันธ์ และงานวิจัยเชิงทดลอง
X1
Y
X2
ผลการวิจัย
d = อิทธิพลจาก X ต่ อ Y
r = ความสั มพันธ์ (X, Y)
การวิเคราะห์ ในการสั งเคราะห์ ด้วยการวิเคราะห์ อภิมาน
C1
C2
d, r
ผลการวิจัย
- d, r เฉลีย่ จากงานวิจัยทุกเรื่อง
- d, r ต่ างกันเนื่องจาก C ตัวใด
กรอบความคิดในการวิจัย
ตัวแปรลักษณะงานวิจัย
ตัวแปรลักษณะผู้วจิ ัย
ตัวแปรวิธีวทิ ยาการวิจัย
ขนาดอิทธิพล
สปส.สหสั มพันธ์
IV
DV
1. การใช้ สถิติบรรยายศึกษาขนาดอิทธิพล
- ตารางแจกแจงความถี่ หรือ ค่ าสถิติเบือ้ งต้ น
- กราฟ Stem Leaf Plot, Box Plot
2. การวิเคราะห์ ตารางไขว้ (Crosstab)
3. การวิเคราะห์ เปรียบเทียบค่ าเฉลีย่ (Anova)
4. การวิเคราะห์ ถดถอยพหุคูณ (MRA)
5. การวิเคราะห์ ด้วยสถิตขิ ้นั สูง
วิธีของ HUNTER
1. ปรับแก้ ความคลาดเคลือ่ นในขนาดอิทธิพล
- SAMPLING ERROR
- MEASUREMENT ERROR
- RANGE RESTRICTION
2. ทดสอบความแปรปรวนของขนาดอิทธิพล
- ไม่ แตกต่ างกัน สรุปและแปลความหมาย
- แตกต่ างกัน แบ่ งกลุ่มตามตัวแปรปรับ และ
ทดสอบความแปรปรวนระหว่ างกลุ่ม
เปรียบเทียบวิธีของ GLASS และ HUNTER
GLASS
HUNTER
การวิจัยทั่วไป
การวิเคราะห์ อภิมาน
IV: X1, X2, X3
DV: Y
EV: Z
IV: S, T, M, X’s, Y’s, Int.
DV: d, r
EV: Other variables
X1 d1
d2
X2
d3
X3
S
Y
M
X’s
T
Y’s
d
การวิจัยทั่วไป
การวิเคราะห์ อภิมาน
กลุ่มวิธีเรียน
d
วิธีเรียน GPA ขนาดชั้นเรียน
กลุ่มนักเรียนทีใ่ ช้ กลุ่มงานวิจยั ทีใ่ ช้ กลุ่มวิธี
วิธี A มีค่าเฉลีย่
เรียนแบบมีผู้สอน มีขนาด
GPA สู งกว่ ากลุ่ม ชั้นเรียนเล็ก มีค่าเฉลีย่ ขนาด
ทีใ่ ช้ วธิ ี B
อิทธิพลสู งกว่ างานวิจยั อืน่
การวิจัยทั่วไป
ATT. GPA
เด็กทีม่ เี จตคติสูง
มีแนวโน้ มทีจ่ ะได้
GPA สู งกว่ าเด็กที่
มีเจตคติต่า
การวิเคราะห์ อภิมาน
ขนาดชั้นเรียน
r
ความสั มพันธ์ ระหว่ างเจตคติ
กับ GPA จากงานวิจัยมีค่าแตก
ต่ างกัน งานวิจัยที่มีขนาดชั้น
เรียนเล็กมีแนวโน้ มที่จะมีค่า
ความสั มพันธ์ สูงกว่ างานวิจยั ที่
มีขนาดชั้นเรียนใหญ่
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สาหรับ meta-analysis
1. Epi Meta is free meta analysis software
developed by Statistical and Epidemiology Branch,
Division of Prevention Research and Analytic
Methods, CDC, Atlanta, GA and can be
downloaded from the following site:
http://ftp.cdc.gov/pub/Software/ epimeta/
2. Statistics Software for Meta-Analysis version 5.3
(1989) is a free program written using ASCII by
Ralf Schwarzer. The program and the manual can
be downloaded from the following site:
http://userpage.fuberlin.de/~health/meta_e.htm
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สาหรับ meta-analysis
3. Meta-Analysis Easy to Answer is a free program
written by David A. Kenny. The program and the
documentation can be downloaded from the
following site: http://davidakenny.net/meta.htm or
http://users.rcn.com/dakenny/meta.htm
4. EasyMA is a program for meta analysis of
clinical trials results, developed by Department of
Clinical Pharmacology of a university hospital in
Lyon, France. It can be downloaded, free of charge,
from the following site:
http://www.spc.univ-Lyon1.fr/~mcu/easyma/
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สาหรับ meta-analysis
5. MetaStat: is a free software written by Lawrence
M. Rudner, Gene V Glass, David L. Evartt, and
Patrick J. Emery, and it does a variety of metaanalytic statistics. It can be downloaded from:
http://ericae.net/meta/metastat.htm
6. Comprehensive Meta-Analysis Software is a
commercial program with free trial download,
written by Borenstein M, Cooper, H., Hedges L,
Higgins J, Rothstein H. (21 experts in US team and
6 experts in UK teams). It can be downloaded from:
http://www.meta-analysis.com/
วิธีการวิเคราะห์ ข้อมูล
1. วิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
2.1 วิเคราะห์ จาแนกลักษณะงานวิจัย
2.2 วิเคราะห์ ความสั มพันธ์ : ผลการประเมินคุณภาพของ
งานวิจัย กับลักษณะงานวิจัย
2. การวิเคราะห์ เพือ่ สั งเคราะห์ งานวิจัย
2.1 คานวณค่ าขนาดอิทธิพล และ/หรือ สปส.สหสั มพันธ์
2.2 ปรับแก้ ความคลาดเคลือ่ นจากการวัดในขนาดอิทธิพล
2.3 สถิติบรรยายลักษณะการแจกแจงขนาดอิทธิพลที่ปรับแก้
2.4 วิเคราะห์ อธิบายความแตกต่ างของขนาดอิทธิพลด้ วย
ตัวแปรปรับ (moderator) ทีไ่ ด้ จากคุณลักษณะงานวิจัย
วิธีการวิเคราะห์ ข้อมูล
3. การวิเคราะห์ เพือ่ พัฒนาทฤษฎีโดยการทดสอบโมเดล
เชิงสาเหตุ (causal model)
3.1 โมเดลเชิงสาเหตุได้ จากการวิเคราะห์ อภิมานโดยตรง
3.2 โมเดลเชิงสาเหตุทสี่ ร้ างจากกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎี
และตรวจสอบโดยใช้ ข้อมูลจากการวิเคราะห์ อภิมาน
1) ใช้ ความสั มพันธ์ แต่ ละคู่ยนื ยันความตรงของโมเดล
2) สร้ างเมทริกซ์ สหสั มพันธ์ ใช้ เป็ นข้ อมูลเพือ่ ตรวจสอบ
ความตรงของโมเดลด้ วย SEM เรียกว่ า MASEM
6. การสั งเคราะห์ งานวิจัยเชิงปริมาณ
ตัวอย่ าง 1 การวิเคราะห์ อภิมานงานวิจัย
นงลักษณ์ วิรัชชัยและสุ วมิ ล ว่ องวาณิช (2541)
- สั งเคราะห์ งานวิจัยทางการศึกษาและทีเ่ กีย่ วข้ อง
กับการศึกษารวม 323 เรื่อง
- ประมาณค่ าขนาดอิทธิพลจากผลการวิจัย ได้ ค่า
เฉลีย่ กลุ่มงานพัฒนาสื่ อการสอน = 0.995 กลุ่มงาน
การส่ งเสริมภาษาต่ างประเทศ = 1.148 ฯลฯ
- ตัวแปรคุณลักษณะงานวิจยั อธิบายความแตกต่ าง
ของขนาดอิทธิพลได้ ร้อยละ 33
ตัวอย่ าง 2 การสรุปนัยทัว่ ไปของความตรง
ธนาวุฒิ กาเนิดดิษฐ์ (2538)
สั งเคราะห์ คุณภาพ(ความตรงเชิงเกณฑ์ สัมพันธ์ )
ของแบบทดสอบในการสอบคัดเลือกเข้ าสถาบัน
อุดมศึกษารุ่นปี 2527-2528 จานวน 2,518 ค่ า
สรุปได้ ว่า แบบสอบ 8 รายวิชามีความตรง ไม่ มี
ความแตกต่ างระหว่ างสถาบัน, ปี ทีส่ อบ, สาขาวิชา
ตัวอย่ าง 3 การสั งเคราะห์ อภิมาน
(Meta-synthesis or Mega-analysis)
Wang, Haertel and Walberg (1993)
Sipe and Curlette (1996)
การสั งเคราะห์ งานวิจัยทีเ่ ป็ นการวิเคราะห์
อภิมานงานวิจัย
ตัวอย่ าง 4 การวิเคราะห์ อภิมานงานวิจัยกรณีเดีย่ ว
ภิรดี วัชรสิ นธ์ ุ (2545)
การสั งเคราะห์ งานวิจัยสาขาวิชาจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนว และการศึกษา
พิเศษ 99 เรื่อง ได้ ข้อมูลจากหน่ วยตัวอย่ าง 1,012
กรณี ได้ ค่าเฉลีย่ ขนาดอิทธิพล 0.893 ความแปร
ปรวนระหว่ างเล่ มงานวิจัยเท่ ากับร้ อยละ 63.53
ตัวแปรคุณลักษณะงานวิจยั ทีท่ าให้ เกิดความแตก
ต่ างทีส่ าคัญ คือ คุณภาพเครื่องมือ เวลาการทดลอง
จานวนกรณีศึกษา อายุของหน่ วยตัวอย่ าง
ตัวอย่ าง 5 การวิเคราะห์ อภิมานนันพาราเมตริก
ปรีดา เบ็ญคาร (2539)
การสั งเคราะห์ งานวิจัยเกีย่ วกับอัตราตอบกลับของ
แบบสอบถามทีส่ ่ งทางไปรษณีย์ ระหว่ าง พ.ศ.
2522-2538 จากงานวิจัย 24 เรื่อง ได้ ค่าอัตราตอบ
กลับ 505 ค่ า ผลการสั งเคราะห์ พบว่ าปัจจัย 5 ด้ าน
เกีย่ วกับตัวแบบสอบถาม การส่ ง การติดตาม แรง
จูงใจในการตอบ ภูมหิ ลังผู้ตอบ อธิบายความแตก
ต่ างในอัตราตอบกลับได้ ทุกด้ าน
ตัวอย่ าง 6 การศึกษาความสั มพันธ์ เชิงสาเหตุใน
การวิเคราะห์ อภิมาน
วรรณี อริยะสิ นสมบูรณ์ (2545)
ภิรดี วัชรสิ นธ์ (2545)
การใช้ วธิ ีการวิเคราะห์ พหุระดับ (HLM) และการ
วิเคราะห์ โมเดลสมการโครงสร้ างหรือลิสเรล (SEM
or LISREL) ในการวิเคราะห์ ความสั มพันธ์ เชิง
สาเหตุระหว่ างตัวแปรปรับ และ ขนาดอิทธิพล
ตัวอย่ าง 7 Meta-Analytic Structural Equation Modeling
(MASEM) = SEM-based meta-analysis
Shadish (1996) – การสั งเคราะห์ เมทริกซ์ สหสั มพันธ์ ใช้ เป็ น
ข้ อมูลสาหรับการวิเคราะห์ ต่อ ด้ วย SEM
Cheung (2008) สรุปว่ า
- ปี 1992, 1995 Becker ใช้ GLM สั งเคราะห์ สหสั มพันธ์
- ปี 1996 Shadish ขยายแนวคิดการวิเคราะห์ path model
- ปี 2004 Hunter & Schmidt: ให้ แนวคิด MA + SEM
- ปี 2005 Cheung & Chan บัญญัติศัพท์ MASEM
- ปี 2007 Muthen & Muthen: Mixture, multi-level SEM
- ปี 2008 Cheung พัฒนาวิธีการ MASEM ตามหลักสถิติ
Equivalence between MA and SEM:
1. MA using MiMA (Viechtbauer, 2006)
2. SEM using Mplus (Muthen&Muthen, 2007)
3. MASEM using MA + SEM (Cheung, 2008)
ขั้นตอนการวิจัย MASEM
1. กาหนดกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎี-โมเดล
2. สั งเคราะห์ ค่า r สร้ างเมทริกซ์ สหสั มพันธ์
3. ใช้ SEM ตรวจสอบความตรงของโมเดล
4. แปลความหมายผลการวิเคราะห์
MASEM Models in the Future (Cheung, 2008)
1. No difference between applying SEM to primary
data vs. meta-analytic data
2. Model assessment with chi-square & goodness of
fit indices
3. Methods of estimating the variance component
using SEM with robust standard errors in
variance component estimates: using ML or
REML = restricted maximum likelihood to
correct bias
Note: Muthen&Muthen used the term RML
7. การสั งเคราะห์ งานวิจัยเชิงคุณภาพ
การวิเคราะห์ ชาติพนั ธุ์วรรณนาอภิมาน
(META-ETHNOGRAPHY)
Meta-ethnography (Noblit and Hare, 1998)
= a synthesis of qualitative studies
= an interpretive approach of synthesizing
understanding from ethnographic research.
วัตถุประสงค์
1. เพือ่ ปริทัศน์ วรรณคดีที่มีการตีความหมายเพิม่ มากขึน้
2. เพือ่ วิพากษ์ หลักฐาน/ข้ อมูลสาหรับการสั งเคราะห์
3. เพือ่ เปรียบเทียบผลงานวิจัยอย่ างเป็ นระบบ
4. เพือ่ ศึกษาความสั มพันธ์ เชื่อมโยงระหว่ างงานวิจัย
5. เพือ่ สั งเคราะห์ สรุปรวมงานวิจัย
อุปลักษณ์ กับการวิเคราะห์ ชาติพนั ธุ์วรรณนาอภิมาน
อุปลักษณ์ (Metaphor)
หมายรวมถึง โครงเรื่อง (themes) ทัศนภาพ (perspectives)
และ/หรือ มโนทัศน์ /ความคิดรวบยอด/สั งกัป (concepts) ที่
ได้ จากงานวิจัยเชิงคุณภาพ (Noblit and Hare, 1998)
Five criteria of adequacy of metaphors
1) Economy (achieve the explanation with parsimony)
2) Cogency (achieve the explanation without redundancy,
ambiguity)
3) Range (power to incorporate other symbolic domains)
4) Apparency (making apparent connotation/more explanation)
5) Credibility (must be understood and reliable)
ขั้นตอนการวิเคราะห์ ชาติพนั ธุ์วรรณนาอภิมาน
1. ขั้นเริ่มต้ น - ระบุปัญหาวิจยั ศึกษาสร้ างกรอบแนวคิด
2. ขั้นตัดสิ นใจเลือกงานวิจัยมาสั งเคราะห์
3. ขั้นอ่านงานวิจัยเพือ่ ทาความเข้ าใจ
4. ขั้นกาหนดกรอบแสดงความสั มพันธ์ ระหว่ างงานวิจัย
5. ขั้นตีความหมายเชื่อมโยง-เปรียบเทียบ
6. ขั้นสั งเคราะห์ ความหมาย
7. ขั้นสรุปและรายงานผลการสังเคราะห์
การแปลความหมาย (TRANSLATION)
1. การแปลความหมายเทียบกลับไปกลับมา
(RECIPROCAL TRANSLATION)
2. การแปลความหมายเชิงหักล้าง
(REFUTATIONAL TRANSLATION)
3. การแปลความหมายเพือ่ เสนอประเด็นโต้ แย้ ง
(BUILD A LINE-OF-ARGUMENT)
การวิเคราะห์ เมทริกซ์ ผลกระทบไขว้ (Cross-impact matrix analysis)ของ
ความสั มพันธ์ ระหว่ างปัจจัยเชิงสาเหตุและผล (cause and effect)
ปัจจัยเชิงผล
1
1. สถานศึกษามีสภาพเหมาะสมกับการเรียนรู้
2. การประกันคุณภาพการศึกษา
3. ครู จัดการเรียนการสอนทีห่ ลากหลาย
4. ผู้บริหารมีความสามารถในการบริหารงาน
5. ผู้ปกครอง/ชุ มชนมีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษา
6. คุณภาพของผู้เรียน
7. คุณภาพการเรียนการสอน
8. คุณภาพการศึกษาโดยรวม
ผลรวม
2
2
0
0
2
2
2
10
2
2
0
2
2
2
2
2
12
ปัจจัยเชิงสาเหตุ
3 4
5 ผลรวม
2 0
0
4
2 2
2
8
2
1
5
2
2
6
1 2
5
2 2
2
10
2 2
2
10
2 2
2
10
13 12 11
ขนาดความสั มพันธ์ เชิงสาเหตุระหว่ างปัจจัยเชิงสาเหตุและคุณภาพการศึกษา
ปัจจัยเชิงสาเหตุและผล
1 2
3
4
5
6
7
1. ลักษณะของโรงเรียน
1.00
0.33
0.83
8
0.00
0.00
0.00
0.00
0.89 1.22 0.67
0.89
1.67 0.33
1.11 1.67
0.00
2.00
0.33
0.67
2.00
0.00
0.33
2.00
0.17
0.33
2.00
0.00
0.33
0.00
2.00
2. กระบวนการของโรงเรียน
1.00
3. ลักษณะครู
0.33
4. กระบวนการของครู
0.83
5. ลักษณะผู้บริหาร
0.00
0.78
0.33
0.00
6. กระบวนการของผู้บริหาร
0.00
2.00
2.00
2.00
2.00
7. ลักษณะของชุ มชน ผู้เรียน
0.00
0.33
0.00
0.17
0.00
0.00
8. กระบวนการของชุ มชนผู้เรียน
0.00
0.67
0.33
0.33
0.33
2.00
0.50
9. คุณภาพผู้เรียน
2.00
1.67
0.67
2.00
1.00
2.00
0.50
2.00
10. คุณภาพการจัดการเรียนการสอน
2.00
1.33
2.00
2.00
1.33
2.00
0.00
2.00
11. คุณภาพการศึกษาโดยรวม
2.00
1.67
2.00
2.00
1.67
2.00
2.00
2.00
1.00
ลักษณะของ
โรงเรียน(1-2)
2.00
2.00
1.00
2.00
1.11
ลักษณะของครู (6-8)
2.00
กระบวนการของ
โรงเรียน (3-5)
1.22
1.67
2.00
1.67
1.33
กระบวนการของครู
(9-11)
2.00
2.00
2.00
กระบวนการของ
ผู้บริหาร (15)
ลักษณะของผู้บริหาร 2.00
(12-14)
2.00
ลักษณะของชุมชน
ผู้เรียน (16-17)
2.00
1.00
1.67
2.00
กระบวนการของ
ชุมชนผู้เรียน (18)
1.67
2.00
2.00
2.00
คุณภาพของผู้เรียน
(19)
คุณภาพการศึกษา
โดยรวม (21)
2.00
2.00
2.00
2.00
คุณภาพการเรียน
การสอน (20)
2.00
โมเดลความสั มพันธ์ ระหว่ างปัจจัยเชิงสาเหตุและคุณภาพการศึกษา
Meta-Study of Qualitative Health Research
Paterson, B.L., Thorne, S.E., Canam, C. & Jilling, C.(2001)
Meta-Study Components:
1. Meta-data analysis = analysis of analyses
from primary qualitative research
2. Meta-method = study how research
methodology influenced research findings
3. Meta-theory = relating theory in conceptual
framework and research with context
4. Meta-synthesis = bring together the above 3
components, and create new data, method
and theory; also create insight implication
Meta-Study of Qualitative Health Research
Paterson, B.L., Thorne, S.E., Canam, C. & Jilling, C.(2001)
Meta-Study Process:
1. Formulating a research question
2. Selection and appraisal of primary research
3. Meta-data analysis
4. Meta-Method
5. Meta-theory
6. Meta-synthesis
7. Disseminating the findings
ตัวอย่ าง 4 การวิจัยชาติพนั ธ์ วรรณนาอภิมาน
อดุลย์ วังศรีคูณ (2543)
การสั งเคราะห์ งานวิจัยทีค่ ดั สรรแล้ วจานวน
31 เรื่อง เพือ่ ศึกษากระบวนการเรียนรู้ ของชุมชน
ทีท่ าให้ ชุมชนเข้ มแข็ง และศึกษาปัจจัยทีส่ ่ งผลต่ อ
กระบวนการเรียนรู้ ทที่ าให้ ชุมชนเข้ มแข็ง
บุปผา เมฆศรีทองคา (2547)
ตัวอย่ าง 8 การวิเคราะห์ อภิมานและการวิเคราะห์
ชาติพนั ธ์ วรรณนาอภิมาน
นงลักษณ์ วิรัชชัย สิ รินธร สิ นจินดาวงศ์ ภัทราวดี มากมี
และนัทธี เชียงชะนา (2551) รายงานการสั งเคราะห์ งาน
วิจยั ทีน่ าเสนอในการประชุมวิชาการ‘เปิ ดขอบฟ้า
คุณธรรมจริยธรรม’: ใช้ การวิเคราะห์ อภิมานสั งเคราะห์
งานวิจยั เชิงปริมาณ แล้วสรุปเป็ นโมเดลเชิงสาเหตุ ใช้ การ
วิเคราะห์ ชาติพนั ธ์ วรรณนาอภิมานสั งเคราะห์ งาน
วิจยั เชิงคุณภาพ
ตัวอย่ าง 9 การวิเคราะห์ อภิมานและการวิเคราะห์
ชาติพนั ธ์ วรรณนาอภิมาน
นงลักษณ์ วิรัชชัย และคณะ (2551)
การใช้ การวิเคราะห์ อภิมานสั งเคราะห์ งานวิจัยเชิง
ปริมาณ แล้ วสรุปเป็ นโมเดลเชิงสาเหตุ และใช้ การ
วิเคราะห์ ชาติพนั ธ์ วรรณนาอภิมานสั งเคราะห์ งาน
วิจยั เชิงคุณภาพ แล้ วใช้ การวิเคราะห์ เมทริกซ์ ผล
กระทบไขว้ (cross impact matrix analysis)
วิธีวทิ ยาการสั งเคราะห์ งานวิจัยที่
สามารถใช้ ได้ กบั ศาสตร์ ทุกสาขา
- มีการใช้ แพร่ หลายมากขึน้
- ใช้ เป็ นกลไกขยายขอบเขตการวิจัย
- การเชื่อมโยงความรู้ จากหลายสาขา
- การสั งเคราะห์ แบบพร้ อมใช้ (instant)