ทฤษฎีบุ ค ลิก ภาพที่เ น้ น ตนจริ ง โดยฮอร์ น าย [HORNEY’S SELF-REALIZATION PERSONALITY THEORY] รองศาสตราจารย์ แสงสุรีย์ สาอางกูล.

Download Report

Transcript ทฤษฎีบุ ค ลิก ภาพที่เ น้ น ตนจริ ง โดยฮอร์ น าย [HORNEY’S SELF-REALIZATION PERSONALITY THEORY] รองศาสตราจารย์ แสงสุรีย์ สาอางกูล.

ทฤษฎีบุ ค ลิก ภาพที่เ น้ น ตนจริ ง โดยฮอร์ น าย
[HORNEY’S SELF-REALIZATION PERSONALITY THEORY]
รองศาสตราจารย์ แสงสุรีย์ สาอางกูล
Horney 1932-1952
Special for Horney
ฮอร์ นาย เป็ นนักวิเคราะห์หญิง
โดยเธอก็เป็ นศิษย์คนหนึง่ ของ ฟรอยด์
แต่ไม่พอใจทฤษฎีดงเดิ
ั้ ม
จึงออกมาเพื่อตังสมาคมวิ
้
เคราะห์แนวใหม่ขึ ้น
*โดยส่วนตัวแล้ วเธอเป็ นคนที่ซบั ซ้ อนโดดเดี่ยว
เอาใจเขามาใส่ใจเราได้ ดี
เป็ นมารดาที่ดี
ยุติธรรม และ
ชอบความเป็ นส่วนตัว
๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๒
Horney 1885-1932
เกิดที่เยอรมัน บิดามารดาเป็ นชาวนอร์ เวย์ Norwey
เธอมีปัญหากับบิดาที่เป็ นใหญ่ในบ้ าน แต่ มารดาเป็ นผู้สนับสนุนเธอ
และเธอรับรู้ตนเองว่า “เป็ นคนธรรมดาๆ เพราะ ตนเองไม่ สวย ไม่ โก้ เก๋ ”
เธอถูกบังคับให้ เข้ าเรี ยนที่โรงเรี ยนแพทย์ สมรสกับ Oscar * Horney เมื่ออยู่ในโรงเรี ยนแพทย์
- มีความซึมเศร้ า & พยายามฆ่าตัวตาย 1932 ไปที่ USA
ดารงชีวิตอยู่ในช่วงเวลาของ Women’s Rights Advocate
ความวิตกกังวลเบื ้องต้ น (Basic Anxiety):
เด็กกลัวการอยูค่ นเดียว ความสิ ้นหวัง & ความไม่อบอุน่ ใจ
เด็กๆ ไม่มีอานาจที่จะมีสถานภาพใดๆ ในสังคมได้ ทนั ที
เขาจึงต้ องเก็บกด - repress
เก็บกดความรู้สกึ ไม่เป็ นมิตร & ความโกรธต่อผู้ใหญ่ที่มีอานาจมาก
เพราะเขาไม่ สามารถสนองความต้ องการดังกล่ าวของตนเอง
เนื่องมาจากความขัดแย้ งในครอบครัว & ความขัดแย้ งภายในสังคมใหญ่
(ระดับภาค - ประเทศ)
แนวคิ ด ฮอร์ นาย HORNEY CONCEPT:
ธรรมชาติพนื ้ ฐานของมนุษย์
ฮอร์ นายเห็นด้ วยกับฟรอยด์วา่ ประสบการณ์ในอดีตมีผลต่อบุคลิกภาพปั จจุบนั แต่
ปฏิเสธแนวคิดองค์ประกอบทางชีววิทยาและพลังลิบิโดอันแสดงว่าคนมีจิตป่ าเถื่อน
โดยเฉพาะการเน้ นว่าปั ญหาบุคลิกภาพเกิดจากปั ญหาทางเพศและความก้ าวร้ าว
ฮอร์ นายจึงหันมาเน้ นเกี่ยวกับองค์ประกอบด้ านสังคมและวัฒนธรรมและแรงจูงใจว่า
เป็ นตัวกาหนดบุคลิกภาพและมองมนุษย์ในแง่ดีคือทุกคนย่อมมีธรรมชาติที่ดีติดตัว
มาและพฤติกรรมที่ผิดปกติเกิดจากพลังที่มงุ่ สูเ่ ป้าหมายถูกขัดขวางจากพลัง
ภายนอกและภายใน
แนวคิ ด ฮอร์ นาย HORNEY CONCEPT:
โครงสร้ างและพัฒนาการของบุคลิกภาพ
ฮอร์ นาย นาแนวคิดของฟรอยด์
มาแก้ ไขเฉพาะบางส่วนตามที่เธอเห็นผิดพลาด
โดยไม่ได้ ก่อทฤษฎีใหม่ทงหมด
ั้
เธอไม่เน้ นโครงสร้ างบุคลิกภาพแบบฟรอยด์
หากแต่
มุง่ ให้ ข้อคิดเชิงประยุกต์เช่นเรื่ องโรคประสาทและการบาบัดรักษา
แนวคิ ด ฮอร์ นาย HORNEY CONCEPT:
แนวคิดหลักๆจาก Horney
ปฏิเสธแนวคิดการอิจฉาอวัยวะเพศชาย/องคชาติ Penis ความรู้สกึ ด้ อยของสตรี เพศ ไม่ได้ มาจาก ความด้ อยทางเพศ
แต่ กลับมาจากแนวทางในการเลีย้ งดูในสังคม
มาจากความเชื่อว่ า สตรี เพศ ต้ องได้ รับความรั กจากบุรุษเพศอย่ างอบอุ่นใจ
วัฒนธรรม (ดังเดิ
้ ม) ยกย่อง masculinity –
แต่ลดคุณค่าของ femininityเพราะสตรี แสดงความอ่อนแอ & ชอบยอมจานน
แนวคิ ด ฮอร์ นาย HORNEY CONCEPT:
ความต้ องการที่จาเป็ นด้ านความปลอดภัยของเด็ก
ฮอร์ นาย คิดว่าเด็กต้ องการความอบอุ่นใจและความอิสระจากความกลัวเป็ น
หลักเด็กจึงจะพัฒนาบุคลิกภาพแบบปกติ ดังนัน้ บิดามารดาควรเข้ าใจและไม่
กระทาในลักษณะที่ไม่กระทบกระเทือนความรู้สกึ 2 ประเภทนี ้
เด็กสามารถรับรู้ได้ วา่ การแสดงออกของบิดามารดาอย่างใดเป็ นรั กแท้ หรื อปลอม
ถ้ าเด็กรู้สกึ กลัวและช่วยตัวเองไม่ได้ เขาจะเก็บกดความรู้ สกึ เป็ นศัตรู ความรู้ สกึ
ต้ องการรั กแท้ และความรู้ สกึ ผิดต่ อบิดามารดาเอาไว้
ทาให้ เด็กไม่กล้ าดื ้อ หรื อ ต่อต้ านบิดามารดา
แนวคิ ด ฮอร์ นาย HORNEY CONCEPT:
ความรู้สกึ ผิด เป็ นอีกเหตุผลที่เด็กเก็บความกดไว้
และแสดงพฤติกรรมคัดค้ านต่างๆ ยิ่งรู้ สกึ ผิดมาก
ยิ่งเก็บกดไว้ ลึกซึง่ จะแสดงออกมาในรูปความวิตก
- กังวลเบื ้องต้ น (basic anxiety)
แนวคิดตัวตน/อัตตา ของ Horney
ตนจริง Real Self: แก่นใจ ของบุคลิกภาพ ที่เรารับรู้เกี่ยวกับศักยภาพของ
ตนเอง เพื่อเข้ าใจตนจริง self-realization
ตนที่บกพร่อง Despised Self: การรับรู้ความด้ อย & เคราะห์กรรม /ชะตา
กรรมที่ไม่ดี มีพื ้นฐานมาจากการประเมินทางลบของบุคคลอื่นๆ อันกระตุ้น
ความรู้สกึ สิ ้นหวัง
ตนในอุดมคติ Ideal Self: การมองในตนที่สมบูรณ์และความหวังที่จะพบ
ความสาเร็จ: “tyranny of the Shoulds”
แนวคิ ด ฮอร์ นาย HORNEY CONCEPT:
เป้าหมายของจิตบาบัด คือ การยอมรับตนจริง –
เพื่อไม่ให้ กลายเป็ นคนโรคประสาทและพัฒนาการ
ใช้ กลวิธีแก้ ปัญหา มาแก้ ความขัดแย้ งระหว่าง
real & need for ideal
เน้ นที่ปัจจัยด้ าน social & cultural
เน้ นใช้ คาว่า “fear of success” in describing women’s
orientation toward achievement
นาเสนอหลักการตีความเรื่ องสตรี นิยมของ Freud: “womb envy” &
other values Individualism vs. collectivism –
“healthiness” ว่าขึ ้นอยูก่ บั วัฒนธรรม ที่เหมาะสม
ข้ อ คิ ด ข้ อ เสนออื่ น ๆ ของ HORNEY [1]
• เน้ นที่ปัจจัยด้ านสังคมและวัฒนธรรม (social & cultural)
• เน้ นใช้ คา “ความกลัวความสาเร็จ - fear of success” เพื่อบรรยายการ
เผชิญกับความสาเร็จของสตรี เพศ
• นาเสนอหลักการตีความเรื่ องสตรี นิยมของ Freud: “อิจฉาการมีมดลูกและ
ค่านิยมอื่นๆ (womb envy” & other values)
• ปั จเจกบุคคลนิยม กับ รวมหมูน่ ิยม (Individualism vs.
collectivism) – “ความมีสขุ ภาพดี (healthiness)”
• ขึ ้นอยูก่ บั วัฒนธรรมที่เหมาะสม
ข้ อ คิ ด ข้ อ เสนออื่ น ๆ ของ HORNEY [2]
ขอบคุ ณ ค่ ะ
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION
รองศาสตราจารย์ แสงสุรีย์ สาอางค์ กูล