พ.ร.บ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550

Download Report

Transcript พ.ร.บ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550

พ.ร.บ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
พ.ศ. 2550
โดย
นายสุ รพล เล็กขาว
สานักมาตรการป้องกันสาธารณภัย
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
กันยายน 2550
หัวข้ อการบรรยาย
รายละเอียดตามบทบัญญัติ
1. คานิยาม
2. คณะกรรมการ
3. กรมป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
4. แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
5. การบัญชาการ
6. การปฏิบัตกิ าร
7. การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
หัวข้ อการบรรยาย (ต่ อ)
รายละเอียดตามบทบัญญัติ (ต่ อ)
8. การเป็ นเจ้ าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
9. เครื่องแบบ เครื่องหมาย และบัตรประจาตัว
10. บทกาหนดโทษ
11. ให้ กฎหมายลาดับรองยังใช้ บังคับได้
หลักการและเหตุผลโดยสรุป
หลักการ ให้ มีกฏหมายว่าด้ วยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
เหตุผล
1. ได้ จัดตั้งกรม ปภ.ขึน้ มีภารกิจหลักในการป้ องกัน บรรเทา ฟื้ นฟู
สาธารณภั ย และอุ บั ติ ภั ย งานด้ า นสาธารณภั ย และงานด้ า นอุ บั ติ ภั ย มารวมอยู่ ในความ
รับผิดชอบ
2. กฎหมายว่ า ด้ ว ยการป้ องกัน และระงั บ อัค คีภั ย มี สาระสาคัญ และรายละเอี ย ด
เกี่ยวกับการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยในด้ านของอัคคีภัย และหน่ วยงานที่ จะต้ อง
ปฏิบัตกิ เ็ ป็ นหน่ วยงานเดียวกัน
ดังนั้น เพื่อให้ การปฏิบัติงานเป็ นไปอย่ างมีประสิ ทธิภาพและแนวทางเดียวกัน ตลอดจนเพื่อให้
เกิดความเป็ นเอกภาพในการอานวยการและบริ หารจัดการเกี่ยวกับการป้ องกันและบรรเทาสา
ธารณภัย จึงเห็นสมควรนากฎหมาย ว่ าด้ วยการป้ องกันภัยฝ่ ายพลเรือน และกฎหมายว่ าด้ วยการ
ป้ องกันและระงับอัคคีภัยมาบัญญัติไว้ รวมกัน จึงจาเป็ นต้ องตราพ.ร.บ.นี้
บทบัญญัติพระราชบัญญัติฉบับนี้
แบ่ งออกเป็ น ๖ หมวด ๕๘ มาตรา
มาตรา ๑ ชื่อพระราชบัญญัติ
มาตรา ๒ วันบังคับใช้
มาตรา ๓ ยกเลิกพระราชบัญญัติ
มาตรา ๔ บทนิยาม
หมวด ๑ บททัว่ ไป (มาตรา ๖ - ๒๐)
มาตรา ๖ คณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่ งชาติ
“กปภ.ช.”
มาตรา ๗ อานาจหน้ าทีข่ อง“กปภ.ช.”
มาตรา ๘ วาระการดารงตาแหน่ งของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ อยู่ในตาแหน่ ง
คราวละสี่ ปี
มาตรา ๙ การพ้นจากตาแหน่ งของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
มาตรา ๑๐ การประชุ มของ กปภ.ช.
มาตรา ๑๑ กรมปภ.เป็ นหน่ วยงานกลางของรัฐในการดาเนินการ
เกีย่ วกับปภ.ของประเทศ
มาตรา ๑๒ สาระสาคัญของแผน ปภ.ชาติ
มาตรา ๑๓ ผู้บัญชาการและรองผู้บัญชาการ
มาตรา ๑๔ ผ.อ.กลาง
มาตรา ๑๕ ผ.อ.จังหวัด
มาตรา ๑๖ สาระสาคัญของแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด
มาตรา ๑๗ คณะกรรมการจัดทาแผนการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด
มาตรา ๑๘ รอง ผ.อ.จังหวัด
มาตรา ๑๙ ผ.อ. อาเภอ
มาตรา ๒๐ ผ.อ. ท้ องถิ่น
หมวด ๒ การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (มาตรา ๒๑ - ๓๑)
มาตรา ๒๑ อานาจหน้ าทีข่ อง ผ.อ.ท้ องถิ่นเมื่อเกิดหรือคาดว่ าจะเกิดสาธารณภัย
มาตรา ๒๒ อานาจหน้ าที่ของ ผ.อ.อาเภอและ ผ.อ.จังหวัด เมื่อเกิดหรือคาดว่ าจะเกิด
สาธารณภัย
มาตรา ๒๓ การสนับสนุนพืน้ ทีท่ เี่ กิดสาธารณภัย
มาตรา ๒๔ หน้ าทีข่ องเจ้ าพนักงานทีป่ ระสบเหตุ
มาตรา ๒๕ การสั่ งดัดแปลง ทาลาย หรือเคลือ่ นย้ าย
มาตรา ๒๖ การเข้ าไปในอาคารหรือสถานทีท่ อี่ ยู่ใกล้เคียงกับพืน้ ทีท่ เี่ กิดสาธารณภัย
มาตรา ๒๗ อานาจหน้ าทีด่ าเนินการในการบรรเทาสาธารณภัย
มาตรา ๒๘ การสั่ งอพยพ
มาตรา ๒๙ ประกาศห้ ามมิให้ บุคคลเข้ าไปอยู่อาศัยหรือดาเนินกิจการ
มาตรา ๓๐ การสารวจความเสี ยหาย /ออกหนังสื อรับรอง
มาตรา ๓๑ อานาจนายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีซึ่ง
นายกรัฐมนตรีมอบหมาย
หมวด ๓ การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขต
กรุงเทพมหานคร (มาตรา ๓๒ - ๓๘)
มาตรา ๓๒ ผอ. กรุ งเทพมหานคร
มาตรา ๓๓ สาระสาคัญของแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กทม.
มาตรา ๓๔ คณะกรรมการจัดทาแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กทม.
มาตรา ๓๕ รอง ผอ.กรุ งเทพมหานคร
มาตรา ๓๖ ผู้ช่วย ผอ. กรุ งเทพมหานคร
มาตรา ๓๗ อานาจหน้ าทีข่ อง ผู้ช่วย รอง และผ.อ.กรุ งเทพมหานคร
เมือ่ เกิดหรือคาดว่ าจะเกิดสาธารณภัย
มาตรา ๓๘ การขอช่ วยเหลือในการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยทีเ่ กิดขึน้ ใน กทม.
หมวด ๔ เจ้ าพนักงานและอาสาสมัคร (มาตรา ๓๙ - ๔๒)
มาตรา ๓๙ การแต่ งตั้งเจ้ าพนักงาน
มาตรา ๔๐ พบเห็นว่ าอาคารหรือสถานทีใ่ ดมีสภาพหรือมีวสั ดุหรือ
สิ่ งของที่อาจก่อให้ เกิดสาธารณภัยได้ โดยง่ าย
มาตรา ๔๑ การจัดให้ มีอาสาสมัคร
มาตรา ๔๒ องค์ การสาธารณกุศลหรือบุคคลใดเข้ ามาช่ วยเหลือการปฏิบัติ
หมวด ๕ เบ็ดเตล็ด (มาตรา ๔๓ - ๔๘)
มาตรา ๔๓ เจ้ าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๔๔ การจัดทาแผน ปรับปรุง หรือทบทวนแผน
มาตรา ๔๕ เครื่องแบบ เครื่องหมาย และบัตรประจาตัว
มาตรา ๔๖ การดาเนินการในเขตทหารหรือเกีย่ วกับกิจการเจ้ าหน้ าที่
หรือทรัพย์ สินในราชการทหาร
มาตรา ๔๗ ค่ าปรับ
มาตรา ๔๘ การนาเอาความลับไปใช้ เพือ่ ประโยชน์ ส่วนตัว หรือเปิ ดเผยความลับ
หมวด ๖ บทกาหนดโทษ (มาตรา ๔๙ - ๕๕)
บทเฉพาะกาล (มาตรา ๕๖ - ๕๘)
มาตรา ๕๖ กาหนดเวลาแล้วเสร็จในการจัดทาแผนตาม พ.ร.บ. นี้
มาตรา ๕๗ ให้ ศูนย์ ปภ.เขต เป็ นศูนย์ ปภ.จัดตั้งขึน้ ตาม พ.ร.บ. นี้
มาตรา ๕๘ ให้ กฎหมายลาดับรองยังใช้ บังคับได้
รายละเอียดตามบทบัญญัติ
1. คานิยาม (ม.4)
- สาธารณภัย
- ภัยทางอากาศ
- การก่ อวินาศกรรม
- องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่นแห่ งพืน้ ที่
- อาสาสมัคร
“สาธารณภัย หมายความว่า อัคคีภยั วาตภัย อุทกภัย ภัยแล้ง
โรคระบาดในมนุษย์ โรคระบาดสั ตว์ โรคระบาดสั ตว์ นา้ การระบาด
ของศัตรู พชื ตลอดจนภัยอืน่ ๆ อันมีผลกระทบต่ อสาธารณชน
ไม่ ว่าเกิดจากธรรมชาติ มีผ้ ูทาให้ เกิดขึน้ อุบัตเิ หตุ หรือเหตุอนื่ ใด
ซึ่งก่ อให้ เกิดอันตรายแก่ ชีวติ ร่ างกายของประชาชน
หรือความเสี ยหายแก่ ทรัพย์ สินของประชาชน หรือของรัฐ
และให้ หมายความรวมถึงภัยทางอากาศ และการก่ อวินาศกรรมด้ วย
ภัยทางอากาศ หมายความว่า ภัยอันเกิดจากการโจมตีทางอากาศ
การก่ อวินาศกรรม หมายความว่า การกระทาใด ๆ อันเป็ นการ
มุ่งทาลายทรัพย์ สินของประชาชนหรือของรัฐ หรือสิ่ งอันเป็ น
สาธารณูปโภค หรือ การรบกวนขัดขวางหน่ วงเหนี่ยวระบบ
การปฏิบัตงิ านใด ๆ ตลอดจน การประทุษร้ ายต่ อบุคคล อันเป็ นการ
ก่ อให้ เกิดความปั่นป่ วนทางการเมือง การเศรษฐกิจและสั งคม
แห่ งชาติ โดยมุ่งหมายทีจ่ ะก่ อให้ เกิดความเสี ยหายต่ อความมั่นคง
ของรัฐ
องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิน่ แห่ งพืน้ ที่”
หมายความว่ า อบต. เทศบาล เมืองพัทยา และอปท.อืน่
ทีม่ กี ฎหมายจัดตั้ง แต่ ไม่ หมายความรวมถึง อบจ.
และกทม.
อาสาสมัคร หมายความว่า อาสาสมัครป้ องกันภัย
ฝ่ ายพลเรือนตามพระราชบัญญัตินี้
2. คณะกรรมการ
แบ่ งออกเป็ น
2.1 คณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่ งชาติ
(กปภ.ช.)
2.2 คณะกรรมการจัดทาแผนการป้ องกันและบรรเทา
สาธารณภัยจังหวัด
2.3 คณะกรรมการจัดทาแผนการป้ องกันและบรรเทา
สาธารณภัยกรุงเทพมหานคร
2.1 คณะกรรมการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แห่ งชาติ เรี ยกโดยย่อว่า กปภ.ช. (ม. 6)”
องค์ ประกอบของ กปภ.ช.
- นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรี เป็ นประธาน
ซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รองประธานคนที่ 1
- ปลัดกระทรวงมหาดไทย
รองประธานคนที่ 2
- ปลัดกระทรวงกลาโหม
- ปลัดกระทรวงการพัฒนาสั งคมและความมัน่ คง
ของมนุษย์
- ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- ปลัดกระทรวงคมนาคม
- ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม
- ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร
- ปลัดกระทรวงสาธารณสุ ข
- ผู้อานวยการสานักงบประมาณ
- ผู้บัญชาการตารวจแห่ งชาติ
- ผู้บัญชาการทหารสู งสุ ด
- ผู้บัญชาการทหารบก
- ผู้บัญชาการทหารเรือ
- ผู้บัญชาการทหารอากาศ
- เลขาธิการสภาความมัน่ คงแห่ งชาติ
- ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่ง ค.ร.ม. แต่ งตั้งจากผู้มคี วามรู้ ความเชี่ยวชาญ
หรือประสบการณ์ ด้านการผังเมือง และการป้ องกันและบรรเทา
สาธารณภัย อีกไม่ เกิน 5 คน
- อธิบดีกรม ปภ.
กรรมการและเลขานุการ
- ข้ าราชการในกรม ปภ.
ผู้ช่วยเลขานุการ
จานวนไม่ เกิน 2 คน
อานาจหน้ าที่ของ กปภ.ช. (ม.7)
- กาหนดนโยบายในการจัดทาแผนการป้ องกันและบรรเทา
สาธารณภัยแห่ งชาติ
- พิจารณาให้ ความเห็นชอบแผนการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยแห่ งชาติก่อนเสนอ ค.ร.ม.
- บูรณาการพัฒนาระบบการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ระหว่ างหน่ วยงานของรัฐ อปท. และหน่ วยงานภาคเอกชนทีเ่ กีย่ วข้ อง
ให้ มีประสิ ทธิภาพ
- ให้ คาแนะนา ปรึกษาและสนับสนุนการปฏิบัตหิ น้ าที่
ในการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
- วางระเบียบเกีย่ วกับค่ าตอบแทน ค่ าทดแทน และค่ าใช้ จ่าย
ในการดาเนินการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง
- ปฏิบัตกิ ารอืน่ ใดตามทีบ่ ัญญัติไว้ ใน พ.ร.บ.นี้ หรือกฎหมาย
อืน่ หรือตามที่ ค.ร.ม. มอบหมาย
ในการปฏิบัติหน้ าที่ของ กปภ.ช.
จะตั้งคณะอนุกรรมการเพือ่ ปฏิบัติการอย่ างใด
อย่ างหนึ่งแทน หรือตามที่มอบหมายก็ได้
อาจเรียกให้ หน่ วยงานของรัฐ อปท. หรือหน่ วยงาน
ภาคเอกชนที่เกีย่ วข้ องมาร่ วมประชุม หรือชี้แจง
หรือให้ ข้อมูลก็ได้
2.2 คณะกรรมการจัดทาแผนการป้ องกันและบรรเทา
สาธารณภัยจังหวัด ผวจ.แต่ งตั้ง (ม. 17)
องค์ ประกอบ
- ผู้ว่าราชการจังหวัด
- รองผู้ว่าราชการจังหวัด
ซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย
- ผู้บัญชาการมณฑลทหารบก
หรือผู้บังคับการจังหวัดทหารบก หรือผู้แทน
- นายก อบจ.
ประธาน
รองประธาน
รองประธาน
รองประธาน
- กรรมการอืน่ ประกอบด้ วย
(ก) ผู้แทนหน่ วยงานของรัฐที่ประจาอยู่ในพืน้ ทีจ่ ังหวัดตามจานวน
ที่ ผวจ. เห็นสมควรแต่ งตั้ง
(ข) ผู้แทน อปท. แห่ งพืน้ ที่ 7 คน ประกอบด้ วย
ผู้แทนเทศบาล 2 คน และผู้แทน อบต. 5 คน
(ค) ผู้แทนองค์ การสาธารณกุศลในจังหวัดตามจานวนที่ ผวจ.
เห็นสมควรแต่ งตั้ง
- หัวหน้ าสานักงาน ปภ.จังหวัด กรรมการและเลขานุการ
หรือผู้แทนกรม ปภ.
- ผู้บริหารของสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา(ถ้ ามี)
เป็ นที่ปรึกษา หรือกรรมการตามจานวนที่ ผวจ.เห็นสมควรแต่ งตั้ง
หน้ าที่
จัดทาแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด
เสนอ ผวจ. เพือ่ ประกาศใช้
(การปฏิบัตหิ น้ าทีแ่ ละการประชุมของคณะกรรมการ
ให้ เป็ นไปตามที่ ผวจ. กาหนด)
2.3 คณะกรรมการจัดทาแผนการป้ องกันและบรรเทา
สาธารณภัยกรุงเทพมหานคร ผู้ว่า กทม. แต่งตั้ง (ม. 34)
องค์ ประกอบ
- ผู้ว่า กทม.
ประธาน
- ปลัด กทม.
รองประธาน
- กรรมการอืน่ ประกอบด้ วย
(ก) ผู้แทนส่ วนราชการหรือหน่ วยงานของ กทม.ตามจานวน
ทีผ่ ้ ูว่า กทม.เห็นสมควรแต่ งตั้ง
(ข) ผู้แทนกรม ปภ.
(ค) ผู้แทนองค์ การสาธารณกุศลในเขต กทม. ตามจานวน
ทีผ่ ้ ูว่า กทม. เห็นสมควรแต่ งตั้ง
(ง) ผู้แทนชุมชนในเขตกทม. ตามจานวนทีผ่ ้ ูว่า กทม.
เห็นสมควรแต่ งตั้ง
- ผู้แทนกระทรวงกลาโหมและผู้แทนสถาบันการศึกษา
ระดับอุดมศึกษาเป็ นที่ปรึกษาหรือกรรมการตามจานวน
ทีผ่ ้ ูว่า กทม. เห็นสมควรแต่ งตั้ง
หน้ าที่
จัดทาแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กทม.
เสนอ ผู้ว่ากทม. เพือ่ ประกาศใช้
(การปฏิบัตหิ น้ าทีแ่ ละการประชุมของคณะกรรมการให้ เป็ นไป
ตามที่ ผู้ว่า กทม. กาหนด)
3. กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ม.11)
เป็ นหน่ วยงานกลางของรัฐ ในการดาเนินการเกีย่ วกับการ
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของประเทศ
มีอานาจหน้ าที่
(1) จัดทาแผนการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่ งชาติ
เสนอ กปภ.ช. เพือ่ ขออนุมตั ติ ่ อ ค.ร.ม.
(2) จัดให้ มกี ารศึกษาวิจัยเพือ่ หามาตรการในการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัยให้ มปี ระสิ ทธิภาพ
(3) ปฏิบัตกิ าร ประสานการปฏิบัติ ให้ การสนับสนุน และ
ช่ วยเหลือหน่ วยงานของรัฐ อปท. และหน่ วยงานภาคเอกชน ใน
การป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย และให้ การสงเคราะห์
เบือ้ งต้ นแก่ ผ้ ูประสบภัย ผู้ได้ รับภยันตราย หรือผู้ได้ รับความ
เสี ยหายจากสาธารณภัย
(4) แนะนา ให้ คาปรึกษา และอบรมเกีย่ วกับการป้ องกันและ
บรรเทาสาธารณภัยแก่ หน่ วยงานของรัฐ อปท. และหน่ วยงาน
ภาคเอกชน
(5) ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินการตาม
แผนการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยในแต่ ละระดับ
(6) ปฏิบัติการอืน่ ใดตามที่บัญญัติไว้ ใน พ.ร.บ. นี้ หรือ
กฎหมายอืน่ หรือตามทีผ่ ู้บัญชาการ นรม. กปภ.ช. หรือ
ค.ร.ม. มอบหมาย
เพือ่ ประโยชน์ ในการปฏิบตั ิหน้ าที่ตาม (3) (4) (5) และ (6)
- กรมจะจัดให้ มีศูนย์ ปภ.ขึน้ ในบางจังหวัดเพือ่ ปฏิบัติงานใน
จังหวัดนั้น และจังหวัดใกล้ เคียงได้ ตามความจาเป็ น โดยให้ ศูนย์
ปภ.เขตเดิมเป็ นศูนย์ ปภ.ตาม พ.ร.บ.นี้ (ม. 57)
- กรมจะให้ มสี านักงาน ปภ.จังหวัดขึน้ เพือ่ กากับดูแล และ
สนับสนุนการปฏิบัตกิ ารป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยใน
จังหวัด หรือตามทีผ่ ้ ูอานวยการจังหวัดมอบหมายด้ วยก็ได้
4. แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
4.1 แผนการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่ งชาติ
4.2 แผนการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด
4.3 แผนการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
กรุงเทพมหานคร
4.4 การจัดทา ปรับปรุ ง หรือทบทวนแผน
4.1 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่ งชาติ (ม.11(1) และ
ม.12)
อย่ างน้ อยต้ องมีสาระสาคัญ ดังต่ อไปนี้
(1) แนวทาง มาตรการ และงบประมาณที่จาเป็ นต้ องใช้ ในการ
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอย่ างเป็ นระบบและต่ อเนื่อง
(2) แนวทาง และวิธีการในการให้ ความช่ วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้ อนที่
เกิดขึน้ เฉพาะหน้ าและระยะยาวเมื่อเกิดสาธารณภัย รวมถึงการอพยพประชาชน
หน่ วยงานของรัฐ และองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น การสงเคราะห์ ผู้ประสบภัย
การดูแลเกีย่ วกับการสาธารณสุ ข และการแก้ไขปัญหาเกีย่ วกับการสื่ อสารและการ
สาธารณูปโภค
(3) หน่ วยงานของรัฐและ อปท.ที่รับผิดชอบในการดาเนินการตาม (1)
และ (2) และวิธีการให้ ได้ มาซึ่งงบประมาณเพือ่ การดาเนินการ
(4) แนวทางในการเตรียมพร้ อมด้ านบุคลากร อุปกรณ์ และเครื่องมือ
เครื่องใช้ และจัดระบบการปฏิบัตกิ ารในการดาเนินการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัย รวมถึงการฝึ กบุคลากรและประชาชน
(5) แนวทางในการซ่ อมแซม บูรณะ ฟื้ นฟู และให้ ความช่ วยเหลือ
ประชาชนภายหลังทีส่ าธารณภัยสิ้นสุ ด
4.2 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด
(ม. 15(1) และม.16)
อย่ างน้ อยต้ องมีสาระสาคัญตามมาตรา ๑๒ และสาระสาคัญอืน่
ดังต่ อไปนี้
(1) การจัดตั้งศูนย์ อานวยการเฉพาะกิจเมื่อเกิดสาธารณภัยขึน้ โครงสร้ างและ
ผู้มีอานาจสั่ งการด้ านต่ าง ๆ ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
(2) แผนและขั้นตอนของ อปท. ในการจัดหาวัสดุ
อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ และยานพาหนะ เพือ่ ใช้ ในการป้ องกันและ
บรรเทาสาธารณภัย
(3) แผนและขั้นตอนของ อปท. ในการจัดให้ มี เครื่องหมาย สั ญญาณ
หรือสิ่ งอืน่ ใด ในการแจ้ งให้ ประชาชนได้ ทราบถึงการเกิดหรือจะเกิดสา
ธารณภัย
(4) แผนปฏิบัติการในการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยของ อปท.
(5) แผนการประสานงานกับองค์ การสาธารณกุศล
ในกรณีที่กรมปภ.เห็นว่ าแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด
ไม่ สอดคล้ องกับแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่ งชาติให้
แจ้ งให้ ผวจ.ทราบเพือ่ ดาเนินการแก้ ไขให้ แล้ วเสร็จภายใน 30 วัน นับ
แต่ วนั ที่ ได้ รับแจ้ ง (ม. 17วรรคท้ าย)
4.3 แผนการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
กรุงเทพมหานคร (ม.32(1) และม.33)
อย่ างน้ อยต้ องมีสาระสาคัญตามมาตรา ๑๒ และสาระสาคัญอืน่
ดังต่ อไปนี้
(1) การจัดตั้งศูนย์ อานวยการเฉพาะกิจเมือ่ เกิดสาธารณภัยขึน้
โครงสร้ างและผู้มอี านาจสั่ งการด้ านต่ าง ๆ ในการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัย
(2) แผนและขั้นตอนในการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้
และยานพาหนะ เพือ่ ใช้ ในการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
(3) แผนและขั้นตอนในการจัดให้ มเี ครื่องหมายสั ญญาณ หรือ
สิ่ งอืน่ ใดในการแจ้ งให้ ประชาชนได้ ทราบถึงการเกิดหรือจะ
เกิดสาธารณภัย
(4) แผนปฏิบัตกิ ารในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยใน
เขตกรุงเทพมหานคร
(5) แผนการประสานงานกับองค์ การสาธารณกุศลในเขต
กรุงเทพมหานคร
4.4 การจัดทา ปรับปรุง หรือทบทวนแผน
- ให้ จดั ทาแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยตาม พ.ร.บ.นี้ ให้ แล้ ว
เสร็จภายใน 2 ปี นับแต่ วนั ที่ พ.ร.บ.นีใ้ ช้ บังคับ (ม.56)
- ในระหว่ างจัดทาแผนไม่ แล้ วเสร็จ การดาเนินการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยให้ เป็ นไปตามแผนทีเ่ กีย่ วข้ องที่ยงั ใช้ บังคับอยู่ในวันก่ อน
วันที่ พ.ร.บ.นีใ้ ช้ บังคับ (ม.56)
- กรณีข้อเท็จจริงเกีย่ วกับสาธารณภัย หรือการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยที่กาหนดไว้ ในแผนต่ าง ๆ ตาม พ.ร.บ.นีเ้ ปลีย่ นไป หรือแผน
ดังกล่ าวใช้ มาครบ 5 ปี แล้ ว ให้ จดั ทา ปรับปรุง หรือทบทวนแผนโดยเร็ว
(ม.44)
5. การบัญชาการ
5.1. นรม. หรือ รองนรม.
ซึ่ง นรม. มอบหมาย
5.2 รมว.มท.
5.3 ปมท.
5.1 นรม.หรือ รองนรม. ซึ่งนรม. มอบหมาย (ม.31)
กรณีเกิดสาธารณภัยร้ ายแรงอย่ างยิง่ นรม.หรือ รองนรม. ซึ่ง
นรม. มอบหมาย มีอานาจ
- สั่ งการผู้บัญชาการ ผู้อานวยการ หน่ วยงานของรัฐ และ
อปท.ให้ ดาเนินการ เพือ่ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รวม
ตลอดทั้งให้ ความช่ วยเหลือแก่ ประชาชนในพืน้ ทีท่ กี่ าหนดก็
ได้
- มีอานาจเช่ นเดียวกับผู้บัญชาการตามมาตรา 13 และ
ผู้อานวยการ ตามมาตรา 21
- กากับและควบคุมการปฏิบัติหน้ าที่ของผู้บัญชาการ
รองผู้ บั ญ ชาการ ผู้ อ านวยการ รองผู้ อ านวยการ ผู้ ช่ ว ย
ผู้อานวยการ และเจ้ าพนักงานในการดาเนินการตามมาตรา
25 มาตรา 28 และมาตรา 29
เจ้ า หน้ า ที่ ข องรั ฐ ไม่ ป ฏิ บั ติ ต ามค าสั่ ง นรม.หรื อ รอง
นรม. ซึ่ งนรม. มอบหมาย ให้ ถือว่ าเป็ นการปฏิบัติ หน้ าที่
โดยไม่ ชอบหรือเป็ นความผิดวินัยอย่ างร้ ายแรง
5.2 รมว.มท.
เป็ นผู้บัญชาการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่ งชาติ
(ม.13)
- มีอานาจควบคุมและกากับการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยทั่วราชอาณาจักรให้ เป็ นไปตามแผนการป้ องกัน
และบรรเทาสาธารณภัย แห่ งชาติและ พ.ร.บ. นี้ ในการนี้
ให้ มอี านาจบังคับบัญชาและสั่ งการผู้อานวยการ รอง
ผู้อานวยการ ผู้ช่วยผู้อานวยการ เจ้ าพนักงาน และ
อาสาสมัครได้ ทวั่ ราชอาณาจักร
5.3 ปมท.
เป็ นรองผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่ งชาติ
(ม.13)
- มีหน้ าทีช่ ่ วยเหลือผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยแห่ งชาติในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
และปฏิบัตหิ น้ าทีต่ ามทีผ่ ้ ูบัญชาการมอบหมาย โดยให้ มี
อานาจบังคับบัญชาและสั่ งการตามวรรคหนึ่ง รองจากผู้
บัญชาการ
6. การปฏิบัติการ
6.1
6.2
6.3
6.4
6.5
อธิบดี กรม ปภ.
ผวจ.
นายก อบจ.
นายอาเภอ รวมปลัดอาเภอผู้เป็ นหัวหน้ าประจากิง่ อาเภอ
ผู้บริหารท้ องถิน่ ของ อปท. แห่ งพืน้ ที่
ปลัด อปท. ของ อปท.แห่ งพืน้ ที่
6.6 ผู้ว่า กทม.
ปลัด กทม.
ผอ.เขต ในแต่ ละเขตของ กทม.
6.7 เจ้ าพนักงาน
6.8 อาสาสมัคร
6.9 องค์ การสาธารณกุศล หรือบุคคล
6.10 หน่ วยทหาร
6.1 อธิบดี กรม ปภ. เป็ นผู้อานวยการกลาง (ม.14)
- มีหน้ าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยทัว่
ราชอาณาจักร
- มีอานาจควบคุมกากับการปฏิบัตหิ น้ าทีข่ อง
ผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ ผู้ช่วยผู้อานวยการ
เจ้ าพนักงาน และอาสาสมัคร ทั่วราชอาณาจักร
6.2 ผวจ. เป็ นผู้อานวยการจังหวัด (ม.15)
รับผิดชอบในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตจังหวัด โดยมี
อานาจหน้ าที่ดงั ต่ อไปนี้
(1) จัดทาแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด ซึ่งต้ อง
สอดคล้ องกับแผนการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่ งชาติ
(2) กากับดูแลการฝึ กอบรมอาสาสมัครของ อปท.
(3) กากับดูแล อปท.ให้ จดั ให้ มีวสั ดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้
ยานพาหนะ และสิ่ งอืน่ เพือ่ ใช้ ในการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ตามที่กาหนดในแผนการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด
(4) ดาเนินการให้ หน่ วยงานของรัฐและ อปท.ให้ การสงเคราะห์ เบือ้ งต้ นแก่ ผ้ ปู ระสบภัย
หรือผู้ได้ รับภยันตรายหรือเสี ยหายจากสาธารณภัย รวมตลอดทั้งการรักษาความสงบ
เรียบร้ อยและการปฏิบัติการใด ๆ ในการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
(5) สนับสนุนและให้ ความช่ วยเหลือแก่ อปท. ในการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
(6) ปฏิบัตหิ น้ าทีอ่ นื่ ตามทีผ่ ้ บู ัญชาการและผู้อานวยการกลางมอบหมาย
เพือ่ ประโยชน์ ในการปฏิบัติหน้ าที่ตาม (๓) (๔) และ (๕) ให้ ผ้ อู านวยการจังหวัด
- มีอานาจสั่ งการหน่ วยงานของรัฐและอปท.ซึ่งอยู่ในจังหวัด ให้ ดาเนินการ ในการป้ องกัน
และบรรเทาสาธารณภัยตามแผนการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด
- มีอานาจสั่ งการ ควบคุม และกากับดูแลการปฏิบัตหิ น้ าทีข่ องเจ้ าพนักงาน
และอาสาสมัครให้ เป็ นไปตามพระราชบัญญัตินี้
6.3 นายก อบจ. เป็ นรองผู้อานวยการจังหวัด (ม.18)
- มีหน้ าทีช่ ่ วยเหลือผู้อานวยการจังหวัดใน
การป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย และ
- ปฏิบัตหิ น้ าทีอ่ นื่ ตามทีผ่ ู้อานวยการจังหวัด
มอบหมาย
6.4 นายอาเภอ รวมปลัดอาเภอ ผู้เป็ นหัวหน้ าประจากิง่ อาเภอ
เป็ นผู้อานวยการอาเภอ (ม.4 ประกอบกับ ม.19)
- รับผิดชอบและปฏิบัติหน้ าที่ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตอาเภอ
ของตน และมีหน้ าทีช่ ่ วยเหลือผู้อานวยการจังหวัดตามทีไ่ ด้ รับมอบหมาย
- มีอานาจสั่ งการหน่ วยงานของรัฐและ อปท.ทีเ่ กีย่ วข้ องซึ่งอยู่ในเขตอาเภอ ให้
ดาเนินการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยตามแผนการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัยจังหวัด และ
- มีอานาจสั่ งการ ควบคุม และกากับดูแลการปฏิบัติหน้ าทีข่ องเจ้ าพนักงานและ
อาสาสมัครให้ เป็ นไปตามพ.ร.บ.นี้
6.5 ผูบ้ ริ หารท้องถิ่นของ อปท. แห่งพื้นที่
เป็ นผูอ้ านวยการท้องถิ่น (ม.4 ประกอบกับ ม.20)
- รับผิดชอบและมีหน้ าทีใ่ นการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขต อปท. แห่ ง
พืน้ ทีข่ องตน และมีหน้ าทีช่ ่ วยเหลือผู้อานวยการจังหวัดและผู้อานวยการอาเภอ
ตามที่ได้ รับมอบหมาย
- มีอานาจสั่ งการ ควบคุม และกากับดูแลการปฏิบัติหน้ าทีข่ องเจ้ าพนักงานและ
อาสาสมัครให้ เป็ นไปตามพ.ร.บ.นี้
ปลัด อปท. ของ อปท. แห่ งพืน้ ที่น้ัน เป็ นผู้ช่วยผู้อานวยการท้ องถิ่น
- รับผิดชอบและปฏิบัติหน้ าทีใ่ นการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ในเขตท้ องถิ่นของตนและมีหน้ าทีช่ ่ วยเหลือผู้อานวยการท้ องถิ่นตามที่
ได้ รับมอบหมาย
6.6 ผูว้ า่ กทม. เป็ นผูอ้ านวยการกรุ งเทพมหานคร (ม.32)
รับผิดชอบในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขต กทม.
และมีอานาจหน้ าทีด่ ังต่ อไปนี้
(1) จัดทาแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กทม. ซึ่งต้ องสอดคล้ อง
กับแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่ งชาติ
(2) กากับดูแลการฝึ กอบรมอาสาสมัครของกทม.
(3) จัดให้ มีวสั ดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ ยานพาหนะ และ สิ่ งอืน่ เพือ่ ใช้ ใน
การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยตามทีก่ าหนดในแผนการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัย กทม.
(4) ดาเนินการให้ การสงเคราะห์ เบือ้ งต้ นแก่ ผู้ประสบภัย หรือผู้ได้ รับภยันตรายหรือ
เสี ยหายจากสาธารณภัย รวมตลอดทั้งการรักษา ความสงบเรียบร้ อย และการ
ปฏิบตั ิการใด ๆ ในการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
(5) สนับสนุนและให้ ความช่ วยเหลือแก่ อปท. ซึ่งมีพนื้ ทีต่ ิดต่ อหรือใกล้ เคียงในการ
ป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
(6) ปฏิบตั หิ น้ าทีอ่ นื่ ตามทีผ่ ู้บญ
ั ชาการและผู้อานวยการกลางมอบหมายเพือ่
ประโยชน์ ในการปฏิบัตหิ น้ าทีต่ าม (๓) (๔) และ (๕) ให้ ผู้อานวยการ กทม.
- มีอานาจสั่ งการส่ วนราชการและหน่ วยงานของ กทม. รวมทั้งประสานกับ
หน่ วยงานของรัฐและอปท.ทีเ่ กีย่ วข้ องในการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย เพือ่ ให้
เป็ นไปตามแผนการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย กทม. และ
- มีอานาจสั่ งการ ควบคุม และกากับดูแลการปฏิบตั หิ น้ าทีข่ องเจ้ าพนักงานและ
อาสาสมัครของ กทม. ให้ เป็ นไปตาม พ.ร.บ. นี้
ปลัด กทม. เป็ นรองผู้อานวยการ กทม. (ม.35)
- มีหน้ าทีช่ ่ วยเหลือผู้อานวยการ กทม. ในการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัย และปฏิบัติหน้ าทีอ่ นื่ ตามทีผ่ ู้อานวยการกทม.มอบหมาย
- มีอานาจสั่ งการส่ วนราชการและหน่ วยงานของกทม. รวมทั้ง
ประสานกับหน่ วยงานของรัฐและ อปท. ที่เกีย่ วข้ องในการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัย เพือ่ ให้ เป็ นไปตามแผนการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัย กทม.
- มีอานาจสั่ งการ ควบคุม และกากับดูแลการปฏิบัติหน้ าทีข่ อง
เจ้ าพนักงานและอาสาสมัครของ กทม. ให้ เป็ นไปตาม พ.ร.บ. นี้
(ปลัดกทม.ในฐานะรองผู้อานวยการกรุงเทพมหานครจะมอบหมายความรับผิดชอบและ
อานาจหน้ าทีใ่ ห้ รองปลัดกทม. เป็ นผู้ช่วยปฏิบตั ดิ ้ วยก็ได้ )
ผู้อานวยการเขตในแต่ ละเขตของกรุงเทพมหานคร
ผู้ช่วยผู้อานวยการกทม.
เป็ น
- รับผิดชอบและปฏิบัติหน้ าทีใ่ นการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในเขตของตน
และมีหน้ าทีช่ ่ วยเหลือผู้อานวยการ กทม. ตามที่ได้ รับมอบหมาย
- มีอานาจสั่ งการส่ วนราชการและหน่ วยงานของ กทม.ทีอ่ ยู่ในเขตพืน้ ทีใ่ ห้ ช่วยเหลือ
หรือร่ วมมือในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยตามแผนการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัยกทม.
- มีอานาจสั่ งการ ควบคุม และกากับดูแลการปฏิบัติหน้ าทีข่ องเจ้ าพนักงานและ
อาสาสมัครของกทม.ให้ เป็ นไปตาม พ.ร.บ. นี
(ผู้อานวยการเขตในฐานะผู้ช่วยผู้อานวยการกทม.จะมอบหมายความรับผิดชอบ
และอานาจหน้ าที่ ให้ ผู้ช่วยผู้อานวยการเขตเป็ นผู้ช่วยปฏิบัติกไ็ ด้ )
6.7 เจ้ าพนักงาน (ม.39)
- ผู้อานวยการทุกระดับ มีอานาจแต่ งตั้งเจ้ าพนักงาน เพือ่
ปฏิบัตหิ น้ าทีใ่ นเขตรับผิดชอบของตน
6.8 อาสาสมัคร (ม.41)
ให้ ผู้อานวยการจัดให้ มีอาสาสมัครในพืน้ ทีท่ รี่ ับผิดชอบ เพือ่ ปฏิบัติหน้ าที่
(1) ช่ วยเหลือเจ้ าพนักงานในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
(2) ปฏิบัติหน้ าทีอ่ นื่ ตามทีผ่ ้อู านวยการมอบหมายและตามระเบียบ
ที่กระทรวงมหาดไทยกาหนด
6.9 องค์ การสาธารณกุศล หรือบุคคล (ม.42)
- ให้ ผู้อานวยการหรือเจ้ าพนักงานทีไ่ ด้ รับมอบหมายมีอานาจ
มอบหมายภารกิจหรือจัดสถานที่ให้ องค์ การสาธารณกุศลและบุคคล
ที่เข้ ามาช่ วยเหลือการปฏิบัตหิ น้ าที่ของเจ้ าพนักงานในระหว่ างเกิด
สาธารณภัย ในการให้ ความช่ วยเหลือได้ ตามที่เห็นสมควร
- ให้ ผู้อานวยการ แจ้ งให้ องค์ การสาธารณกุศลและบุคคลทีม่ ี
วัตถุประสงค์ ในการให้ ความช่ วยเหลือผู้ประสบภัยทีอ่ ยู่ในพืน้ ที่ที่
รับผิดชอบทราบถึงแนวทางการปฏิบัติตามแผนการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัยจังหวัด หรือแผนการป้ องกันและบรรเทาสาธารณ
ภัยกรุ งเทพมหานคร และวิธีการประสานงานในการปฏิบัติหน้ าที่
6.10 หน่ วยทหาร (ม. 46)
- การดาเนินการภายในเขตทหารหรือที่เกีย่ วกับกิจการ เจ้ าหน้ าที่ หรือทรั พย์สินใน
ราชการทหาร ตาม
มาตรา ๒๑ (การใช้อานาจหน้าที่ของ ผ.อ.ท้องถิ่น เมื่อเกิดหรื อคาดว่าจะเกิดสาธารณภัย)
มาตรา ๒๒ (การใช้อานาจหน้าที่ของ ผ.อ.อาเภอและ ผ.อ.จังหวัด เมื่อเกิดหรื อคาดว่าจะ
เกิดสาธารณภัย)
มาตรา ๒๕ (การใช้อานาจสั่งดัดแปลง ทาลาย หรื อเคลื่อนย้าย )
มาตรา ๒๘ (อานาจสั่งอพยพ) หรื อ
มาตรา ๒๙ (ประกาศห้ามมิให้บุคคลเข้าไปอยูอ่ าศัยหรื อดาเนินกิจการ )
ให้ เป็ นไปตามความตกลงเป็ นหนังสื อร่ วมกันระหว่ างผู้อานวยการจังหวัดหรือ
ผู้อานวยการกทม. และผู้บังคับบัญชาของทหารในเขตพืน้ ทีท่ เี่ กีย่ วข้ อง เว้ นแต่ เป็ นกรณี
การสั่ งการของนายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีตามมาตรา ๓๑
7. การป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ม.21-31)
7.1 กรณีเกิดหรือคาดว่ าจะเกิดสาธารณภัยในพืน้ ที่ใด (ม.21)
(1) ให้ ผ้ ูอานวยการท้ องถิน่ ของ อปท.แห่ งพืน้ ที่น้ัน มีอานาจหน้ าที่ ดังนี้
- สั่ งข้ าราชการพลเรือน พนักงานส่ วนท้ องถิ่น เจ้ าหน้ าทีข่ องหน่ วยงานของ
รัฐ เจ้ าพนักงาน อาสาสมัคร และบุคคลใด ๆ ในเขต อปท. แห่ งพืน้ ที่ที่เกิด
สาธารณภัย ให้ ปฏิบัติการอย่ างหนึ่งอย่ างใดตามความจาเป็ นในการป้องกัน
และบรรเทาสาธารณภัย
- ใช้ อาคาร สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ และยานพาหนะของ
หน่ วยงานของรัฐและเอกชนทีอ่ ยู่ในเขต อปท. แห่ งพืน้ ทีท่ ี่เกิดสาธารณภัย
- ใช้ เครื่องมือสื่ อสารของหน่ วยงานของรัฐหรือเอกชนทุกระบบทีอ่ ยู่ใน
เขต อปท. แห่ งพืน้ ที่ที่เกิดสาธารณภัยหรือท้ องที่เกีย่ วเนื่อง
- ขอความช่ วยเหลือจาก อปท.อืน่ ในการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
- สั่ งห้ ามเข้ าหรือให้ ออกจากพืน้ ที่ อาคารหรือสถานทีท่ กี่ าหนด
- จัดให้ มีการสงเคราะห์ ผ้ ูประสบภัยโดยทัว่ ถึงและรวดเร็ว
(2) ให้ ผ้ ูอานวยการอาเภอ และผู้อานวยการจังหวัด มีอานาจหน้ าที่
เช่ นเดียวกับผู้อานวยการท้ องถิน่ ให้ สั่งการได้ ในเขตอาเภอและในเขต
จังหวัดของตน แล้ วแต่ กรณี (ม.22วรรค1)
(3) กรณีจาเป็ นต้ องได้ รับความช่ วยเหลือจากเจ้ าหน้ าทีห่ รือ
หน่ วยงาน ของรัฐทีอ่ ยู่นอกเขต อปท.แห่ งพืน้ ทีต่ น (ม.22วรรคสอง)
- ให้ ผู้อานวยการท้ องถิ่นแจ้ งให้ ผ้อู านวยการอาเภอ หรือผู้อานวยการจังหวัด
แล้วแต่ กรณี เพือ่ สั่ งการโดยเร็ว
(4) กรณีจาเป็ นเพือ่ ประโยชน์ ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ม.22)
- ผู้อานวยการจังหวัดจะสั่ งการหน่ วยงานของรัฐ อปท. เจ้ าหน้ าที่ของรัฐ หรือ
บุคคลใด กระทาการหรืองดเว้ นกระทาการใดทีม่ ีผลกระทบต่ อการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัยนั้นก็ได้ แต่ ต้องไม่ เกิน 24 ชั่วโมง
- หากจาเป็ นต้ องให้ มีผลบังคับเกิน 24 ชั่วโมง ให้ เป็ นอานาจของผู้บัญชาการที่
จะสั่ งการได้ ตามความจาเป็ นแต่ ไม่ เกิน 7 วัน
(5) กรณีพนื้ ที่เกิดหรือจะเกิดสาธารณภัยอยู่ในพืน้ ที่ความรับผิดชอบของ
ผู้อานวยการท้ องถิน่ หลายคน (ม.22วรรคท้ าย)
- ให้ ผ้ ูอานวยการท้ องถิน่ คนหนึ่งคนใดปฏิบัติหน้ าที่ตาม ม.21 ไปพลาง
ก่ อน แล้ วแจ้ งให้ ผ้ ูอานวยการท้ องถิน่ อืน่ ทราบโดยเร็ว
(6) กรณีพนื้ ที่ติดต่ อหรือใกล้เคียงกับพืน้ ที่ที่เกิดสาธารณภัย (ม.23)
- ให้ ผ้ ูอานวยการในเขตพืน้ ที่ติดต่ อหรือใกล้เคียงมีหน้าที่สนับสนุนการ
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแก่ ผ้ ูอานวยการซึ่งรับผิดชอบในการ
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยที่เกิดขึน้ นั้น
7.2 การดาเนินการเมื่อเกิดสาธารณภัย
(1) เจ้ าพนักงาน
- เป็ นหน้ าทีข่ องเจ้ าพนักงานทีป่ ระสบเหตุต้องเข้ าดาเนินการเบือ้ งต้ นเพือ่ ระงับ
สาธารณภัยนั้น แล้วรีบรายงานให้ ผู้อานวยการท้ องถิ่นทีร่ ับผิดชอบในพืน้ ทีน่ ้ัน
เพือ่ สั่ งการต่ อไป และในกรณีจาเป็ นอันไม่ อาจหลีกเลีย่ งได้ ให้ เจ้ าพนักงานมี
อานาจดาเนินการใด ๆ เพือ่ คุ้มครองชีวติ หรือป้องกันภยันตรายทีจ่ ะเกิดแก่
บุคคลได้ (ม.24)
- กรณีเจ้ าพนักงานจาเป็ นต้ องเข้ าไปในอาคารหรือสถานทีท่ อี่ ยู่ใกล้เคียงกับ
พืน้ ที่ที่เกิดสาธารณภัย เพือ่ ทาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ให้ กระทาได้
เมื่อได้ รับอนุญาตจากเจ้ าของหรือผู้ครอบครองอาคารหรือสถานทีแ่ ล้ว เว้ นแต่
ไม่ มีเจ้ าของหรือผู้ครอบครองอยู่ในเวลานั้น หรือเมื่ออยู่ภายใต้ การควบคุมของ
ผู้อานวยการ (ม.26วรรคหนึ่ง)
- กรณีทรัพย์ สินทีอ่ ยู่ในอาคารหรือสถานทีท่ อี่ ยู่ใกล้ เคียงกับพืน้ ที่ที่
เกิดสาธารณภัย เป็ นสิ่ งที่ทาให้ เกิด สาธารณภัยได้ ง่าย ให้ เจ้ า
พนักงานมีอานาจสั่ งให้ เจ้ าของหรือผู้ครอบครองขนย้ ายทรัพย์ สิน
นั้นออกจากอาคารหรือสถานทีด่ งั กล่ าวได้ (ม.26วรรคสอง)
- กรณีที่เจ้ าของหรือผู้ครอบครองไม่ ปฏิบตั ติ ามคาสั่ งให้ เจ้ า
พนักงานมีอานาจขนย้ ายทรัพย์ สินนั้นได้ ตามความจาเป็ นแก่ การ
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย โดย เจ้ าพนักงานไม่ ต้อง
รับผิดชอบบรรดาความเสี ยหายอันเกิดจากการกระทาดังกล่ าว
(ม.26วรรคท้ าย)
(2) การสั่ งดัดแปลง ทาลาย (ม.25)
- ในกรณีที่เกิดสาธารณภัยและภยันตรายจากสาธารณภัย
นั้นใกล้ จะถึง ผู้อานวยการมีอานาจสั่ งให้ เจ้ าพนักงานดัดแปลง
ทาลาย หรือเคลือ่ นย้ ายสิ่ งก่ อสร้ าง วัสดุ หรือทรัพย์ สินของบุคคล
ใดทีเ่ ป็ นอุปสรรคแก่ การบาบัดปัดป้องภยันตรายเฉพาะเท่ าที่
จาเป็ น รวมถึงกรณีจาเป็ นต้ องดาเนินการเพือ่ ป้ องกันภัยต่ อ
ส่ วนรวมด้ วย (ม.25 วรรคหนึ่งและวรรคสอง)
- กรณีการดัดแปลง ทาลาย หรือเคลือ่ นย้ ายสิ่ งก่ อสร้ าง วัสดุ
หรือทรัพย์ สิน จะมีผลทาให้ เกิดสาธารณภัยขึน้ ในเขตพืน้ ที่อนื่
หรือก่ อให้ เกิดความเสี ยหายเพิม่ ขึน้ แก่ เขตพืน้ ที่อื่น ผู้อานวยการ
ท้ องถิน่ จะสั่ งได้ ต้องได้ รับความเห็นชอบจากผู้อานวยการจังหวัด
(ม.25 วรรคท้ าย)
(3) การสั่ งอพยพ (ม.28)
- ผู้บัญชาการ รองผู้บัญชาการ ผู้อานวยการ และเจ้ าพนักงาน
ซึ่งได้ รับมอบหมาย มีอานาจสั่ งอพยพผู้ซึ่งอยู่ในพืน้ ที่ที่เกิดหรือ
ใกล้ จะเกิดสาธารณภัย และการอยู่อาศัยนั้นจะก่ อให้ เกิด
ภยันตราย หรือกีดขวางการปฏิบัตหิ น้ าทีข่ องเจ้ าพนักงาน ทั้งนี้
เฉพาะเท่ าทีจ่ าเป็ นแก่ การป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
(4) การห้ ามเข้ าเขตพืน้ ที่ (ม.29)
- ผู้บัญชาการ รองผู้บัญชาการ ผู้อานวยการกลาง ผู้อานวยการ
จังหวัดผู้อานวยการอาเภอ และผู้อานวยการท้ องถิน่ โดยความ
เห็นชอบของผู้อานวยการอาเภอ จะประกาศห้ ามมิให้ บุคคลใด ๆ เข้ า
ไปอยู่อาศัยหรือดาเนินกิจการใดในพืน้ ทีท่ เี่ กิดหรือใกล้จะเกิดสาธารณ
ภัย และ การอยู่อาศัยหรือดาเนินกิจการใดนั้นจะเป็ นอันตรายอย่ าง
ร้ ายแรงก็ได้ โดยให้ กาหนดระยะการห้ ามและเขตพืน้ ที่ห้ามตามที่
จาเป็ น
(5) การบรรเทาสาธารณภัย (ม.27)
- ผู้อานวยการ และเจ้ าพนักงานซึ่งได้ รับมอบหมายจากผู้อานวยการ มี
อานาจหน้ าที่
(1) จัดให้ มีสถานทีช่ ั่วคราว ให้ ผู้ประสบภัยอยู่อาศัย หรือรับการปฐม
พยาบาล และการรักษาทรัพย์ สินของผู้ประสบภัย
(2) จัดระเบียบการจราจรชั่วคราวในพืน้ ที่ที่เกิดสาธารณภัยและพืน้ ที่
ใกล้ เคียง
(3) ปิ ดกั้นไม่ ให้ ผ้ ูไม่ มีส่วนเกีย่ วข้ องเข้ าไปในพืน้ ทีท่ เี่ กิดสาธารณภัยและ
พืน้ ที่ใกล้ เคียง
(4) จัดให้ มีการรักษาความสงบเรียบร้ อยและป้องกันเหตุโจรผู้ร้าย
(5) ช่ วยเหลือผู้ประสบภัย และช่ วยขนย้ ายทรัพย์ สินในพืน้ ทีท่ เี่ กิด
สาธารณภัยและพืน้ ทีใ่ กล้เคียง เมื่อเจ้ าของหรือผู้ครอบครองร้ องขอ
ในการดาเนินการข้ างต้ นผู้อานวยการ และเจ้ าพนักงานซึ่งได้ รับ
มอบหมายจากผู้อานวยการ
- จะจัดให้ มีเครื่องหมายหรืออาณัติสัญญาณเพือ่ ใช้ ในการกาหนด
สถานที่หรือดาเนินการดังกล่าวก็ได้
- อาจมอบให้ พนักงานฝ่ ายปกครองหรือตารวจในพืน้ ทีเ่ ป็ น
ผู้ดาเนินการหรือช่ วยดาเนินการตาม (2) (5) ก็ได้
- อาจมอบหมายให้ องค์ การสาธารณกุศลเป็ นผู้ดาเนินการหรือช่ วย
ดาเนินการตาม (5) ก็ได้
7.3 การดาเนินการหลังเกิดสาธารณภัย (ม.30)
ให้ ผู้อานวยการในเขตพืน้ ทีท่ รี่ ับผิดชอบ ดาเนินการ
- สารวจความเสี ยหายจากสาธารณภัยที่เกิดขึน้
- จัดทาบัญชีรายชื่อผู้ประสบภัยและทรัพย์ สินทีเ่ สี ยหายไว้ เป็ นหลักฐาน
- ออกหนังสื อรับรองให้ ผู้ประสบภัยหรือเจ้ าของหรือผู้ครอบครอง
ทรัพย์ สินทีร่ ้ องขอหลักฐานเพือ่ รับการสงเคราะห์ หรือบริการอืน่ ใด
( ต้ องมีรายละเอียดเกีย่ วกับการสงเคราะห์ และการฟื้ นฟูที่ผ้ ปู ระสบภัยมีสิทธิได้ รับจาก
ทางราชการ หน่ วยงานทีเ่ ป็ นผู้ให้ การสงเคราะห์ หรือฟื้ นฟู และสถานทีต่ ิดต่ อของ
หน่ วยงานนั้นไว้ ด้วย ทั้งนีต้ ามตามแบบทีอ่ ธิบดีกาหนดและระเบียบที่มท. กาหนด)
- เอกสารราชการของผู้ประสบภัยทีส่ ู ญหายหรือเสี ยหายเนื่องจากสา
ธารณภัยทีเ่ กิดขึน้ เมื่อผู้ประสบภัยร้ องขอต่ อ อปท. แห่ งพืน้ ที่ที่เกิดสา
ธารณภัย หรือทีเ่ ป็ นภูมิลาเนาของผู้ประสบภัย ให้ เป็ นหน้ าทีข่ อง อปท.
แห่ งพืน้ ทีน่ ้ัน แจ้ งให้ หน่ วยงานของรัฐและ อปท. ที่เกีย่ วข้ องทราบ และ
ให้ หน่ วยงานของรัฐและ อปท. ที่เกีย่ วข้ อง ออกเอกสารทางราชการ
ดังกล่าวให้ ใหม่ ตามหลักฐานทีอ่ ยู่ในความครอบครองของตน ส่ งมอบ
ให้ แก่ผู้ประสบภัยหรือส่ งมอบผ่ านทาง อปท. แห่ งพืน้ ทีท่ ี่เป็ นผู้แจ้ ง โดย
ผู้ประสบภัยไม่ ต้องเสี ยค่ าธรรมเนียมหรือค่ าบริการ แม้ ว่าตามกฎหมายที่
เกีย่ วกับการออกเอกสารราชการดังกล่าวจะกาหนดให้ ต้องเสี ย
ค่ าธรรมเนียมหรือค่ าบริการก็ตาม
8. การเป็ นเจ้ าพนักงานตามประมวลกฎหมาย
อาญา (ม.43)
- ให้ ผ้ ูบัญชาการ รองผู้บัญชาการ ผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ
ผู้ช่วยผู้อานวยการ และเจ้ าพนักงานซึ่งปฏิบัตกิ ารตามหน้ าที่ใน
การป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยตาม พ.ร.บ.นี้ เป็ นเจ้ า
พนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งหากได้ ดาเนินการไป
ตามอานาจหน้ าที่ และกระทาไปพอสมควรแก่ เหตุและมิได้
ประมาทเลินเล่ ออย่ างร้ ายแรงให้ ผู้กระทาการนั้น พ้นจากความผิด
และความรับผิดทั้งปวง
9. เครื่องแบบ เครื่องหมาย และบัตรประจาตัว
(ม.45)
- ให้ มีเครื่องแบบ เครื่องหมาย และบัตรประจาตัว สาหรับเจ้ า
พนักงานและอาสาสมัครเพือ่ แสดงตัวขณะปฏิบัตหิ น้ าที่ในการ
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
- เครื่องแบบ เครื่องหมาย และบัตรประจาตัวตามวรรคหนึ่ง ให้
เป็ นไปตามแบบทีม่ ท.กาหนด
- ในกรณีที่ผู้บัญชาการ รองผู้บัญชาการ ผู้อานวยการ หรือผู้ช่วย
ผู้อานวยการประสงค์ จะแต่ งเครื่องแบบ ก็ให้ กระทาได้ ตามแบบ
ที่ มท.กาหนด
10. บทกาหนดโทษ (ม.49-55)
- ผู้ใดไม่ ปฏิบัตติ ามคาสั่งหรือขัดขวางการปฏิบัตหิ น้ าทีข่ องผู้อานวยการ
ตามมาตรา 21 ต้ องระวางโทษจาคุกไม่ เกินสามเดือน หรือปรับไม่ เกิน
หกพันบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ (ม.49)
- ผู้ใดขัดขวางการดาเนินการของเจ้ าพนักงานตามมาตรา 24 หรือการ
ปฏิบัตติ ามคาสั่ งของผู้อานวยการตามมาตรา 25 หรือขัดขวางการปฏิบัติ
หน้ าที่ของเจ้ าพนักงาน ตามมาตรา 26 วรรคสาม ต้ องระวางโทษจาคุก
ไม่ เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่ เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ (ม. 50)
- ผู้ใดเข้ าไปในพืน้ ทีท่ ี่ปิดกั้นตามมาตรา 27 (3) โดยไม่ มีอานาจหน้ าทีต่ าม
กฎหมายหรือตามคาสั่ งของผู้อานวยการ ต้ องระวางโทษจาคุกไม่ เกินสาม
เดือน หรือปรับไม่ เกินหกพันบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
ในกรณีทผี่ ู้กระทาความผิดเป็ นเจ้ าของหรือผู้ครอบครองอาคารหรือสถานที่
ทีอ่ ยู่ในพืน้ ทีท่ ปี่ ิ ดกั้นตามมาตรา 27 (3) ผู้อานวยการ หรือ เจ้ าพนักงานซึ่ง
ได้ รับมอบหมายจากผู้อานวยการ จะเรียกบุคคลดังกล่าวมาตักเตือนแทนการ
ดาเนินคดีกไ็ ด้ (ม. 51)
- ผู้ใดฝ่ าฝื นหรือไม่ ปฏิบตั ิตามคาสั่ งอพยพบุคคลออกจากพืน้ ที่ ตามมาตรา
28 ถ้ าคาสั่ งอพยพนั้นเพือ่ เป็ นการป้องกันการ กีดขวางการปฏิบัติหน้ าทีใ่ น
การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย หรือฝ่ าฝื นคาสั่ งตามมาตรา 29 ต้ อง
ระวางโทษจาคุกไม่ เกิน หนึ่งเดือนหรือปรับไม่ เกินสองพันบาท หรือทั้งจาทั้ง
ปรับ (ม. 52)
- ในขณะเกิดสาธารณภัย ผู้ใดแต่ งเครื่องแบบหรือประดับเครื่องหมาย
ของอาสาสมัครหรือขององค์ การสาธารณกุศล และเข้ าไปในพืน้ ทีท่ ี่เกิด
สาธารณภัยโดยมิได้ เป็ นอาสาสมัครหรือสมาชิกองค์ การสาธารณกุศล
ดังกล่ าว เพือ่ ให้ บุคคลอืน่ เชื่อว่ าตนเป็ นบุคคลดังกล่าว ต้ องระวางโทษ
จาคุกไม่ เกิน สามเดือน หรือปรับไม่ เกินหกพันบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
(ม. 53)
- ผู้ใดเรี่ยไรหรือหาประโยชน์ อนื่ ใดสาหรับตนเองหรือผู้อนื่ โดยมิชอบ
โดยแสดงตนว่ าเป็ นอาสาสมัคร เจ้ าพนักงานหรือผู้ดารงตาแหน่ งอืน่ ใด
ในหน่ วยงานที่เกีย่ วกับ การป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย หรื อใช้ ชื่อ
ของหน่ วยงานที่เกีย่ วกับการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยในการ
ดาเนินการดังกล่ าวต้ องระวางโทษจาคุกไม่ เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่ เกิน
สองหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ (ม. 54)
- ผู้ใดฝ่ าฝื นมาตรา 48 ต้ องระวางโทษจาคุกไม่ เกินหกเดือน หรือปรับไม่
เกินสองพันบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ (55)
11. ให้ กฏหมายลาดับรองยังใช้ บังคับได้
- บรรดากฎกระทรวง ระเบียบ ข้ อบังคับ ประกาศ หรือคาสั่ งที่ออก
ตามพระราชบัญญัติป้องกันภัยฝ่ ายพลเรือน พ.ศ. ๒๕๒๒ และ
พระราชบัญญัติป้องกันและระงับอัคคีภยั พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งใช้
บังคับอยู่ในวันทีพ่ ระราชบัญญัตนิ ีใ้ ช้ บังคับ ให้ ยงั ใช้ บังคับได้
ต่ อไป เท่ าที่ไม่ ขดั หรือแย้ ง กับบทบัญญัติแห่ ง พ.ร.บ.นี้
กลุ่มงานกฎหมาย
สานักมาตรการป้องกันสาธารณภัย
กันยายน 2550