ซอฟต์แวร์ ERP

Download Report

Transcript ซอฟต์แวร์ ERP

291320
Business Information System
บทที่ 8
ระบบการวางแผนทรัพยากรองค์ กร
(Enterprise Resource Planning)
อ.ธารารัตน์ พวงสุวรรณ
[email protected]
แนวคิดของระบบการวางแผนทรัพยากรองค์ กร
(Enterprise Resource Planning : ERP)
• การนาระบบสารสนเทศต่าง ๆ มาใช้ในองค์กรนั้น อาจนาระบบมาใช้ใน
เวลาที่แตกต่างกันหรื อนาแต่ละระบบมาใช้ในแต่ละส่ วนงานขององค์กร
• หากไม่มีการวางแผนการเชื่อมโยงระบบเหล่านี้เข้าด้วยกันแล้ว เมื่อมี
ความต้องการเรี ยกดูขอ้ มูลและติดตามผลการดาเนินงานในภาพรวมจาก
ระบบต่าง ๆ อาจทาได้ยากและได้ขอ้ มูลล่าช้า
• องค์กรจึงมองหาแนวทางในการเชื่อมโยงระบบงานสาคัญเหล่านี้เข้า
ด้วยกันเพื่อช่วยให้ผบู ้ ริ หารเข้าถึงข้อมูลและรับรู ้สภาพหรื อสถานการณ์
ของงานต่าง ๆได้ทนั ที ทาให้สามารถตัดสิ นใจได้อย่างรวดเร็ ว
ความหมายของการวางแผนทรัพยากรองค์ กร
(Enterprise Resource Planning : ERP)
• ระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กรหรื อที่เรี ยกย่อ ๆ ว่า ERP ซึ่งย่อมา
จาก Enterprise Resource Planning
• เป็ นระบบสารสนเทศที่บูรณาการงานหลักต่าง ๆ ขององค์กร
• โดยเชื่อมโยงกันแบบเรี ยลไทม์ (Real Time) เพื่อตอบสนองความ
ต้องการข้อมูลหรื อสารสนเทศโดยภาพรวมและการตัดสิ นใจอย่างมี
ประสิ ทธิภาพและทันท่วงที
ความเป็ นมาของ ERP
• ระบบ ERP เดิมในวงการอุตสาหกรรม ประมาณช่วงทศวรรษ 1960 ได้
มีการนาเอาระบบคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยในการผลิตด้านการคานวณ
ความต้องการของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต หรื อที่เรี ยกเป็ นทางการว่า
ระบบ Material Requirement Planning (MRP)
• จะใช้ระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการบริ หารและจัดการในส่ วนของ
วัตถุดิบหรื อ Material ที่ใช้ในการผลิตเท่านั้น
ความเป็ นมาของ ERP
• ต่อมาในช่วงประมาณทศวรรษ 1970 ระบบการผลิตในอุตสาหกรรมมี
ความซับซ้อนเพิ่มมากขึ้น
• จึ งมี การนาเอาระบบคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่ วยในส่ วนของการผลิตด้าน
เครื่ องจักร (Machine) และส่ วนของเรื่ องการเงิน (Money)
• ซึ่ งเราจะเรี ยกระบบงานเช่นนี้ ว่า Manufacturing Resource Planning
(MRP II)
ความเป็ นมาของ ERP
• แต่การนาเอาระบบ MRP II เข้ามาช่วยในองค์กรนั้น ยังไม่สามารถที่จะ
Support การทางานทั้งหมดในองค์กรได้
• จึงได้รวมการจัดการทางด้านทรัพยากรบุคคลเข้ามาในระบบด้วย
• ซึ่งก็คือรวมเอาส่ วนของ Manpower เข้าไปไว้ในส่ วนของระบบงาน จึง
เป็ นที่ระบบที่เรี ยกตัวเองว่า ERP
• ระบบ ERP จึงเป็ นระบบที่ใช้ในการบริ หารงานทรัพยากรทั้งหมดใน
องค์กร(Enterprise Wide)
• หรื อกล่าวอีกอย่างหนึ่งก็คือ ระบบ ERP จะเป็ นระบบที่ใช้ ในการจัดการ
4 M ซึ่งจะประกอบไปด้ วย Material, Machine, Money และ
Manpower
สภาพของระบบสารสนเทศ
ก่ อนการนาระบบ ERP มาใช้ ในองค์ กร
ขาดความสามารถด้าน
Globalization
ระบบสารสนเทศ
ไม่ยดื หยุน่
ไม่สามารถตอบสนอง
ได้อย่างรวดเร็ ว
ขาดการประสาน
รวมกันของระบบงาน
สภาพระบบ
สารสนเทศในองค์กร
องค์ กรขาดความสามารถ
ในการแข่ งขัน
ข้อมูลซ้ าซ้อนและขาด
ความเป็ นอันหนึ่งอัน
เดียวกัน
จุดเด่ นของ ERP
1. การบูรณาการระบบงานต่ างๆ ของระบบ ERP
2. รวมระบบงานแบบ real time ของระบบ ERP
3. ระบบ ERP มีฐานข้ อมูล(database) แบบสมุดลงบัญชี
– มีจุดเด่น คือ คุณสมบัติของการเป็ น 1 Fact 1 Place
– ต่างจากระบบแบบเดิมที่มีลกั ษณะ 1 Fact Several Places
จุดเด่ นของ ERP
ระบบ ERP มีฐานข้ อมูล(database) แบบสมุดลงบัญชี
กระบวนการทางธุรกิจทีส่ นับสนุนโดยระบบ ERP
• ระบบ ERP ช่วยในการจัดการกระบวนการทางธุรกิจ (Business Process)
ทั้งหมดในองค์กร
•ไม่ว่าจะเป็ นกระบวนการผลิตสิ นค้า กระบวนการฝ่ ายการเงิ นและการ
บัญชี กระบวนการขายและการตลาด กระบวนการฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์
และอื่น ๆ
• เพื่อให้กระบวนการทางานภายในองค์กรเป็ นไปโดยอัตโนมัติ รวดเร็ ว
ไม่ซ้ าซ้อน และสามารถช่วยลดต้นทุนทั้งระบบได้
กระบวนการทางธุรกิจทีส่ นับสนุนโดยระบบ ERP
ภายในระบบ ERP ประกอบด้วยระบบงาน (Application) ต่าง ๆ หลาย
ระบบเพือ่ รองรับงานในแต่ละส่ วนงานหรื อแผนกในองค์กร
ประโยชน์ ของระบบ ERP
1. กระบวนการบริหาร
2. เทคโนโลยีพนื้ ฐาน
3. กระบวนการทางานทีร่ วดเร็ว
ความท้ าทายของระบบ ERP
• การนาเอาระบบ ERP ต้องใช้เวลาและเงินทุนสูงมาก เพื่อให้เข้ากับ
รู ปแบบการทางานขององค์กร
• รวมถึงต้องใช้ความพยายามในการเปลี่ยนแปลงกระบวนการดาเนิน
ธุรกิจและเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมการทางานภายในองค์กร
• ดังนั้น ความท้าทายที่อาจเกิดขึ้นจากระบบ ERP มีดงั นี้
ความท้ าทายของระบบ ERP
1. การเปลี่ยนแปลงกระบวนการดาเนินธุรกิจและวัฒนธรรมการทางาน
ภายในองค์ กร
2. การบริหารโครงการระบบสารสนเทศขนาดใหญ่ และค่ าใช้ จ่ายในตอน
เริ่มต้ นทีส่ ู ง
3. ความไม่ ยดื หยุ่นในการปรับซอฟต์ แวร์
ขั้นตอนการนาระบบ ERP มาใช้ ในองค์ กร
1. การศึกษาและวางแนวคิด
• ต้องทาการศึกษาถึงสภาพปั จจุบนั ขององค์กรว่ามีความจาเป็ นต้องนา ERP มาใช้
หรื อไม่ อย่างไร
• ต้องมีการศึกษาและทาความเข้าใจถึงรู ปแบบทางธุ รกิจ (Business Scenario),
กระบวนการทางธุรกิจ (Business Process) ปั ญหาขององค์กรและสภาพแวดล้อม
ภายนอกที่มีอยูใ่ นปั จจุบนั
• และจากสภาพปั จจุบนั นี้ตอ้ งพิจารณาถึงในอนาคตว่าต้องการให้องค์กรมีสภาพ
เป็ นอย่างไร
ขั้นตอนการนาระบบ ERP มาใช้ ในองค์ กร
2. การวางแผนนาระบบมาใช้
• เมื่อผูบ้ ริ หารอนุมตั ิให้มีการนาเอาระบบ ERP มาใช้ในองค์กร ควรมี
การจัด ตั้ง คณะกรรมการในการก ากับ ดู แ ลให้ก ารคัด เลื อ กระบบ ERP
เป็ นไปในทิศทางที่ตอ้ งการและเกิดประโยชน์สูงสุ ดต่อองค์กร
• คณะกรรมการและคณะทางานจะดาเนิ นการเกี่ยวกับการกาหนดลาดับ
ขั้นตอนของกระบวนการทางธุ รกิ จใหม่ กาหนดวัตถุประสงค์ เป้ าหมาย
และขอบข่ายในการนา ERP มาใช้ รวมถึงวิธีการของการนาระบบมาใช้
ขั้นตอนการนาระบบ ERP มาใช้ ในองค์ กร
3. การพัฒนาระบบ
• เป็ นขั้นตอนที่ลงในรายละเอียดของการพัฒนาระบบที่เหมาะสมกับองค์กร
• ประกอบไปด้วยการจัดทาแผนโครงการพัฒนาโดยละเอียด กาหนดงานที่จะต้องทา
พร้อมทั้งระบุเวลาและเป้ าหมายที่จะได้รับ
• สารวจระบบงานปั จจุ บ ันว่าจะต้อ งปรั บปรุ ง ลดขั้นตอน หรื อ เปลี่ ย นแปลงงาน
อย่ า งไร สรุ ป ความต้อ งการจากส่ ว นงานต่ า ง ๆ ขององค์ ก รว่ า มี ค วามต้อ งการ
ซอฟต์แวร์ที่มีความสามารถอะไรบ้าง
• แล้ว ก าหนดรู ป แบบทางธุ ร กิ จ และกระบวนการทางธุ ร กิ จ ที่ น่ า จะเป็ นและน า
กระบวนการนี้ มาเปรี ยบเทียบกับกระบวนการทางธุ รกิจที่ มีให้เลือกจากซอฟต์แวร์
ERP
ขั้นตอนการนาระบบ ERP มาใช้ ในองค์ กร
4. การใช้ งานและปรับเพิม่ ความสามารถ
• การใช้ระบบ ERP จาเป็ นต้องมีการฝึ กอบรมและให้การสนับสนุ น
บุคลากรในการใช้ระบบ
• เพื่ อ ให้ บุ ค ลากรมี ค วามรู ้ ค วามเข้า ใจขั้น ตอนการท างานและช่ ว ยให้
สามารถใช้ระบบได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
• หลังจากมีการติดตั้งและใช้ระบบแล้วจะต้องมีการประเมินผลจากการนา
ระบบ ERP มาใช้เป็ นระยะ และนาผลการประเมินนั้นมาปรับปรุ งระบบ
ต่อไป
ซอฟต์ แวร์ ERP
• คือ ซอฟท์แวร์ ที่เข้าไปช่วยบริ หารทรัพยากรทั้งองค์กรรวมทั้งระบบ
บัญชี (Accounting) การเงิน(Financial) การจัดส่ ง (Logistic) จัดซื้อ
(Purchasing) การขาย (Sales Processing) การผลิต(Manufacturing)
บุคคล (Payroll) และ ทรัพยากรมนุษย์ (Human Resources)
ERP Package
• เป็ น Application Software Package ซึ่งผลิตและจาหน่ายโดยบริ ษทั
ผูจ้ าหน่าย โดยรวมระบบงานทุกอย่างไว้ในฐานข้อมูลเดียวกัน
จุดเด่ นของ ERP Package
1. เป็ น Application Software ที่รวบรวมงานหลักอันเป็ นพื้นฐานของ
การสร้างระบบ ERP ขององค์กร
2. สามารถเสนอ Business scenario และ Business Process ซึ่งถูก
สร้างเป็ น Pattern ไว้ได้
3. สามารถจัดทาและเสนอรู ปแบบ Business Process ที่เป็ นมาตรฐาน
สาหรับองค์กรได้
20
Function ของ ERP Package
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ระบบบัญชี
- บัญชีการเงิน
- บัญชีการบริ การ
ระบบการผลิต
- ควบคุมการผลิต
- ควบคุมการคงคลัง
- การออกแบบ
- การจัดซื้ อ
- ควบคุมโครงการ
ระบบริหารการขาย
Logistics
ระบบบารุ งรักษา
ระบบบริหารบุคคล
21
ชนิดของ ERP Package
1. ERP ทีใ่ ช้ กบั ธุรกิจหรือเฉพาะทางธุรกิจ
• เช่น ERP package สาหรับอุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมกระดาษ
อุตสาหกรรมยา เป็ นต้น
22
ชนิดของ ERP Package
2. ERP สาหรับธุรกิจขนาดใหญ่ หรือสาหรับ SMEs
• คือ ERP package ที่ออกแบบโดยเน้นสาหรับการใช้งานในธุรกิจขนาด
กลางและขนาดย่อมโดยเฉพาะ
• ระบบและเนื้อหาของระบบงานหลักต่างๆจะไม่แตกต่างกันมาก เพียงแต่
ในธุรกิจขนาดใหญ่จะมีปริ มาณของเนื้องานมากขึ้น
23
ชนิดของ ERP Package
2. ERP สาหรับธุรกิจขนาดใหญ่ หรือสาหรับ SMEs เช่ น
-
Oracle Application/Oracle
People Soft
SAP
CONTROL
IFS Application
MFG/PRO
J.D. Edwards
Formular ERP
24
ตัวอย่ าง ERP Package
• SAP
ตัวอย่างหน้าจอ SAP Material Management
ตัวอย่ าง ERP Package
• PeopleSoft
ตัวอย่ าง ERP Package
• J.D. Edwards
ตัวอย่างหน้าจอ JD Edwards EnterpriseOne Version 9.0.
โครงสร้ างของซอฟต์ แวร์ ERP
1. ซอฟต์ แวร์ โมดูล (Business Application Software Module)
2. ฐานข้ อมูลรวม (Integrated Database)
- ต้ องมี DBMS ช่วยอานวยความสะดวกให้แก่ซอฟต์แวร์ โมดูลในการ
ใช้งานข้อมูล
3. ระบบสนับสนุนการบริหารจัดการ (System Administration Utility)
4. ระบบสนับสนุนการพัฒนาและการปรั บเปลี่ยน (Development and
Customization Utility)
ปัจจัยในการพิจารณาตัดสิ นใจเลือกซอฟต์ แวร์ ERP
1. การพิจารณาว่ าจะใช้ ซอฟต์ แวร์ สาเร็จรูปหรือไม่
• องค์ก รจ านวนมากที่ เ ลื อ กใช้ซ อฟต์แ วร์ ส าเร็ จ รู ป เพราะการพั ฒ นา
ซอฟต์แวร์ข้ ึนมาเองนั้นจะมีค่าใช้จ่ายในการพัฒนาและบารุ งรักษาสูง
• ควบคุมงบประมาณค่อนข้างยาก ใช้เวลานาน
• บุคลากรด้านสารสนเทศขององค์กรเองที่รับผิดชอบในการพัฒนาระบบ
มักขาดมุมมองด้านธุรกิจและประสบการณ์
• รวมทั้งมีความเชี่ ยวชาญน้อยกว่าบุคลากรของบริ ษทั ผูผ้ ลิตซอฟต์แวร์
ซึ่งมีการพัฒนาซอฟต์แวร์อยูต่ ลอดเวลาทาให้เป็ นมืออาชีพมากกว่า
ปัจจัยในการพิจารณาตัดสิ นใจเลือกซอฟต์ แวร์ ERP
2. ฟังก์ ชันของ ERP สอดคล้ องกับวัตถุประสงค์ และความต้ องการในการ
นามาใช้ งานขององค์ กร
• หากพิจารณาไม่รอบคอบพอเมื่อซื้ อหรื อนาซอฟต์แวร์ มาใช้แล้วพบว่า
ความสามารถของซอฟต์แวร์ไม่ตรงกับความเข้าใจในบางประเด็น
• หรื อมี ข ้อ จ ากั ด บางอย่ า งซึ่ งอาจท าให้ เ กิ ด ความยุ่ ง ยากกั บ ผู ้ข าย
โดยเฉพาะในกรณี ที่มีการชาระเงินหมดหรื อเกือบหมดแล้ว
ปัจจัยในการพิจารณาตัดสิ นใจเลือกซอฟต์ แวร์ ERP
3. ความยืดหยุ่นในการปรับแก้ซอฟต์ แวร์ (Customization)
• ระบบ ERP
จะต้อ งมี ค วามยื ด หยุ่ น และสามารถปรั บ แต่ ง
(Customization) ได้เพื่อให้ตรงกับความต้องการขององค์กร
• หรื อเมื่ อความต้องการขององค์กรเปลี่ ยนไปตามสภาพแวดล้อมทาง
ธุรกิจ
• อย่างไรก็ตามการปรั บซอฟต์แวร์ ที่มากเกิ นไปจะทาให้มีค่าใช้จ่ายสู ง
และใช้เวลาเพิ่มขึ้นจนอาจทาให้ได้รับประโยชน์จากข้อได้เปรี ยบจาก
วิธีการปฏิบตั ิที่ดีที่สุด (Best Practice) ของ ERP ลดน้อยลงไป
ปัจจัยในการพิจารณาตัดสิ นใจเลือกซอฟต์ แวร์ ERP
4. ต้ นทุนในการเป็ นเจ้ าของระบบ ERP (Cost of Ownership)
• องค์ก รควรคานึ งถึ ง ความเหมาะสมและเปรี ย บเที ย บผลประโยชน์ ที่
ได้รับกับต้นทุนทั้งหมดทั้งที่เป็ นต้นทุนในระยะสั้น และระยะยาว
• โดยต้นทุนจะประกอบด้วยต้นทุนของซอฟต์แวร์ ฮาร์ ดแวร์ ต้น ทุนการ
นาระบบไปปฏิบตั ิ ต้นทุนการบารุ งรั กษาซอฟต์แวร์ ค่าใช้จ่ายและ
เวลาที่ใช้ไปในการอบรมและพัฒนาบุคลากร ค่าที่ปรึ กษา
• รวมถึงค่าใช้จ่ายในการย้ายและแปลงข้อมูลจากระบบเก่ าไปสู่ ระบบ
ERP
ปัจจัยในการพิจารณาตัดสิ นใจเลือกซอฟต์ แวร์ ERP
5. การบารุงรักษาระบบ
• เมื่อการพัฒนาระบบ ERP เสร็ จสิ้ นและเริ่ มมีการใช้งานจริ ง จะต้องมี
การบารุ งรักษาระบบอย่างต่อเนื่อง
• ผูบ้ ริ หารควรจะต้องสร้างบุคลากรเพื่อทาหน้าที่ในการดูแ ลบารุ งรักษา
ระบบให้สามารถทางานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
• กรณี บุ ค ลากรขององค์ก รไม่ ส ามารถบ ารุ ง รั ก ษาระบบได้เ อง และ
จาเป็ นต้องให้บุคคลหรื อหน่วยงานภายนอกดาเนินการ
• ควรพิจารณาปัจจัยด้านประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญ
ปัจจัยในการพิจารณาตัดสิ นใจเลือกซอฟต์ แวร์ ERP
6. รองรับการทางานหรือเทคโนโลยีในอนาคต
• กระแสของธุ รกิ จอิ เล็กทรอนิ กส์ (E-Business) ประกอบกับความ
ต้องการในการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับลูกค้าหรื อคู่คา้ มากขึ้น
• จึ ง ควรพิจารณาซอฟต์แวร์ ที่มีก ารเตรี ย มการสาหรั บการเชื่ อ มต่ อกับ
ระบบภายนอกได้ง่าย
ปัจจัยในการพิจารณาตัดสิ นใจเลือกซอฟต์ แวร์ ERP
7. ความสามารถของผู้ขาย (Vendor) ซอฟต์ แวร์
• องค์กรจะต้องประเมินความสามารถ และศักยภาพของผูข้ าย
• โดยครอบคลุมด้านบริ การหลังการขาย สถานะการเงินและความเชื่อถื อ
ได้ของผลงาน
• ผูข้ ายหรื อตัวแทนขายจะต้องได้รับสิ ทธิ ในการแก้ไขซอฟต์แวร์ และมี
ซอสโค้ด (Source Code) ด้วย
• เพราะหากไม่ได้รับสิ ทธิน้ ีการขอปรับแต่งซอฟต์แวร์อาจเป็ นเรื่ องยุง่ ยาก
จนเกิดเป็ นประเด็นข้อพิพาทกับผูข้ ายได้
คาถามท้ ายบท
• ระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กร คืออะไร และมีความสาคัญอย่างไร
กับองค์กรธุรกิจ
• ERP แตกต่างจาก MRP อย่างไร
• จุดเด่นของระบบ ERP มีอะไรบ้าง
• ERP Package คืออะไร