สไลด์การปฏิรูปและศูนย์ประสานงาน

Download Report

Transcript สไลด์การปฏิรูปและศูนย์ประสานงาน

ศูนย์ ประสานการพัฒนาจังหวัด
กับภารกิจการปฏิรูปภาคประชาชน*
ประเด็นหารือที่ประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร
TD Forum ภูมิภาค
ปฏิสัมพันธ์ ของพลังในสังคม กับการเปลี่ยนผ่ านประเทศ
พลเมืองผู้ต่ นื รู้
(active citizen)
2,000,000
เครื อข่ ายเวทีปฏิรูปภาค
ประชาสังคม
(change agent)
20,000
ครม.
36
220
คสช.
15
สปช.
กมธ.36
250
สนช.
ประชาชนทั่วไปที่รับรู้
ข้ อมูลข่ าวสาร
20,000,000
ร่ างรั ฐธรรมนูญ
ร่ างกฎหมายอื่น
เวทีรับฟั งความเห็น
ประชาชน
สปช.จว.
77 จังหวัด
เวที
กลุ่มเป้าหมาย
เฉพาะ
กรอบประเด็นการปฏิรูปตามรธน.(ชั่วคราว)2557
สภาปฏิรูปแห่ งชาติ(ม.27)
1. การเมือง
2. การบริหารราชการแผ่ นดิน
3. กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม
4. การปกครองท้ องถิ่น
5. การศึกษา
6. เศรษฐกิจ
7. พลังงาน
8. สาธารณสุขและสิ่งแวดล้ อม
9. สื่อสารมวลชน
10. สังคม
11. อื่นๆ
กรรมาธิการร่ างรัฐธรรมนูญ (ม.35)
1. ราชอาณาจักรหนึ่งเดียว
2. ประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์
3. กลไกป้องกันตรวจสอบทุจริต
4. ป้องกันคนไม่ ดีเข้ าดารงตาแหน่ ง
5. ผู้ดารงตาแหน่ งเป็ นอิสระ ไม่ ถูกครอบงา
6. นิตธิ รรม คุณธรรมจริยธรรม
ธรรมาภิบาล
7. โครงสร้ างเศรษฐกิจสังคมที่เป็ นธรรม
8. การใช้ จ่ายเงินภาครัฐคุ้มค่ า
9. ป้องกันการทาลายรัฐธรรมนูญ
10. กลไกผลักดันการปฏิรูปให้ สมบูรณ์
กรอบเวลาร่ างรัฐธรรมนูญใหม่
•
•
•
•
•
19 ธันวาคม 2557 - สปช.ให้ ความเห็นเสนอแนะแก่ กมธ.
17 เมษายน 2557 - กมธ.ยกร่ างรธน.(1)
26 เมษายน 2558 - สปช.ให้ ความเห็นเสนอแนะต่ อร่ าง(1)
28 กรกฎาคม 2558 - กมธ.ปรับปรุ งแก้ ไขเสร็จเป็ นร่ าง(2)
6 สิงหาคม 2558 - สปช.พิจารณาร่ างรธน.ทัง้ ฉบับ
เห็นชอบ/ไม่ เห็นชอบ
• 4 กันยายน 2558 - ทูลเกล้ าฯรธน.ใหม่
กระบวนการทางานของสปช.และกมธ.ประเด็นอืน่ ๆ
กมธ.รายประเด็น
(18คณะ)
ถกเถียงจนตกผลึก
การปฏิรูปฯ
มีฉันทมติ ในร่ างกม./
แผนแม่ บทปฏิรูปฯ
ลงมติรับรอง
นาเข้ าสู่การพิจารณา
ของสปช.250
ผลผลิตสุดท้ าย
คณะกรรมาธิการสปช.(๑๘+๕)
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
การเมือง
ระบบราชการ
กฎหมาย/ยุตธิ รรม
ปกครองท้ องถิ่น
การศึกษา
เศรษฐกิจ
เกษตร อุตสาหกรรม พาณิชย์
พลังงาน
สาธารณสุข
ทรัพยากร
สื่อ/ไอที
สังคม
แรงงาน
•
•
•
•
•
ป้องกัน/ปราบปรามทุจริต
ค่ านิยม ศิลปวัฒนธรรม
การกีฬา
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย
คุ้มครองผู้บริโภค
•
•
•
•
•
ติดตามยกร่ างรธน.
จัดทาวิสัยทัศน์ ออกแบบประเทศไทย
มีส่วนร่ วมและรับฟั งความเห็น
ประชาสัมพันธ์
จัดทาจดหมายเหตุ
การผลักดันร่ างกฎหมายผ่ านรัฐบาล/สนช.
ลาดับความสาคัญของกฎหมายตามนโยบายรัฐบาล
1.
2.
3.
4.
กม.ที่อนุมัตหิ รืออนุวัตรไปตามข้ อตกลงระหว่ างประเทศ
กม.ที่เป็ นไปเพื่อแก้ ความเหลื่อมลา้ ทางสังคม
กม.ที่เอือ้ การปฏิรูปประเทศ
กม.ที่จะต้ องแก้ ไขปั ญหาส่ วนราชการ
พรบ.จุดคานงัดทีT่ DFตั้งเป้าหมายผ่ านสนช.ภายใน1ปี
(ร่ าง)พรบ.ว่ าด้ วยสิทธิชุมชนในการจัดการ
ที่ดนิ และทรัพยากร
2. (ร่ าง)พรบ.ธนาคารที่ดนิ
3. (ร่ าง)พรบ.การบริหารจังหวัดปกครองตนเอง
4. พรบ.การงบประมาณ เพิ่มงบพืน้ ที่แก้ ความ
เหลื่อมลา้
5. (ร่ าง)พรบ.กองทุนสนับสนุนการป้องกันทุจริต
6. (ร่ าง)พรบ.องค์ กรอิสระด้ านการคุ้มครอง
ผู้บริโภค
7. พรบ.ข้ อมูลข่ าวสารของทางราชการ
8. พรบ.การแข่ งขันทางการค้ า
9. (ร่ าง)พรบ.คุ้มครองเกษตรกรและรายได้
เกษตรกรพันธะสัญญา
10. พรบ.ประกันสังคม
1.
(ร่ าง)พรบ.ปฏิรูปสลากกินแบ่ งรั ฐบาล
(ร่ าง)พรบ.ปฏิรูปตารวจและกระบวนการ
ยุตธิ รรมชัน้ ต้ น
3. พรบ.ป้องกันและปราบปรามการทุจริต
แห่ งชาติ
4. พรบ.การปิ โตรเลียม
5. (ร่ าง)พรบ.สนับสนุนพลังงานหมุนเวียน
6. (ร่ าง)พรบ.กองทุนสื่อสร้ างสรรค์
7. (ร่ าง)พรบ.กองทุนยุตธิ รรม
8. (ร่ าง)พรบ.การโฆษณาประชาสัมพันธ์ ภาครั ฐ
9. พรบ.การเช่ าที่ดนิ เพื่อเกษตรกรรม
10. (ร่ าง)พรบ.การตลาดปั จจัยการผลิตและสินค้ า
เกษตร)
1.
2.
สภาปฏิรูปแห่ งชาติ
กรรมาธิการการมีส่วนร่ วมและรับฟังความคิดเห็น
ประธาน - ประชา เตรัตน์
รองประธานคนที่ 1 - พลเดช ปิ่ นประทีป
รองประธานคนที่ 2 - อรพินทุ์ สพโชคชัย
เลขานุการ - ชัยพร ทองประเสริฐ
ผู้ช่วยเลขานุการ - หาญณรงค์ เยาวเลิศ
โฆษก - นิมิตร สิทธิไตรย์
ที่ปรึกษา - เจิมศักดิ์ ปิ่ นทอง, รสนา โตสิตระกูล, ประเสริฐ ชิตพงษ์
เป้ าหมายการทางานของกมธ.การมีส่วนร่ วม
1. สร้ างความรู้สึกเป็ นเจ้ าของการปฏิรูปของประชาชน-พลเมืองใน
ทุกจังหวัดและชุมชนท้ องถิ่นทั่วประเทศ
2. รวบรวมข้ อคิดเห็นจากประชาชนทุกหมู่เหล่ า เพื่อนาเสนอต่ อ
กมธ.ยกร่ างรธน.อย่ างทันต่ อเวลาและตรงประเด็น
3. รวบรวมข้ อคิดเห็นเสนอแนะจากประชน ทุกวงการ ทั่วประเทศ
นาเสนอต่ อกมธ.ปฏิรูปทั้ง18คณะ โดยครบถ้ วน อย่ างเป็ น
รูปธรรม
กรอบกิจกรรมและเนือ้ งานสาคัญ
กิจกรรมและเวทีการมีส่วนร่ วมเชิง
พืน้ ที่
(77จว.)
กิจกรรมและเวทีการมีส่วนร่ วมเชิง
เครื อข่ ายประเด็นและกลุ่มเป้าหมาย
เฉพาะ(18ประเด็น+..)
งานประสานภายในทัง้ ระบบ
(กธม.1+1+18+5และสปช.250)
กิจกรรมการสื่อสารรณรงค์ และการ
มีส่วนร่ วมที่หลากหลาย
งานรวบรวมและสังเคราะห์ ประเด็น
การปฏิรูป เพื่อการส่ งต่ อและขยาย
ผล
ห้ วงเวลา เนือ้ หาสาระและจังหวะกิจกรรม
ส่ วนที1่ การร่ างรธน.
1. ก่ อน19 ธค.2557 - ตัง้ วงระดมความคิดขนาดเล็ก/FGD ทาสรุ ป
ข้ อเสนอแนะ(อย่ างรวดเร็ว)ว่ ามีประเด็นหรื อเรื่ องอะไรบ้ างที่กลุ่มเห็นว่ าสาคัญ ที่
จะฝากกมธ.รธน.(สัน้ ๆ) เพื่อเขาจะเอาไปใช้ ในการตัง้ เป็ นกรอบหรื อเค้ าโครงใน
การเขียนรธน.
2. ก่ อน17 เม.ย.2558 - เปิ ดเวทีประชาเสวนา/ระดมความคิด/สื่อสารมวลชน/สื่อสาร
สังคม/poll/ฯลฯในประเด็นรธน.ใหม่ กับการปฏิรูปการเมือง(ในหัวข้ อหรื อมิติท่ ี
เครื อข่ ายสนใจ) อย่ างน้ อย1-2ครั ง้ โดยมีการสรุ ปสังเคราะห์ สาระสาคัญเพื่อเสนอ
ต่ อกมธ.รธน.ก่ อนที่เขาจะเขียนร่ างรธน.เป็ นตุ๊กตา(ร่ าง1)
3. ก่ อน28 กค.2558 - เปิ ดเวทีรับฟั งความคิดเห็นต่ อ”รธน.ร่ าง(1)” โดยจะดูเฉพาะ
ภาพรวม หรื อรายละเอียดทุกมาตราก็สุดแต่ ความสนใจของเวที สัก2-3ครั ง้ โดย
จัดให้ มีทีมวิชาการสรุ ปข้ อคิดเห็น ข้ อสังเกตุและข้ อเสนอแนะที่เป็ นประโยชน์ ต่อ
การแก้ ไขปรั บปรุ งของกมธ.รธน. อย่ างทันต่ อเวลาก่ อนที่เขาจะจัดทาร่ างฉบับที2่
ซึ่งเป็ นร่ างสุดท้ าย ที่สปช.250คนจะชีข้ าดว่ า “รั บหรื อไม่ รับ” แบบทัง้ ฉบับ
ห้ วงเวลา เนือ้ หาสาระและจังหวะกิจกรรม
ส่ วนที่2 การปฏิรูป18ประเด็น
1. Quick Win สามเดือนแรก(ธค.มค.กพ.) - ร่ วมกับกมธ.๑๘คณะและเครื อข่ าย
ทางสังคม รวบรวมข้ อเสนอการปฏิรูปที่ตกผลึกแล้ วและเป็ นรู ปธรรม(ร่ าง
กฎหมายเชิงปฏิรูปทีม่ ีอยู่เรี ยบร้ อยแล้ ว) นาเข้ าสู่การพิจารณาของสปช.๒๕๐
โดยเร็ว และส่ งต่ อครม.และสนช.เพื่อสร้ างผลงานแก่ ประชาชนร่ วมกัน
2. Redesign หกเดือน(มีค.เมย.พค.มิย.กค.สค.) - ร่ วมกับกมธ.๑๘คณะและ
เครื อข่ ายทางสังคมอย่ างกว้ างขวาง ในการออกแบบการปฏิรูปประเทศตาม
วิสัยทัศน์ ภวิ ัฒน์ ไทย ให้ มีเป้าหมายเป็ นร่ างแผนแม่ บทและร่ างกฎหมายการปฏิรูป
ทีเ่ ป็ นรู ปธรรม โดยดาเนินการคู่ขนานไปกับกระบวนการและขัน้ ตอนการทางาน
ของสภาสปช.๒๕๐
3. Transfer สามเดือนสุดท้ าย(กย.ตค.พย.) – ร่ วมกับสปช.๒๕๐จัดกิจกรรมส่ ง
มอบผลงานและผลผลิตให้ กับสังคม รั ฐบาล สนช.และพรรคการเมืองในรู ปแบบที่
หลากหลาย
คณะอนุกรรมาธิการการมีส่วนร่ วมระดับจังหวัด
•
•
•
•
ประธาน - สปช.จว.
อดีตผู้สมัครสปช.จว. กลุ่มเครื อข่ ายสภาพัฒนาการเมือง/สภาองค์ กรชุมชนจว. –
เครื อข่ ายประชาสังคมและหอการค้ า(ศูนย์ ประสานภาคีการพัฒนา
จังหวัด) • สถาบันการศึกษาและนักวิชาการท้ องถิ่น –
• กกต.จว. – เลขานุการ
• ผวจ./กอ.รมน./มณฑลทหารบก/พระปกเกล้ า/ปชส./สถิต/ิ - ที่ปรึกษา
1.ภาคีพัฒนาประเทศไทย
(ภาครั ฐ ภาคเอกชน ภาคสังคม)
ประเทศไทย
ที่พัฒนาอย่ างสมดุล
เศรษฐกิจ การเมือง
สังคม คน
2.วิสัยทัศน์ ใหม่
3.ผู้นารุ่ นใหม่ – 100 projects เปลี่ยน
ประเทศไทย (1,000คน)
ประเทศไทย
วิกฤติ การเมือง
เศรษฐกิจ สังคม
4.ค่ านิยมใหม่ – ซื่อสัตย์ มีวน
ิ ัย คิดต่ าง มุ่งส่ วนรวม
– active citizen (1 ล้ านคน)
Inspiring Thailand
แรงบันดาลใจ เพื่อประเทศไทยในมิตใิ หม่
Thai Dream
Thailand2035
ฝั นยิ่งใหญ่ ของคนไทย
เป้าหมาย วิสัยทัศน์ ค่ านิยมหลัก
หนึ่งศตวรรษ อภิวฒ
ั น์ ประเทศไทย
วาระโอกาสสาคัญ100ปี การเปลีย่ นแปลง
• 80 ปี การอภิวัฒน์ ประเทศไทย ระบบการเมืองการปกครองของไทยได้ ผ่าน
ประสบการณ์ จริงในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็ นประมุขมาอย่ าง
โชกโชน
• ระบอบการปกครองที่คณะผู้ก่อการปฏิวัตสิ ยามได้ ตัดสินใจเลือกและมุ่งมั่น
วางรากฐานมาตัง้ แต่ ต้น จะยังคงดารงอยู่ด้วยความมั่นคงและเจริญรุ่ งเรื องเหมือน
ระบอบของอังกฤษ600ปี และระบอบของเดนมาร์ ก165ปี ในปั จจุบันหรื อไม่
• คาถามทีม่ ีต่อคนไทยในวันนี้ก็คือ จากนี้ไปอีกประมาณ 20 ปี เมื่อครบวาระ100 ปี
ของการปฏิวัตสิ ยาม ประเทศไทยของเราจะเดินทางไปสู่สถานีทเี่ ป็ นจุดหมาย
ปลายทางใด
• ความใฝ่ ฝั นอันงดงามที่ผ้ ูนาการเปลี่ยนแปลงริเริ่มและบุกเบิกไว้ เมื่อ 80 ปี ก่ อน เรา
จะสามารถส่ งต่ อให้ กับคนรุ่ นลูกรุ่ นหลานได้ ในสภาพเช่ นไร
เสื อเศรษฐกิจเอเชีย ผู้พลัดตกไปอยู่เบือ้ งหลัง
• สี่เสือเศรษฐกิจแห่ งเอเชีย(Four Asian Tigers) มักใช้ อ้างถึงเศรษฐกิจที่พฒ
ั นาอย่ าง
รวดเร็วของฮ่ องกง สิงคโปร์ เกาหลีใต้ และไต้ หวัน เนื่องจากมีอัตราการเติบโตอย่ างรวดเร็ว
และต่ อเนื่อง (มากกว่ า 7% ต่ อปี )และมีการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่ างรวดเร็วระหว่ าง พ.ศ. 2503
– 2533 ประเทศเศรษฐกิจที่ก้าวหน้ าและประชากรมีรายได้ สูง
• ประเทศไทยในช่ วง ปี 2531-2554 พบว่ า ภายใต้ เศรษฐกิจที่สามารถขยายตัวได้ อย่ างต่ อเนื่อง
ในอัตราที่น่าพึงพอใจ คือเฉลี่ยประมาณ 5.3% ส่ งผลให้ จานวนคนจนทัง้ ประเทศลดลงอย่ าง
รวดเร็ว จาก 34.1 ล้ านคน เหลือเพียง 8.8 ล้ านคน และสัดส่ วนคนจนด้ านรายได้ ทงั ้ ประเทศ
ลดลง จาก 65.3% เหลือเพียง 13.2%
• แต่ ประเทศไทยยังคงติดกับดักกลุ่มประเทศรายได้ ปานกลางมาสามสิบปี แล้ ว การพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์ ตกไปอยู่ในลาดับท้ ายๆของอาเซียน
• วิกฤติด้านต่ างๆที่ถาโถมเข้ าใส่ สังคมไทยเป็ นระลอก จากวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 สู่วกิ ฤต
การเมืองตัง้ แต่ ปี2548 เรื่อยมา รวมทัง้ พิบัตภิ ยั ธรรมชาติท่ ซี า้ เติมทุกปี เหล่ านีส้ ่ งผลทาให้ คน
ไทย”จิตตก” มีความหดหู่ ไม่ ม่ นั ใจในอนาคต ต้ องพึ่งพาจิตแพทย์ หมอดูและไสยศาสตร์ เพิ่มขึน้
ภาพรวมสถานการณ์ 50 ปี ทีผ่ ่ านมา
• ประเวศ วะสี “ห้ าสิบปี ทีผ่ ่ านมาเป็ นการเอาทรั พยากรของคนทั่งประเทศไป
กลั่นออกมาเป็ นเงินของคนกลุ่มน้ อย”
• ในช่ วงแผนพัฒนาประเทศฉบับที่1-7(2504-2539) สภาพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสังคมแห่ งชาติสรุ ปบทเรียนไว้ ว่า
“เศรษฐกิจก้ าวหน้ า สังคมมีปัญหา การพัฒนาไม่ ย่ังยืน”
• ช่ วงแผนพัฒนาประเทศฉบับที่ 8-11 (2540-2559) อาจสรุ ปเป็ นภาพรวมได้
ดังนี ้
“ เศรษฐกิจติดกับ ทรั พยากรเสื่อมโทรม สังคมเหลื่อมล้า ราชการรวมศูนย์
การเมืองวิกฤติ ทุจริตเบ่ งบาน ”
ภาพรวมวิสัยทัศน์ 2035
ภายใต้ จุดหมายปลายทางร่ วม
“สั งคมไทยเป็ นสั งคมทีด่ งี ามและอยู่เย็นเป็ นสุ ขร่ วมกัน”
วิสัยทัศน์ ด้านเศรษฐกิจ
“ประเทศไทยเป็ นประเทศกลุ่มรายได้ สูงของโลก.
ไม่ มี ปั ญหาคนยากจน เมื อ งกั บ ชนบทไม่ แ ตกต่ า ง
มาก. หนี้ สินไม่ เป็ นปั ญหา ทั้งในระดับประเทศและ
ในระดับครั วเรื อน.”
นโยบายกระตุ้นความเจริญควบคู่กระจายรายได้
นโยบายที่จะช่ วยให้ การเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจที่เกิดขึน้ เป็ นการ
เติบโตอย่ างมีคุณภาพ ทั่วถึง เท่ าเทียม เป็ นธรรม โดยทุกคนสามารถ
เข้ าร่ วมเป็ นหนึ่งในกระบวนการดังกล่ าว (Inclusive growth)
ประกอบด้ วยกรอบนโยบายสาคัญ 3 ด้ านที่จะทางานสอดรั บกันอย่ าง
เป็ นระบบคือ
1. การให้ โอกาสที่มากขึน้ แก่ คนชัน้ กลาง-ล่ างที่เป็ นฐานของปิ รามิด
รายได้
2. การดูแลที่ยอดปิ รามิดรายได้ ไม่ ให้ ฉกฉวยประโยชน์ มาก
จนเกินไป
3. การสร้ างระบบสวัสดิการพืน้ ฐานที่จาเป็ นและช่ วยครั วเรื อนใน
กลุ่มที่มีปัญหาเป็ นรายกรณี
วิสัยทัศน์ ด้านสังคม
“สั ง คมไทยโดยทั่ว ไปมีความเหลื่ อมล้าลดลง ทั้ง ในมิ ติ
ด้ านรายได้ และรายจ่ าย. มี ร ะบบสวั ส ดิ ก ารสั งคมที่
หลากหลาย โดยสามารถวัดและรู้ สึกได้ . รวมทั้งมีระบบดูแล
สั ง คมผู้ สู ง อายุ แ ละระบบระเบี ย บในการรองรั บ แรงงาน
ต่ างชาติอย่ างเป็ นธรรม.”
พืน้ ที่ป่าเขา จ.เลย อดีต ปั จจุบัน อนาคต
แผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ พ.ศ.2553-2573 (PDP 20ปี ) กาหนดเป้าหมาย
กาลังผลิตไฟฟ้าสารองไว้ ไม่ ต่ากว่ าร้ อยละ 15 โดยลดการพึ่งพาก๊ าซธรรมชาติและเพิ่มแหล่ ง
เชือ้ เพลิงอื่นให้ มีความหลากหลายมากขึน้ โดยในปี 2573 กาหนดสัดส่ วนการผลิตไฟฟ้าจาก
แหล่ งพลังงานต่ างๆดังนี ้ พลังงานหมุนเวียนไม่ ต่ากว่ าร้ อยละ 5 พลังงานนิวเคลียร์ ไม่ เกิน
ร้ อยละ 10 ซือ้ ไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้ านไม่ เกินร้ อยละ 25 และพลังงานจากถ่ านหินเท่ าที่
จาเป็ นและสนับสนุนถ่ านหินสะอาด
ข้ อมูลจากกลุ่มปฏิรูปพลังงานเพื่อความยั่งยืนระบุว่า ปริ มาณสารองปิ โตรเลียมของไทย
มีไม่ มาก ถ้ าคิดเฉพาะปริ มาณสารองที่พิสูจน์ แล้ ว(proved-p1)จะใช้ หมดภายใน 11 ปี
แต่ ถ้ารวมปริ มาณสารองที่คิดว่ าจะมี (probable-p2)และที่น่าจะพบได้ อีก(possiblep3)ด้ วย ก็จะมีให้ ใช้ ได้ เพียง 30 ปี เท่ านัน้
วิสัยทัศน์
ด้านทรั พยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้ อม พลังงาน
“ ประเทศไทยมีพ้นื ทีป่ ่ าในสัดส่ วนร้ อยละ37 โดยสามารถ
ฟื้ นฟู แ ละรั กษาคุ ณ ภาพความอุ ด มสมบู ร ณ์ ของฐาน
ทรั พยากรดิน-น้า-ป่ าได้ อย่ างสมดุล . สังคมไทยพบทางออก
ที่สร้ างสรรค์ เป็ นธรรมและถูกหลั กวิชาการ ในการจั ดการ
ปั ญ หาความขั ดแย้ งด้ านพลั ง งานและคุ ณภาพสิ่ง แวดล้ อม
อย่ างยั่งยืน .”
จานวนผู้ต้องขังมีสูงร่ วม 3 แสนคน ทาให้ ปัญหาในเรื อนจาที่ เป็ นอันดับแรก
และมี ก ารกล่ า วถึ ง มากที่ สุ ด คื อ ปั ญหาคนล้ น คุ ก หากค านวณจากพื น้ ที่
เรื อนจาทั่วประเทศจานวน 145 แห่ ง ตามความจุดมาตรฐานนั กโทษ 1 คน
ต่ อ พื น้ ที่ 2.25 ตารางเมตร จะคิ ด เป็ นความจุ เ พี ย ง 109,087 คนเท่ า นั ้น
ดั ง นั น้ จากตั ว เลขปี 2556 เรื อ นจ าของไทยจึ ง มี ผ้ ู ต้ อ งขั ง เกิ น กว่ า ความจุ
มาตรฐานสูงถึง 119,726 คน
แม่ วั ย ที น สถานการณ์ ล่ า สุ ด ปี 2555 พบการเกิ ด จากทุ ก กลุ่ ม อายุ ม ารดา
801,737 คน ในจานวนนีเ้ ป็ นมารดาอายุต่ากว่ า 20ปี จานวน 133,027 คน คิด
เป็ นร้ อยละ 16.59 ซึ่งในจานวนนี ป้ ระกอบไปด้ วย กลุ่มมารดาอายุ 15-19ปี
129,320 คน (ร้ อยละ 97.21) นอกนัน้ เป็ นกลุ่มมารดาอายุต่ากว่ า 20ปี และ ต่ า
กว่ า 15ปี จานวน 3,707คน (ร้ อยละ 2.79)
ด้านคุณธรรมจริยธรรม
“ สังคมไทยประสบความสาเร็จในการปฏิรูประบบ
การศึกษาและฟื้ นฟูระบบคุณธรรมจริยธรรม โดย
ความร่ วมมือร่ วมใจกันของเครื อข่ ายชุมชนท้ องถิน่
และภาคประชาสังคมทั่วประเทศ จนสามารถสถาปนา
องค์ กรและหน่ วยงานทีม่ ีมาตรฐานธรรมาภิบาลที่
หลากหลาย ในทุกวงการ ทุกภาคส่ วน ทุกจังหวัดอาเภอทั่วประเทศ.”
วิสัยทัศน์
องค์ กรปกครองท้ องถิ่นกับคอร์ รัปชั่น
จานวนองค์ กรปกครองท้ องถิ่นทั่วประเทศในปั จ จุ บั น
รวมทั ้ง สิ น้ 7,853 แห่ ง ปี 2556 ปปช.แถลงว่ า มี ค ดี
คอร์ รัปชั่น 2,632 คดี
ในขณะที่ ห น่ วยงานส่ ว นกลางและภู มิ ภ าค หลั ก ๆ มี
ประมาณ 300 หน่ วยงาน มีคดีคอร์ รัปชั่น 3,657 คดี
ด้านการเมืองการปกครอง
“ ประเทศไทยประสบความส าเร็ จ ในการปฏิ รู ป ระบบ
การเมื อ งการปกครองครั้ ง ใหญ่ ใ นช่ ว งเปลี่ ย นผ่ า น สามารถ
ปรั บเปลี่ยนบทบาทและอานาจหน้ าที่จนเกิดความสมดุลระหว่ าง
ระบบราชการส่ วนกลางและท้ องถิ่น . ระบบการเมืองระดับชาติ
เกิ ด ความลงตั ว ในมิ ติ ใ หม่ โดยมี ก ารเปลี่ ย นแปลงโครงสร้ าง
อานาจทางการเมืองและระบบตรวจสอบถ่ วงดุลทั้งระบบอย่ างมี
ประสิทธิ ภาพ . ดัชนี ความโปร่ งใสเกิน5.5 จนได้ รับการยอมรั บ
เป็ นกรณีศึกษาสาหรั บกลุ่มประเทศภูมิภาคอาเซียน.
วิสัยทัศน์
การชุมนุมใหญ่ ทางการเมืองเพื่อต่ อต้ านรั ฐบาลเป็ นตัวชีว้ ัดปั ญหาเสถียรภาพทางสังคมและ
ทางการเมืองอย่ างหนึ่ง ข้ อมูลจากวิกิพีเดียระบุว่า จานวนครั ง้ การชุมนุ มใหญ่ ทางการเมืองที่
ตามมาด้ วยความรุ นแรง ระหว่ างปี 2520-2530 มี 4 ครั ้ง ระหว่ าง ปี 2531-2540 มี 1 ครั ้ง ,
ระหว่ างปี 2541-2550 มี 1 ครัง้ และ ระหว่ างปี 2551-2557 มี 8 ครั้ ง
รั ฐที่ล้มเหลว คือ รั ฐที่มีรัฐบาลกลางอ่ อนแอหรื อไม่ มีประสิทธิภาพในการควบคุมดินแดน
นอกจากนี ย้ ัง สามารถอธิ บายได้ ใ นบริ บทของการไร้ ประสิ ทธิภาพ และไม่ สามารถบัง คับใช้
กฏหมายตามระบบที่ควรจะเป็ น อันเนื่องมาจากการเพิ่มขึน้ ของอาชญากรรม การทุจริ ต ของ
นักการเมือง ตลาดมืด ระบบราชการที่ล้มเหลว กระบวนการยุตธิ รรมที่ไร้ ประสิทธิภาพ เป็ นต้ น
ด้านความมั่นคงของประเทศ
“ประเทศไทยประสบความสาเร็จในด้ านการปฏิรูปตารวจและ
กระบวนการยุตธิ รรมขั้นต้ นทั้งระบบในช่ วงเปลี่ยนผ่ าน โดยความ
ร่ วมมือของสังคมทุกภาคส่ วน จนสามารถดูแลปั ญหาความมั่นคง
ภายในประเทศในทุกมิติ รวมทั้งปั ญหาความมั่นคงของมนุษย์
และสามารถแก้ ปัญหาชายแดนใต้ ได้ อย่ างยั่งยืน”
วิสัยทัศน์
มองย้ อนหลังกึ่งศตวรรษ กับ วิสัยทัศน์ 20 ปี ข้ างหน้ า
วิสัยทัศน์ 2035
หนึ่งศตวรรษ อภิวัฒน์ ประเทศไทย
ช่ วงแผน 8-11 (2540-2559)
แผน 1-7(2504-2539)
“เศรษฐกิจก้ าวหน้ า
สังคมมีปัญหา
การพัฒนาไม่ ยั่งยืน”
“ เศรษฐกิจติดกับ
ทรั พยากรเสื่อมโทรม
สังคมเหลื่อมลา้
ราชการรวมศูนย์
การเมืองวิกฤติ
ทุจริตเบ่ งบาน ”
•ประเทศรายได้ สูง ไม่ มีปัญหาคนยากจน
•ความเหลื่อมล้าลดลง มีระบบดูแลผู้สูงอายุ
และแรงงานต่ างชาติ
•พื้นทีป่ ่ าร้ อยละ37 ที่
อุดมสมบูรณ์ จัดการพลังงานและ
สิ่งแวดล้ อมได้
•ระบบคุณธรรมจริยธรรมฟื้ นคืน
•โครงสร้ างอานาจทางการเมืองได้ ดุล ดัชนี
ความโปร่ งใสเกิน5.5
•แก้ ปัญหาชายแดนใต้ ได้ อย่ างยั่งยืน
มิง่ สรรพ์ ขาวสะอาด “ฉากทรรศน์ สังคมไทยพ.ศ.2576”
สังคมไทยกาลังเผชิญการเปลี่ยนแปลงหลายมิติ
1. การเข้ าสู่สังคมผู้สูงวัย
2. ความขัดแย้ งทางการเมืองระหว่ างสองขัว้
3. การเติบโตของเศรษฐกิจท่ องเที่ยว
4. การกลายเป็ นเมืองมากขึน้
5. การเติบโตของเศรษฐกิจในภาคอีสาน(อีสานโต40%,กทม.17%)
6. การปรับตัวเข้ ากับโลกาภิวัตน์ เทคโนโลยี อาเซียน สิ่งแวดล้ อม
มิ่งสรรพ์ ขาวสะอาด “ฉากทรรศน์ ซิมโฟนีปี่พาทย์ ”
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
ประชากรไทยมีรายได้ สูงขึน้ จากโครงการขนาดใหญ่ ของรัฐ
รัฐยังเป็ นศูนย์ กลางพัฒนา งบส่ วนกลางและขรก.รุ่ นใหม่ เพิ่ม
วิถีชีวิตที่แตกต่ างทางเศรษฐกิจ ชนชัน้ นามีขีดความสามารถ
ค่ าเฉลี่ยขนาดครอบครัวเล็กลงเหลือ 2.5
หลากหลายทางชาติพันธุ์มากขึน้ แรงงานต่ างด้ าวกว่ า 6 ล้ านคน
ยานยนต์ ภวิ ัฒน์ ราคาถูก
เทคโนโลยีสารสนเทศราคาถูกลง ผู้ใช้ โทรศัพท์ มือถือ90ล้ านคน
มิ่งสรรพ์ ขาวสะอาด “ฉากทรรศน์ แจ๊ สหมอรา”
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
ประเทศไทยยังเน้ นการผลิตและส่ งออก
ท้ องถิ่นเป็ นศูนย์ กลางเศรษฐกิจ
คนยุคใหม่ เจนYและรุ่ นหลังๆสร้ างการเปลี่ยนแปลง
ท้ องถิ่นมีบทบาทจัดสรรทรัพยากรรัฐ
ประชากรบางส่ วนอยู่ในพืน้ ที่เบาบาง แต่ ไม่ พ้นความเป็ นเมือง
ภาคประชาสังคมพัฒนายิ่งขึน้
แม้ มีปฏิรูปที่ดนิ แต่ แรงงานส่ วนใหญ่ อยู่ในภาคอุตสาหกรรม
สังคมดิจทิ ลั มาพร้ อมกับปั ญหาอาชญากรรมดิจทิ ลั
โครงการ แรงบันดาลใจ ประเทศไทยมิติใหม่
(INSPIRING THAILAND)
1) โครงการกระบวนการจัดทา
เป้าหมายร่ วมแห่ งชาติ (Shared
Purpose , Shared Vision.)
2) โครงการสนับสนุนการสื่อสาร
สร้ างแรงบันดาลใจ ค่ านิยมคนไทย
มิตใิ หม่ (Inspiring Thailand)
5) โครงการผนึกพลังขับเคลื่อนภาค
พลเมือง สู่ประเทศไทยมิตใิ หม่
(Solidarity for Big Change)
3) โครงการส่ งเสริมเครื อข่ ายผู้นามิติ
ใหม่ ผู้นาแห่ งอนาคต
(Leadership for Change)
4) โครงการสนับสนุนปฏิบัตกิ ารเปลี่ยนประเทศ
ด้ วยมือคนไทย (100 Projects for
Change)
กรอบแนวคิดรวบยอดโครงการกระบวนการจัดทาเป้าหมายร่ วมแห่ งชาติ (Shared Purpose , Shared Vision.)
ศึกษาเปรียบเทียบ 5ประเทศ วิสัยทัศน์ และเป้าหมายการพัฒนาประเทศ
คุณธรรม-ค่ านิยมพืน้ ฐานของคนในชาติ
สารวจและจัดทา
“การจัดการตนเองของภาค
ประชาชน 100กรณีศึกษาของ
จังหวัดต่ างๆ”
ฝึ กอบรมและเตรียม
ความพร้ อมทีม
วิทยากรกระบวนการ
100ทีม
รายงานผลการศึกษา 1 ชิ้น
• ฐานข้ อมูลและแผนที่ทุนทางสังคม-ทุนทางปั ญญา
• การจัดการตนเองของระดับชุมชน ระดับท้ องถิ่น
และระดับจังหวัด
เวที Kick-off
“ฝันยิง่ ใหญ่ของ
คนไทย”
เวทีวสิ ั ยทัศน์ ระดับ
จังหวัด100เวที
• เป้าหมายปลายทาง
การพัฒนาประเทศ
•วิสัยทัศน์ จังหวัด
•ค่ านิยมพืน้ ฐานเพื่อ
ความสาเร็จ
กระบวนการสรุ ป
สั งเคราะห์ /เวทีรับ
ฟัง
• เป้าหมายร่ วม
•วิสัยทัศน์ ร่วม
•ค่ านิยมร่ วม
(แผนงานสื่ อสารสาธารณะ)Mass Media Social Media Poll Inter-active
ฐานข้ อมูลและแผนทีท่ ุนทาง
สั งคม-ทุนทางปัญญา
10,000 กรณีศึกษา
เวทีสมัชชา
ระดับชาติ
“วิสัยทัศน์
ประเทศไทย
2035”
•เป้าหมายใหญ่ ของ
คนไทย
•วิสัยทัศน์ “100ปี
อภิวัฒน์ ประเทศ
ไทย”
•ค่ านิยมพืน้ ฐานเพื่อ
ความสาเร็จของคน
ไทย
พลเมืองผู้ตื่นรู้ และเข้ าร่ วม1-2 ล้านคน
ประชาชนรับรู้ ข่าวสาร 20ล้าน
เตรี ยมวิทยากรกระบวนการ
‘57 ‘58 ’58 ’58 ’58 ’59
Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1
XX
เวที kick-off
X
เวทีวสิ ัยทัศน์ จังหวัด
สมัชชาใหญ่ : Thailand
2035
ศึกษาเปรี ยบเทียบ 5 ประเทศ
สารวจและจัดทาข้ อมูล”
ประชาชนจัดการตนเอง”
พัฒนา/จัดทาระบบฐานข้ อมูล
XX XX
X
XX XX
XX XX XX
XX XX XX XX XX XX
ศูนย์ ประสานการพัฒนาจังหวัด :spec.
1. สถานที่มีความเป็ นกิจลักษณะ
2. ไม่ จาเป็ นต้ องหรูหรา แต่ ควรดูดี
3. สามารถต้ อนรับภาคีการพัฒนาต่ างๆ ทัง้ ภาครัฐ ธุรกิจ ชุมชน
ท้ องถิ่น ประชาสังคม สื่อมวลชน
4. มีคนอยู่ประจา ให้ คนภายนอกสามารถติดต่ อประสานงานได้
5. มีท่ อี ยู่ท่ ตี ดิ ต่ อทางไปรษณีย์ได้
6. มีโทรศัพท์ พนื ้ ฐาน/แฟกซ์ /อีเมล/fb/ตู้ปณ. (ติดตัง้ เพิ่มเติมได้ )
ศูนย์ ประสานการพัฒนาจังหวัด : ภารกิจ
1. เป็ นกลไกประสานงานเชิงยุทธศาสตร์ ของพหุภาคีการพัฒนาในพืน้ ที่จังหวัดของ
ตน ได้ ทุกสายงาน
2. เป็ นศูนย์ ข้อมูลดิจิตอลด้ านองค์ กรชุมชน, องค์ กรพัฒนาเอกชน, องค์ กรสาธารณะ
ประโยชน์ ภาคประชาสังคม,องค์ ความรู้ การพัฒนาชุมชนท้ องถิ่นและการพัฒนา
จังหวัด,ผู้นา,โครงการหรื อกรณีศึกษาที่น่าสนใจ
3. เป็ นกลไกประสานงานภาคสนามสาหรั บหน่ วยงานอิสระส่ วนกลาง อาทิ สปพส.
สสส. LDI ศคธ. ฯลฯ
4. เป็ นหน่ วยดาเนินการเวทีวิสัยทัศน์ จังหวัด รวมทัง้ ริเริ่มและประสานกิจกรรม/เวที
การเคลื่อนไหวปฏิรูปต่ างๆร่ วมกับแผนงานInspiringThailand
5. ประสานงานเวทีรับฟั งความคิดเห็นประชาชนร่ วมกับสภาปฏิรูปแห่ งชาติ
6. เปิ ดบริการตู้ปณ. เว็บไซต์ หรื อเฟซบุ๊ค เพื่อเป็ นช่ องทางรองรั บความคิดเห็น
เสนอแนะของประชาชนที่มีต่อการปฏิรูป
คาถามระดมความคิด 10 กลุ่ม
1. แลกเปลี่ยนความเข้ าใจและความคิดเห็นเกี่ยวกับภารกิจต่ างๆ
และบทบาทศูนย์ ประสานงาน
2. แลกเปลี่ยนแนวทางและวิธีการดาเนินงานตามภารกิจ ภายใน
พืน้ ที่จังหวัด และ/หรือ การประสานร่ วมมือระหว่ างจังหวัด
3. แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ในการจัดเวทีวิสัยทัศน์ จงั หวัด
4. อื่นๆ
คาถามระดมความคิด รายจังหวัด
1.
จัดทาแผนปฏิบัตกิ าร 6 เดือนแรก
2.
ออกแบบโครงสร้ างการบริหารงานของศูนย์ ฯ
3.
ระบุรายชื่อทีมงานที่รับผิดชอบ
4.
ระบุรายชื่อทีมวิทยากรกระบวนการที่จะร่ วมดาเนินการเวทีวิสัยทัศน์
ของจังหวัด(5คน)
5.
ระบุรายชื่อว่ าที่สปช.5คนของจังหวัด
6.
อื่นๆ
ถึงเวลาสร้ างความเป็ นสถาบันของภาคประชาสั งคม
INSTITUTIONALIZATION
การสร้ างความเป็ นสถาบัน
ศูนย์ ประสานการพัฒนาจังหวัด
ประสานสนับสนุนพหุภาคีและเครือข่ ายการพัฒนาสังคมและชุมชนท้ องถิ่นที่
หลากหลาย