Transcript Week Unit 7

่
วิชา งานเครืองมื
อกล
้
เบืองต้
น
ผู ส
้ อน
อาจารย ์ไพโรจน์ แสงศรี
มณี วงศ ์
่
่
เครืองมื
อว ัดในงานเครืองมื
อกล
1.บรรทัดเหล็ก
่ อวัดขันพื
้ นฐานที
้
่ ยมใช ้กันอย่าง
บรรทัดเหล็ กเป็ นเครืองมื
นิ
แพร่ห ลาย เนื่ องจากสามารถใช ว้ ัด ขนาดของงานได อ้ ย่ า ง
รวดเร็วและยังใช ้เป็ นบรรทัดสาหร ับขีดระยะงาน
ลักษณะของบรรทัดเหล็ก
่
่
เครืองมื
อว ัดในงานเครืองมื
อกล
ลักษณะของบรรทัดเหล็ก
ปกติบรรทัดเหล็กสร ้างจากแผ่นเหล็กแหนบที่
อาบผิว หรือเหล็กไร ้สนิ ม มีความหนาไม่เกิน 1
มม. และไม่บางกว่า 0.3 มม. ความกว ้างและ
ความยาวของบรรทัด เหล็ ก นั้ นมี ห ลายขนาด
่ เ้ หมาะสมกับการใช ้งาน และบรรทัดเหล็กที่
เพือให
ดีจะต
้องอ่านสเกลได ้ง่ายและไม่บด
ิ งอง่าย
หลักการแบ่งสเกล และการอ่านค่าของบรรทัดเหล็ก
บรรทัดเหล็กได ้แบ่งขีดสเกลออกเป็ น 2 ระบบ
- ระบบอังกฤษ
- ระบบเมตริก
หลักการแบ่งสเกลของระบบอังกฤษ มี 4 แบบคือ
่
่
เครืองมื
อว ัดในงานเครืองมื
อกล
้ งเป็ น 8 ช่อง
บรรทัดสเกล 1 นิ วแบ่
้ งเป็ น 8 ช่อง
1 นิ วแบ่
1 ช่องเท่ากับ เศษ 1 ส่วน 8 นิ ว้
ระยะ ก อ่านได ้ เศษ 3 ส่วน 8 นิ ว้
ระยะ ข อ่านได ้ เศษ 4 ส่วน 8 = เศษ 1 ส่วน 2 นิ ว้
ระยะ ค อ่านได ้ เศษ 6 ส่วน 8 = เศษ 3 ส่วน 4 นิ ว้
ระยะ ง อ่านได ้ 2 เศษ 5 ส่วน 8 นิ ว้
่
่
เครืองมื
อว ัดในงานเครืองมื
อกล
ระยะ ง อ่านได ้ 2 เศษ 4 ส่วน 32 นิ ว้
เท่ากับ 2เศษ 1 ส่วน 8 นิ ว้
้ งเป็ น 32 ช่อง
1 นิ วแบ่
1 ช่องเท่ากับ 1 ส่วน 32 นิ ว้
้ งเป็ น 32 ช่อง
บรรทัดสเกล 1 นิ วแบ่
ระยะ ก อ่านได ้ 3 ส่วน 32 นิ ว้
ระยะ ข อ่านได ้ 9 ส่วน 32 นิ ว้
ระยะ ค อ่านได ้ 1 เศษ 11 ส่วน 32 นิ ว้
่
่
เครืองมื
อว ัดในงานเครืองมื
อกล
้ งเป็ น 64 ช่อง
บรรทัดสเกล 1 นิ วแบ่
้ งเป็ น 64 ช่อง
1 นิ วแบ่
1 ช่องเท่ากับ 1 ส่วน 64 นิ ว้
ระยะ ก อ่านได ้ 9 ส่วน 64 นิ ว้
ระยะ ข อ่านได ้ 57 ส่วน 64 นิ ว้
ระยะ ค อ่านได ้ 1 เศษ 33 ส่วน 64 นิ ว้
ระยะ ง อ่านได ้ 2 เศษ 1 ส่วน 64 นิ ว้
หลักการแบ่งสเกลระบบเมตริกและ
การอ่านค่าของบรรทัดเหล็กมี 2แบบคือ
บรรทัดสเกลค่าความละเอียดช่องสเกล
- 1 ช่องสเกลมีคา่ ความระเอียดเท่ากับ
หลักการแบ่งสเกลระบบเมตริกและ
การอ่านค่าของบรรทัดเหล็กมี 2แบบคือ
บรรทัดสเกลค่าความละเอียดช่องสเกล
- 1ช่องสเกลมีคา่ ความละเอียดเท่ากับ
้
การใช้บรรทัดเหล็กว ัดชินงาน
่ นจากจุดอ้างอิงศูนย ์
เริมต้
้
่ ้นจากขอบ
จากภาพเป็ นการวัดชินงานโดยเริ
มต
หรือขีดศูนย ์ (0) ของบรรทัดเหล็ก ในการวัดลักษณะ
้
่ นบ่า หรือเป็ นแบบขันบั
้ นได
ของชินงานที
เป็
้
การใช้บรรทัดเหล็กว ัดชินงาน
่ น จุ ด อ้า งอิง ที่ไม่ ใ ช่ ข อบของบรรทัด เหล็ ก การวัดใน
เริมต้
กรณี นี ้ควรระวัง การวางบรรทัด เหล็ กในระหว่ า งการวัด ว่ า จะต อ้ ง
้
ขนานกับชินงานด
้วย
แนวเล็ งในการอ่า นค่ า เมื่อวางบรรทัด เหล็ ก ทาบกับ ผิว งาน ความ
หนาของบรรทัด จะท าให เ้ กิด ระยะห่ า ง ระหว่ า งผิว งานกับ ขีด สเกล ซึง่
้ นเหตุให ้วัดขนาดของชินงานผิ
้
ระยะห่างนี เป็
ดพลาดได ้ อันเนื่ องมาจากแนว
เล็งผิดไป ในภาพที่ 2-10 ถ ้าต ้องการวัดระยะ x แนวเล็ง ณ ตาแหน่ ง B
่ กต ้องจะพบว่าขีด 29 ตรงกับจุดสุดทา้ ยพอดี แต่ถา้
อันเป็ นตาแหน่ งทีถู
่ าแหน่ ง A จะเห็นขีดที่ 28 ตรง และแนวเล็งทีต
่ าแหน่ ง C จะเห็น
แนวเล็งทีต
ขีดที่ 30 ตรง
้
การใช้บรรทัดเหล็กว ัดชินงาน
ตาแหน่ งแนวเล็งในการอ่านสเกล
้
การใช้บรรทัดเหล็กว ัดชินงาน
่ อ้ งการวัด สายตาต อ้ งมองตัง้
การอ่ า นค่า ต าแหน่ งทีต
ฉากกับตาแหน่ งทีอ่่ าน
แนวการวางบรรทัดเหล็ก
้ั
การทาบหรือวางบรรทัดเหล็กลงบนผิวชนงานถื
อได ้
ว่าสาคัญมาก เพราะหากวางแนวแกนของบรรทัดเหล็ก
้
้
นงานจะผิ
ดไป
ไม่อยู่ในแนววัดชินงานขนาดของชิ
ข้อควรระวังในการใช้บรรทัดเหล็ก
้
่ งร ้อนอยู่
1. อย่านาบรรทัดเหล็กไปวัดชินงานที
ยั
2. วางบรรทัดเหล็กในแนวระนาบเสมอ
่ อคมตัดอืน
่ ๆ เช่น
3. อย่านาบรรทัดเหล็กวางปะปนกับเครืองมื
ตะไบ
ดอกสว่าน ฯลฯ
้
4. ก่อนการวัดงานต ้องลบคมชินงานให
้เรียบร ้อย
5. ตรวจสอบความสมบูรณ์ของสเกลก่อนใช ้ทุกครง้ั
้ั อนและหลังการใช ้งาน
6. ทาความสะอาดทุกครงก่
่
่
เครืองมื
อว ัดในงานเครืองมื
อกล
2. ตลับเมตร
่
ตลับ เมตร คือ เครืองมื
อ วัด ชนิ ด หนึ่ งที่มีส ายวัด เก็ บ อยู่ ใ นตลับ
อย่ า งมิด ชิด ท าให ส้ ะดวกในการน าติด ตัวไปใช ้งานได ต้ ลอดเวลา
้
ตลับเมตรใช ้ในการวัดหาระยะหรือตรวจสอบขนาดของวัสดุ ชินงาน
่ ซึงใช
่ ้เป็ นที่
ฯลฯ เนื่ องจากตรงหัวสายวัดของตลับ เมตรมีข อเกียว
้
่ อ้ งการวัด ทาใหก้ ารดึงสายวัดออก
เกาะยึดกับขอบของชินงานที
ต
จากตลับ เพื่อใช ้ในการวัด ระยะหรือ ตรวจสอบขนาดของวัส ดุห รือ
้
่ ใ้ ช ้ควรเรียนรู ้เรืองส
่ าคัญของตลับเมตร ดังนี ้
ชินงานได
้สะดวก ซึงผู
ลักษณะ รู ปร่าง ขนาดของตลับเมตร
ตลับเมตรทาดว้ ยโลหะปั๊มมีลก
ั ษณะรูปร่างเป็ นตลับ เพื่อ
่ นโลหะมีสปริงไว ้ภายในตลับอย่าง
ม้วนเก็บสายวัดชนิ ดบางทีเป็
มิ ด ชิ ตรงส่ ว นปลาสุ ด ของสายวัด นี ้ เป็ นขอเกี่ ยว และที่
ด า้ นหน้า ของสายวัด มีห น่ วยการวัด เป็ นนิ ้ว ฟุ ต หรือ หน่ วย
เมตริกกากับไว ้ หรือสายวัดบางชนิ ดของตลับเมตรมีหน่ วยนิ ว้
ฟุต กากับไวข
้ า้ งหนึ่ ง และมีหน่ วยเมตริกกากับไวอ้ ก
ี ขา้ งหนึ่ ง
เพื่อสะดวกในการใช ้ ตลับ เมตรที่มีจ าหน่ ายตามท อ้ งตลาด
้
ทั่วไป มีขนาดตลับบรรจุสายวัดได ้ความยาวตังแต่
1.00 –
่ างไม้และช่างก่อสร ้างนิ ยมใช ้มากทีสุ
่ ด
5.00 เมตร ขนาดทีช่
่
ได ้แก่ขนาดตลับทีบรรจุ
สายวัดได ้ความยาว 2.00 เมตร
การใช้ตลับเมตร ตลับเมตรใช ้สาหร ับการวัดระยะ ตรวจสอบขนาดของวัสดุหรือ
้
ชินงาน
มีวธิ ป
ี ฏิบต
ั ิ ดังนี ้
่ ้องการวัดขนาดใหช
1. กาหนดขนาดความกว ้างหรือความยาวทีต
้ ัดเจน
่
่
2. ให ้ใช ้ขอเกียวของสายวั
ดเกียวกั
บริมขอบของไม ้ แล ้วพยายามปร ับสายวัดให ้ได ้
่ าหนด
มุมฉากกับริมขอบของไมแ้ ละตรงกับตาแหน่ งทีก
3. ดึงสายวัดให ้ตึง ใช ้ดินสอหรือเหล็กหมาดจุดให ้ตรงกับระยะความกว ้างหรือ
้
ความยาวลงบนแผ่นไมห้ รือชินงาน
การบารุงร ักษาตลับเมตร
การบารุงร ักษาตลับเมตรให ้อยู่ในสภาพการใช ้งานได ้ดีมวี ธิ ป
ี ฏิบต
ั ิ ดังนี ้
่
่ าให ้หน่ วย
1. หลีกเลียงการใช
้ของแข็งหรือของมีคม ขูดลงบนหน่ วยการวัดซึงท
่ ดพลาดได ้
การวัดไม่ช ัดเจน เกิดการวัดทีผิ
2. การม้วนสายวัดเขา้ เก็บในตลับ ควรใช ้มือจับช่วยผ่อนแรงไม่ใหส้ ายวัดม้วน
เข ้าตลับเร็วเกินไป อาจทาให ้สายวัดติดขัดเสียหายได ้
่
่ วสายวัดแรงเกินไปขณะวัดระยะ อาจทาใหข
่
3. การดึงขอเกียวที
หั
้ อเกียวบิ
ด
หรือยึดตัวออก เป็ นเหตุให ้หน่ วยการวัดผิดพลาดได ้
4. การวางของหนักทับลงบนตลับเมตร อาจทาให ้ตลับเมตรแตกชารุดเสียหาย
ได ้
่
่
เครืองมื
อว ัดในงานเครืองมื
อกล
3. วงเวียนถ่ายขนาด (Caliper and Divider)
่ ้วัดด ้วยคาลิปเปอร ์ ได ้แก่ การวัดเปรียบเทียบ
ลักษณะงานทีใช
ขนาดงาน งานตรวจสอบขนาดงานว่าเล็กหรือใหญ่กว่าขนาด
่ ลก
่
กาหนด และงานวัดขนาดทีมี
ั ษณะตกร่องภายนอก เมือ
่
ต ้องการความสะดวกรวดเร็วและไม่ต ้องการค่าวัดทีละเอี
ยดมาก
นัก
ลักษณะของคาลิปเปอร ์ ลก
ั ษณะของคาลิปเปอร ์คล ้ายกับวง
่ ดขนาดงานได ้ ทังภายนอกและ
้
เวียน สามารถถ่ายขนาดเพือวั
ภายในด ้วยขาของคาลิปเปอร ์ คาลิปเปอร ์นั้นแยกตามประเภทของ
งานได ้ 2 ประเภทคือ
่
่
เครืองมื
อว ัดในงานเครืองมื
อกล
่ ยกกันทั่วไปว่า “เขาควาย”
คาลิปเปอร ์วัดนอก (Outside Caliper) มีชอที
ื่ เรี
้
ใช ้วัดหรือตรวจสอบขนาดภายนอกของชินงาน
ขาของเขาควายมีลก
ั ษณะโค ง้
่
่ ้วัดขนาดภายนอก แบ่งได ้
เขา้ เพือหลบผิ
วงาน ลักษณะสร ้างของคาลิปเปอร ์ทีใช
เป็ น 2 ลักษณะคือ
่
่
เครืองมื
อว ัดในงานเครืองมื
อกล
้
คาลิปเปอร ์ลักษณะนี แขนวงเวี
ยนมีลก
ั ษณะบางแข็งแรง และไม่บด
ิ
้
งอง่ า ย สร ้างด ว้ ยเหล็ ก สปริง แขนวงเวีย นทังสองยึ
ด ติด กัน ด ว้ ย
่
หมุดยา้ การกางออก หรือหุบเข ้าด ้วยวิธก
ี ารเคาะทีแขนวงเวี
ยน
คาลิปเปอร ์ลักษณะนี ้ แขนวงเวียน
ค่อนข ้างใหญ่เพราะทาจากเหล็กอ่อนขา
ของวงเวียนจะหุบเข ้าหากันตลอดเวลา
ด ้วยแรงสปริง ระยะห่างของเกลียวสัมผัส
ปร ับด ้วยการหมุนแป้ นเกลียวเข ้า / ออก
ตามต ้องการ
คาร ์ลิปเปอร ์แบบปร ับด ้วยแป็ นเกลียว
่
่
เครืองมื
อว ัดในงานเครืองมื
อกล
คาลิปเปอร ์วัดใน (Inside Caliper or Divider)
่ ยกกันทัวไปว่
่
คาลิปเปอร ์วัดใน หรือทีเรี
า “ตีนผี” ใช ้วัด
้
หรือตรวจสอบขนาดภายในชินงาน
เช่น รูเจาะหรือรู
คว ้านโต ๆ เป็ นต ้น ขาของวงเวียนทาให ้มีลก
ั ษณะโค ้ง
่ ้เขียวสั
้ มผัส สัมผัสกับผิวงานด ้านในได ้
ออก เพือให
้
ลักษณะสร ้างของวงเวียนแบบนี อาจแบ่
งได ้เป็ น 2
ลักษณะ เช่นเดียวกัน คือ แบบปร ับด ้วยความฝื ด และ
ด ้วยการหมุนแป้ นเกลียว โดยแบบปร ับด ้วยแป้ นเกลียว
ขาของวงเวียนจะกางออกตลอดเวลาด ้วยแรงสปริง
้ มผัสปร ับด ้วยการหมุนแป้ นเกลียว
ระยะห่างของเขียวสั
เข ้าออกตามต ้องการ
่
่
เครืองมื
อว ัดในงานเครืองมื
อกล
ลักษณะของคาลิปเปอร ์วัดใน
่
่
เครืองมื
อว ัดในงานเครืองมื
อกล
ลักษณะงานวัดด้วยคาลิปเปอร ์ แบ่งออกเป็ นลักษณะใหญ่
ๆ ได ้ 3 ลักษณะ คือ
้
้ ้นว่าเล็กหรือใหญ่
วัดเปรียบเทียบขนาด ว่างานทังสองชิ
นนั
่ นตัวเลข
กว่ากันโดยไม่จาเป็ นต ้องทราบค่าวัดจริงทีเป็
่ อวัดทีมี
่ ขด
ตรวจสอบขนาด จากเครืองมื
ี สเกลวัด
เมื่ อปร บ
ั ขนาดคาร ์ลิป เปอร ์แล ว้ น าไปตรวจสอบขนาด
้
ชินงานว่
าเล็กหรือใหญ่กว่าขนาดกาหนด
้
่ อวัด
วัดถ่ายขนาด ขิงชินงานแล
้วนามาวัดหาค่ากับเครืองมื
่ สเกลมาตรา
ทีมี
่
่
เครืองมื
อว ัดในงานเครืองมื
อกล
่
่ กตอ้ งและ
วิธใี ช้งานคาลิปเปอร ์ การทีจะใช
้คาลิปเปอร ์วัดขนาดให ้ไดค้ ่าทีถู
่
แม่ น ย านั้ นท าได ย้ ากมาก เนื่ องจากเป็ นเครืองมื
อ วัด ที่ไม่ มีขีด สเกลให อ้ ่า นได ้
ชด
ั เจน ผู ว้ ด
ั ดว้ ยคาลิปเปอร ์ต อ้ งฝึ กจนมีทก
ั ษะอย่า งเพียงพอจึงจะสามารถวัด
้
ชินงานได
้อย่างถูกต ้อง กล่าวคือ
่
่
เครืองมื
อว ัดในงานเครืองมื
อกล
้
การปร ับระยะห่างของเขียวสั
มผัส
่
้ มผัสจะต ้องทา
โดยการเคาะแขนวงเวียนเพือปร
ับระยะห่างของเขียวสั
่ ให ้เขียวสั
้ มผัสเสียหาย
อย่างถูกวิธเี พือไม่
่
่
เครืองมื
อว ัดในงานเครืองมื
อกล
หลังจากปร ับขนาดคร่าว ๆ ด ้วยมือแล ้ว จึงทาการปร ับละเอียดโดย
่
วิธก
ี ารจับตัวคาลิปเปอร ์เคาะกับวัตถุอน
ื่ ๆ โดยเคาะทีขาวงเวี
ยนด ้าน
่
่
่ บเข ้า
ในเพือกางออก
และเคาะทีขาวงเวี
ยนด ้านนอกเพือหุ
่
่
เครืองมื
อว ัดในงานเครืองมื
อกล
้ มผัสของคาลิปเปอร ์วัดใน
การปร ับระยะห่างเขียวสั
หลังจากปร ับขนาดคร่าว ๆ ด ้วยมือแล ้วจึงทาการ
่
่
ปร ับละเอียด โดยเคาะทีขาวงเวี
ยนด ้านใน เพือกาง
่ วงเวียนด ้านนอกเพือหุ
่ บเข ้า
ออกและเคาะทีขา
่
่
เครืองมื
อว ัดในงานเครืองมื
อกล
่ ดวิธีี
การเคาะปรับขาวงเวียนทีผิ
้ าให ้เขียวสั
้ มผัสเยิน
การเคาะปร ับขาวงเวียนเช่นนี จะท
่ าไป วัดชินงานจะท
้
เสียหายเมือน
าให ้ค่าวัดผิดพลาด
่
่
เครืองมื
อว ัดในงานเครืองมื
อกล
้
้
้
การสัมผัสของเขียวสั
มผัสวัดทังสองกั
บชินงาน
โดยจะตอ้ งใช ้ความรู ้สึกสัมผัส ในการฝึ กทักษะการจับ ควร
่ ด หรือ ตรวจสอบขนาด จะต อ้ งท าให ้
จับในแนวดิ่ง ก่ อ นเริมวั
้ มผัสมากกว่าความโตงานเล็ กน้อยแลว้ ค่อย
ระยะห่างของเขียวสั
ๆ ปร ับให ้แคบเข ้าจนสัมผัสพอดีกบั ผิวงานนั้น
่
่
เครืองมื
อว ัดในงานเครืองมื
อกล
้
แนวแกนวัดชินงานของคาลิ
ปเปอร ์ ตอ้ งคานึ งว่าแนวแกนวัด ของ
้
คาลิปเปอร ์ (Axis of Caliper) อยู่ในเสน้ วัดชินงาน
(Line of
้ มผัสดู หรือ
Measurement) นั้นจริงหรือไม่ โดยทดสอบขยับเขียวสั
้
เปรีย บเทีย บค่า วัดได ส้ ุ ด แต่ล ะลัก ษณะงาน วิธ ีข ยับเขียวสั
ม ผัส วัด ควร
้
้
่ งเพียงเขียวเดี
้
ขยับเขียวใดเขี
ยวหนึ
ยว
้
แนวการวัดชินงานทรงกระบอก
่
่
เครืองมื
อว ัดในงานเครืองมื
อกล
เวอร ์เนี ยคาลิเปอร ์ (VERNIER CALIPER)
่ อทีใช
่ ้วัดความยาวของวัตถุทงภายใน
้ั
้
เป็ นเครืองมื
และภายนอกของชินงาน
เวอร ์
่
เนี ยคาลิเปอร ์มีลก
ั ษณะทัวไป
ดังรูป
ส่วนประกอบของเวอร ์เนี ยคาลิเปอร ์
่ น
สเกลหลัก A เป็ นสเกลไม้บรรทัดธรรมดา ซึงเป็
มิลลิเมตร (mm) และนิ ว้ (inch)
่
่
สเกลเวอร ์เนี ย B ซึงจะเลื
อนไปมาได
้บนสเกลหลัก
ปากวัด C – D ใช ้หนี บวัตถุทต
ี่ ้องการวัดขนาด
ปากวัด E – F
ใช ้วัดขนาดภายในของวัตถุ
แกน G ใช ้วัดความลึก
่
ปุ่ ม H ใช ้กดเลือนสเกลเวอร
์เนี ยไปบนสเกลหลัก
สกรู I ใช ้ยึดสเกลเวอร ์เนี ยให ้ติดกับสเกลหลัก
ค่าความละเอียดของเวอร ์เนี ย
1
ค่าความละเอียด หรือ
Least Count
=
n = จานวนช่องของสเกลเวอร ์เนี ยรn์
่
่ ดของ
โดยปกติแล ้ว ตัวเลขทีแสดงค่
าความละเอียดทีสุ
่ ดนี ้ มักจะเขียนไว ้บนสเกลเวอร ์เนี ยในหน่ วยต่าง ๆ เสมอ
เครืองวั
เช่น สาหร ับสเกลเวอร ์เนี ยชนิ ด 10 ช่อง (n = 10)
สาหร ับสเกลเวอร ์เนี ยชนิ ด 20 ช่อง (n = 20)
่
เมือสเกลเวอร
์เนี ยมีจานวนช่อง 50 ช่อง (n = 50)
่ ่ในห ้องปฏิบต
้ั
เวอร ์เนี ยทีอยู
ั ก
ิ ารฟิ สิกส ์ส่วนใหญ่จะมีทงชนิ
ด
n = 20 และ n = 50
ลาด ับการอ่านค่าผลการวัด
1.ก่อนใช ้เวอร ์เนี ยต ้องตรวจสอบดูวา่ มีคา่ least count เท่าใด
่ ยนไว ้บนสเกล
โดยดูจากตัวเลขทีเขี
สเกลเวอร ์เนี ยหรืออาจคานวณจาก least count =
่ นย ์ของสเกลเวอร ์เนี ยอยู่ทต
2. ต ้องดูวา่ ขีดทีศู
ี่ าแหน่ งใดบนสเกล
1
้ ได ้
หลัก แล ้วอ่านค่าบนสเกลหลักในหน่ วยมิลลิเมตร หรือนิn
วก็
่
ตามทีเราต
้องการ
่
3. ต่อไปดูวา่ สเกลเวอร ์เนี ยสเกลแรกทีตรงกั
บสเกลหลักคือสเกลใด
่
4. จากนั้นนับขีดบนสเกลเวอเนี ยจนถึงสเกลทีตรงกั
บสเกลหลัก
(การถ5. นับสเกลเวอเนี ยให ้นับเป็ นช่องสเกลเล็กๆ ได ้เลย)
่ ้คือ
ผลการวัดทีได
ตัวอย่างการอ่านสเกลเวอร ์เนี ย
่
เมือผลการวั
ดของวัตถุอน
ั หนึ่ งดังแสดงในรูป
้ ดที่ 0 ของสเกลเวอร ์เนี ยอยูท
1. ขณะนี ขี
่ ต
ี่ าแหน่ งที่ 11.00
มิลลิเมตร เลยออกมาเล็กน้อยบนสเกลหลัก
2. และขีดที่ 13 ของสเกลเวอร ์เนี ยตรงกับขีดบนสเกลหลัก
จึงนาเอาเลข 13 คูณกับ least count จะได ้เป็ นค่าเศษของ
มิลลิเมตร คือ 13 x 0.05 = 0.65 มิลลิเมตร
่ านได ้จากข ้อ 1 บวกกับค่าทีอ่
่ านได ้ในข ้อ 2 ก็
3. นาค่าทีอ่
้ั ้ นั่นคือ ค่าทีวั่ ดได ้ = 11.00 +
จะเป็ นผลการวัดในครงนี
0.65 มิลลิเมตร
= 11.65 มิลลิเมตร
การใช้เวอร ์เนี ยคาลิเปอร ์วัดขนาดของวัตถุในหลายลักษณะด ังรู ป
ในการวัดความยาวของแท่งวัตถุ เส ้นผ่าศูนย ์กลางของทรงกระบอก ทรงกรม ใช ้ปาก
วัด CD
การวัดเส ้นผ่าศูนย ์กลางภายในของวงแหวน
ทรงกระบอกกลวง ใช ้ปากวัด EF ดังรูป
การวัดความลึกของวัตถุ ใช ้แกน G
ไมโครมิเตอร ์ ( Micrometer )
่ อวัดขนาดของวัตถุทต
เป็ นเครืองมื
ี่ อ้ งการความ
ละเอียดสูงในระดับทศนิ ยม
3
ตาแหน่ งในหน่ วย
่ ดชนิ ดนี อาศั
้
่
่
มิลลิเมตรเครืองวั
ยหลักการ การเคลือนที
่ สว่ นประกอบทีส
่ าคัญดังแสดงในรูป
ของสกรู ซึงมี
ไมโครมิเตอร ์ ( Micrometer )
่ มี
โครง A มีลก
ั ษณะคล ้ายกับคันธนู หรือตะขอเกียว
ปากวัด C-D และแกนสเกลนอน B ติดอยู่แกนสเกล
นอน B เป็ นสเกลหลัก มีหน่ วยเป็ นมิลลิเมตร โดยแบ่ ง
่ ละขีดจะมีขด
ออกเป็ นขีดละ 1 มิลลิเมตร ซึงแต่
ี แบ่งครึง่
มิลลิเมตรกากับด ้วย
สเกลวงกลม H มีลก
ั ษณะเป็ นปลอกครอบสเกล
้
หลัก B แบ่งจานวนขีดโดยรอบทังหมด
50 ช่อง
ไมโครมิเตอร ์ ( Micrometer )
่ ้ปากวัด D เลือนไป
่
แกน G ใช ้สาหรบั หมุนเพือให
สัมผัสกับผิวของวัตถุทต
ี่ ้องการวัด ภายในปุ่ ม
่
่
G มีสปริงเพือปร
ับแรงกด เมือปากวั
ด D สัมผัสพอดี
๊
กับผิววัตถุ จะมีเสียงดังกริกเบาๆ
แสดงว่าสปริงรบั แรง
กดพอดีแกนวัดจะไม่เดินหน้าต่อไปอีก
ปุ่ ม I ใช ้ตรึงแกนวัด ปลอกวัด และปุ่ ม G ให ้ติดกับ
่
โครง A ทาให ้สเกลไม่เลือนต
าแหน่ งขณะอ่านค่า เวลา
ใช ้ต ้องบิดไปทางซ ้ายสุด
ค่าความละเอียดของไมโครมิเตอร ์
่
เมือปากวั
ด C - D สัมผัสกัน ขีดที่ 0 ของ
สเกลวงกลมจะทาบพอดีก บ
ั แกนสเกลนอนและถ า้
หมุนสเกลวงกลมถอยหลังไป 1 รอบ ขีดที่ 0 ของ
สเกลวงกลมจะทาบพอดีกบ
ั แกนนอน และขอบของ
่ ลลิเมตรบน
สเกลวงกลมจะทับพอดีกบ
ั ขีดแบ่งครึงมิ
่
สเกลหลัก ซึงหมายความว่
า ถ ้าหมุนแกนวัดถอยหลัง
ไปเพียง 1 ช่อง ปากวัด C - D จะห่างกันเป็ นระยะ
่ นค่าทีน้
่ อยทีสุ
่ ดทีสามารถอ่
่
505.0= ซึงเป็
านได ้จาก
่ ดชนิ ดนี ้ เรียกว่า least count
เครืองวั
่
ปกติค่า least count ของเครืองไมโครมิ
เตอร ์จะ
เขียนไว ้บนโครง A เช่น 0.01 mm
การอ่านค่าจากไมโครมิเตอร ์
ผลการวัดจะประกอบด ้วย ค่าสเกลหลัก, ค่า
่
สเกลวงกลม, ค่าความละเอียดของเครืองมื
อ
วิธใี ช้ไมโครมิเตอร ์
่ าให ้ปาก C หมุนแกน G ให ้แกนวัดถอยหลังเพือท
D เปิ ดกว ้างกว่าขนาดของวัตถุเล็กน้อย แล ้วนาวัตถุที่
จะวัดขนาดไปไว ้ระหว่างปาก C - D ให ้ด ้านหนึ่ งชิดปาก
วัด C ไว ้ แล ้วหมุนแกน G ให ้ปากวัด D มาสัมผัสพอดี
๊
กับผิวดา้ นหนึ่ งของวัตถุ โดยสังเกตจากเสียงกริกเบาๆ
่
จากนั้นให ้บิดปุ่ ม I ไปทางซ ้ายเพือตรึ
งแกนวัดไว ้แล ้วจึง
ตัวอย่างการอ่านค่าการวัดบนสเกลไมโครมิเตอร ์
่ ดขนาดของวัตถุอน
เมือวั
ั หนึ่ ง ดังแสดงในรูป โดยที่
Least Count ของไมโครมิเตอร ์ = 0.01 mm
1. ขณะนี ้ขอบของสเกลวงกลมอยู่ ที่ต าแหน่ งที่
11.500 มิลลิเมตร เลยออกมาเล็กน้อยบนสเกลหลัก
2. ขีดที่ 22.5 ของสเกลวงกลมตรงกับแกนนอนบน
้ ณกับค่า Least
สเกลหลัก แล ้วเอาตัวเลข 22.5 นี คู
Count จะได ้เป็ นค่าเศษของมิลลิเมตร เป็ น 22.5 x
0.010 = 0.225 mm
ตัวอย่างการอ่านค่าการวัดบนสเกล
ไมโครมิ
่ ้จากข ้อ (1) และข ้อ (2) รวมกัน
3. เตอร
นาค่า์ ทีได
้ั ้ นั่นคือ
จะได ้เป็ นผลการวัดครงนี
ผลการวัด
=
ค่าสเกลหลัก + (ค่าสเกล
วงกลม
x ค่าความละเอียดของ
ไมโครมิเตอร ์)
=
11.500 mm + 0.225 mm
=
11.725 mm
้ าด ับขันการอ่
้
ด ังนันล
านค่าการวัดเป็ นดงั นี ้
1. ก่อนใช ้ไมโครมิเตอร ์ต ้องดูว่าค่า Least Count
่ ยนไว ้บนโครง A หรือ
เท่ากับเท่าใด โดยดูจากตัวเลขทีเขี
อาจจะคานวณก็ได ้ (โดยดูจากหัวขอ้ ความละเอียดของ
ไมโครมิเตอร ์)
2 .ต อ้ งดู ว่ า ขอบของสเกลวงกลมอยู่ ที่ต าแหน่ งที่
เท่าใดของสเกลหลัก อ่านในหน่ วยมิลลิเมตร
่ าใดบนสเกลวงกลมอยู่ตรงกับ
3. ต่อไปดูว่า ขีดทีเท่
เส น
้ แกนของสเกลหลัก แล ว้ เอาตัว เลขนี ้คู ณ กับ ค่ า
Least Count จะได ้เป็ นเศษของมิลลิเมตร
่ ้จากข ้อ 2 และ ข ้อ 3 คือผลการวัด
4. ผลรวมทีได