การคิดอย่างเป็นระบบและการคิดอย่างมีวิจารณญาณ

Download Report

Transcript การคิดอย่างเป็นระบบและการคิดอย่างมีวิจารณญาณ

การคิดอย่างเป็ นระบบและการคิดอย่างมี
วิจารณญาณ
(System Thinking and Critical Thinking)
ระบบคืออะไร
ระบบ(system) คือ ชุด(set) ของส่ วนประกอบ (Element) ที่มี
ลักษณะสัมพันธ์ซ่ ึงกันและกัน โดยดำเนินงำนร่ วมกันเป็ นกลุ่ม
เพื่อให้บรรลุจุดประสงค์ หรื อเป้ ำหมำยบำงอย่ำง
ตัวอย่างระบบ
1.
2.
3.
ระบบในร่างกาย คือ ชุดของอวัยวะต่างๆ ทาหน้ าที่สมั พันธ์กนั
เพื่อให้ ร่างกายต่างๆ ของเราทางานได้
ระบบรถยนต์ คือ ชุดของเครื่ องยนต์ ที่ประกอบด้ วยระบบย่อย
หลายๆระบบ เพื่อให้ รถยนต์ ขับเคลื่อนได้
ระบบของโลก คือ ประเทศต่างๆ หลายๆ ประเทศ มี
ความสัมพันธ์ทางด้ านการค้ า เศรษฐกิจ การเมือง การทหาร
เพื่อให้ โลกดารงคงอย่างมีระเบียบ
ความซับซ้ อนของระบบ มี 2 ลักษณะ คือ
1. ควำมซับซ้อนในเชิงรำยละเอียด(detail Complexity)
หมำยถึง กำรมีองค์ประกอบต่ำง ๆ ที่มำกมำย
2. ควำมซับซ้อนเชิงพลวัต (Dynamic Complexity)
หมำยถึง กำรที่องค์ประกอบต่ำงๆมีควำมสัมพันธ์กนั และมีกำร
เชื่อมต่ออย่ำงมำกมำยมหำศำล
ระบบที่ไม่ซบั ซ้ อน กับ ระบบที่ซบั ซ้ อน
ระบบที่ไม่ซบั ซ้ อนหรื อเรี ยบง่าย
คือ ระบบที่มีสถานะและความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่างๆ ไม่
มากนัก เช่น ระบบประปา
ระบบที่มีความซับซ้ อน
อาจประกอบด้ วยระบบย่อยหลายๆส่วน แต่ละส่วนก็อาจมี
หลายองค์ประกอบที่ทาหน้ าที่แตกต่างกันไป เช่น ระบบสมอง
การทางานของระบบ
การคิดอย่างเป็ นระบบมีลกั ษณะอย่างไร
การคิดอย่ างเป็ นระบบ
มีลกั ษณะเป็ นวง (Loop) มากกว่าที่จะเป็ นเส้ นตรง ทุกๆ
ส่วนต่างก็มีการเชื่อมต่อทังโดยตรงและโดยอ้
้
อม
ซึง่ เรี ยกว่าวงจรป้อนกลับ (Feedback Loops) คือมี
องค์ประกอบ 2 ชนิดเชื่อมต่อกัน
สรุปการคิดอย่างเป็ นระบบ
-
กำรคิดอย่ำงเป็ นระบบ เป็ นกำรคิดในลักษณะเป็ นวงมำกกว่ำ ที่จะ
เป็ นเส้นตรง กำรเชื่อมต่อกับระบบต่ำงๆ จะก่อให้เกิดวงจร
ป้ อนกลับ (Feedback Loops)
กำรป้ อนกลับ แบ่งได้เป็ น 2 ประเภท ได้แก่
1. วงเสริ มแรง (Reinforcing Feedback Loop)
2. วงสมดุล (Balancing Feedback Loop)
ผังแนวคิด
ตัวอย่าง สมมุติวา่ เราได้ รับมอบหมายให้ ไปซื ้อของใช้ ประจาบ้ านที่
ห้ างสรรพสินค้ าแห่งหนึง่ ดังนี ้
- กุง้
-ปลาทู
-กระดาษชาระ
-น้ าตาล
-กระดาษวาดรู ป
-ปากกาสี
-ไก่
-ไข่
-น้ ามัน
-เศษเนื้อ
-ทุเรี ยน
-ส้ม
-สบู่
-หนังสื อพิมพ์
ผังแนวคิดคืออะไร
(Mapping Concept หรื อ Mind Map)
เป็ นวิธีการที่ช่วยให้ เราสามารถจดจาได้ ดีขึ ้น ช่วยให้ เราคิดอย่างรอบ
ด้ านและเป็ นระบบ ทาให้ เราเห็นแผนผังความเชื่อมโยงของประเด็น
ต่างๆ มีประโยชน์ทงต่
ั ้ อการเตรี ยบสอบ การเตรี ยบสอน การคิดประเด็น
เพื่อทารายงาน และการประชุมเพื่อระดมสมอง
การสร้ างแผงแนวคิด
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
แนวคิดเกีย่ วกับการคิดอย่ างมีวจิ ารณญาณ(Critical Thinking)
ของพอล (Paul,R.) จากศูนย์ พฒ
ั นาการคิดอย่ างมีวจิ ารณญาณ
Feeling
ความรู้สกึ
Thinking
ความคิด
Wanting
ความต้ องการ
กำรคิดอย่ำงมีวจิ ำรณญำณ มีควำมสัมพันธ์กบั กำรแก้ปัญหำ
(problem solving) คือ กำรคิดอย่ำงมีวจิ ำรณญำณ เป็ นเครื่ องมือ
ในกำรแก้ปัญหำ และกำรแก้ปัญหำส่ วนใหญ่ตอ้ งใช้กำรคิดอย่ำง
มีวจิ ำรณญำณ
ลักษณะของผู้สามารถคิดอย่ างมีวจิ ารณญาณ
ลักษณะ(Trait)
-คิดอย่ำงอิสระ
-ใส่ ใจในควำมคิดผูอ้ ื่น
-รู ้ขอ้ จำกัดในควำมคิด
ของตน
-กล้ำทำงปัญญำ
-ซื่ อสัตย์
-มีควำมเพียร
-ใช้เหตุผล
-อยำกรู้อยำกเห็น
-มีคุณธรรม
-รับผิดชอบ
ควำมสำมำรถ(Ability)
1. กำหนดจุดหมำย
2. ตั้งประเด็นคำถำม/
ปัญหำ
3. ได้สำรสนเทศ
4. ได้ขอ้ มูลเชิงประจักษ์
5. ได้แนวคิดอย่ำงมี
เหตุผล
6. ตั้งข้อสันนิษฐำน
7. ระบุกำรนำไปใช้และ
ผลที่ตำมมำ
มำตรฐำน(standard)
ชัดเจน
ถูกต้ อง
แม่นยา
เกี่ยวข้ อง
กว้ าง
ลึก
แนวคิดเกีย่ วกับการคิดอย่ างมีวิจารณญาณ(Critical Thinking ของ
เอนนิส (Ennis)
เอนนิส (Ennis, 1985) ได้ กล่าวถึงการคิดอย่างมีวิจารณญาณไว้
ว่า เป็ นการคิดพิจารณาไตร่ตรองอย่างมีเหตุผล ที่ม่งุ เพื่อการ
ตัดสินใจว่าสิง่ ใดควรเชื่อหรื อสิ่งใดควรทา
ลักษณะของผู้ที่มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณ
-
เป็ นผู้มีใจกว้ าง
มีความไวต่อความรู้สกึ ของผู้อื่น เข้ าใจผู้อื่น
เปลี่ยนความคิดเห็นที่ตนมีอยูไ่ ด้ ถ้ ามีข้อมูลที่มีเหตุผลมากกว่า
กระตือรื อร้ นในการค้ นหาข้ อมูลและความรู้
เป็ นผู้มีเหตุผล
การพัฒนานิสยั การคิด
แนวทางให้ เกิดทักษะในการคิด
1. การอ่านและการฟั งอย่างมีประสิทธิภาพ
2. แยกความแตกต่าง ในการเอาชนะความสับสนเกี่ยวกับความคิดใน
บางครัง้ เช่น
- แยกระหว่างความคิดกับบุคคลที่นาเสนอ
- แยกระหว่างสาระกับความชอบส่วนตัว
- แยกระหว่างข้ อเท็จจริงและการตีความ
- แยกระหว่างความคิดที่มีคณ
ุ ค่าและคุณภาพของการแสดงออก
ซึง่ ความคิด
การฝึ กคิดเพื่อช่วยพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาน
กลยุทธ์ที่ 1 : ความเต็มใจที่จะมองตัวคุณเอง
 กลยุทธ์ ที่ 2 : การประเมินอย่างพากเพียร
 กลยุทธ์ ที่ 3 : การมีจิตใจที่เป็ นกลางอยูเ่ สมอ
 กลยุทธ์ ที่ 4 : ความมุง่ มัน
่ ต่อการตัดสินใจที่ร้ ู จริง
