ลดลงร้อยละ 2 - สสจ.ศรีสะเกษ

Download Report

Transcript ลดลงร้อยละ 2 - สสจ.ศรีสะเกษ

การป้ องกันควบคุมโรคไข้ เลือดออกเชิงรุกในพืน้ ที่เสี่ ยง
ยุทธศาสตร์ โรคติดต่ อนาโดยแมลง
• ยุทธศาสตร์ ท่ ี 1 พัฒนา ส่ งเสริม สนับสนุน ระบบ กลไก การเตือนภัย และตอบโต้ ภาวะ
ฉุกเฉินโรคติดต่ อนาโดยแมลง (Intelligence)
• ยุทธศาสตร์ ท่ ี 2 ผลักดันปั ญหาโรคติดต่ อนาโดยแมลง (ไข้ เลือดออก และมาลาเรี ย)
ให้ เป็ นยุทธศาสตร์ ระดับชาติ (National policy)
• ยุทธศาสตร์ ท่ ี 3 พัฒนาเครือข่ ายและบุคลากรในการเฝ้าระวัง ป้องกันการควบคุมโรค
(Strengthens network and Human resource)
• ยุทธศาสตร์ ท่ ี 4 พัฒนา ส่ งเสริม สนับสนุน การติดตามและประเมินผลการเฝ้าระวัง
ป้องกันควบคุมโรค (Evaluations and Monitor)
• ยุทธศาสตร์ ท่ ี 5 พัฒนาส่ งเสริม และสนับสนุนให้ ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้ องและ
เหมาะสม (Change Behavior)
• ยุทธศาสตร์ ท่ ี 6 พัฒนา ส่ งเสริม สนับสนุน ศึกษาวิจัย และการจัดการความรู้ เพื่อการ
เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค (Technology and Knowledge Management)
จุดเน้ น และกรอบการดาเนินงานป้ องกันควบคุม
โรคติดต่ อนาโดยแมลง ปี 2557
โรคไข้ เลือดออก
Agenda Base
เป้ าหมาย (Goal)
1. เพื่อลดอัตราป่ วยและอัตราป่ วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก และลด
ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสุ ขภาพของประชาชนจากการแพร่ ระบาด
ของโรคไข้เลือดออก ตั้งแต่ครัวเรื อน ชุมชน โรงเรี ยน โรงพยาบาล
2. เพื่อลดปัญหาการแพร่ ระบาดโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วดั 5 ปี (2557-2561)
เหตุผลในการปรับเปลี่ยนเป้ าหมาย/ตัวชี้วดั
• Pattern ของโรคไข้เลือดออก มีท้ งั ปี ที่มีการระบาดสูง และต่า
รู ปแบบไม่แน่ชดั
• ในช่วงที่เป็ นปี ที่ระบาดหนัก ตัวชี้วดั เดิมใช้ไม่ได้ผล และในแต่ละปี
อัตราป่ วยมีความแตกต่างกันมาก
จุดเน้นของการปรับเปลี่ยนตัวชี้วดั
• ปี นี้เน้นการวัดที่ผปู ้ ่ วยในช่วงฤดูกาลระบาด(พ.ค. – ส.ค.)
การใช้ ค่า MEDIAN ย้ อนหลัง 5 ปี
MEDIAN ย้อนหลัง
5 ปี (2551-2555)
จานวน
จังหวัด
(1)
ต่ากว่า 30
30-50
50.01-100
100.01-150
150.01-200
มากกว่า 200
ภาพรวมประเทศ
3
9
22
27
9
7
77
ค่ าเฉลีย่ MEDIA MEDIA
MEDIA
ร้ อยละ
MEDIA N
N
N
N
ต่าสุ ด สู งสุ ด
ความต่ าง
ของMED
SD
สู งสุ ดกับ
ค่ าเฉลีย่ MED
(2)
3.90
11.69
28.57
35.06
11.69
9.09
100.00
(7) (8)=(6)-(4) (9)=(8)/(6)*100
3.32
2.00
7.88%
6.51
7.68
15.59%
13.55
23.20
23.69%
14.75
22.01
14.99%
12.86
15.47
7.92%
50.49
103.14
29.58%
62.26
234.45
16.61%
(3)
25.22
44.48
74.37
127.14
185.14
237.54
108.14
(4)
23.39
41.57
74.72
124.84
179.84
245.5
114.19
(5)
19.56
30.60
53.00
102.59
155.09
205.00
19.56
(6)
25.39
49.25
97.92
146.85
195.31
348.64
348.64
ลดลงร้ อยละ
เฉลีย่
เป้ าหมาย
ลดลงร้ อย
ละ
(10)
(11)
11.74%
10
19.34%
20
18.75%
16.61%
20
17
• เป้ าหมายระยะยาว (5 ปี ) : อัตราป่ วยลดลงร้อยละ 17 ภายในปี 2561
– 1.จังหวัดที่มีค่า MEDIAN ของอัตราอัตราป่ วยย้อนหลัง 5 ปี ต่ากว่า 50 ต่อแสนประชากร
ให้ลดลงร้ อยละ 10 (S)
– 2. จังหวัดที่มีค่า MEDIAN ของอัตราอัตราป่ วยย้อนหลัง 5 ปี ระหว่าง 50 - 150 ต่อแสน
ประชากร ให้ ลดลงร้ อยละ 20 (M)
– 3. จังหวัดที่มีค่า MEDIAN ของอัตราอัตราป่ วยย้อนหลัง 5 ปี สู งกว่า 150 ต่อแสนประชากร
ขึ้นไป ให้ลดลงร้ อยละ 20 (L)
จังหวัดเป้ าหมาย 5 ปี (2557-2561)
ขนาด
จังหวัด
เป้ าหมาย
ลดลง%
S
นครนายก อุบลราชธานี ยโสธร กาฬสิ นธุ์ น่าน นครพนม บึงกาฬ อุดรธานี
(MEDIAN ของอัตราอัตรา หนองคาย หนองบัวลาภู สิ งห์บุรี สกลนคร
ป่ วยย้อนหลัง 5 ปี ต่ากว่า
50 ต่อแสนประชากร)
ร้ อยละ 10
M
(MEDIAN ของอัตราอัตรา
ป่ วยย้อนหลัง 5 ปี ระหว่าง
50 - 150 ต่อแสน
ประชากร)
ร้ อยละ 15
พิษณุโลก พัทลุง สระแก้ว พังงา สุรินทร์ ชลบุรี สตูล ชุมพร นครศรี ธรรมราช
แม่ฮ่องสอน นนทบุรี ประจวบคีรีขนั ธ์ แพร่ เพชรบุรี เพชรบูรณ์ ร้อยเอ็ด ศรี สะเกษ
เชียงใหม่ บุรีรัมย์ ปัตตานี สุราษฎร์ธานี พิจิตร อ่างทอง กาญจนบุรี ชัยนาท สระบุรี
ภูเก็ต นครราชสี มา ตรัง ระนอง ยะลา เชียงราย สมุทรสงคราม อานาจเจริ ญ
พระนครศรี อยุธยา ปทุมธานี สุพรรณบุรี อุตรดิตถ์ สุโขทัย มุกดาหาร พะเยา ชัยภูมิ
มหาสารคาม นราธิวาส ลาปาง อุทยั ธานี ลาพูน เลย ขอนแก่น
L
ระยอง สมุทรสาคร จันทบุรี กระบี่ ฉะเชิงเทรา ราชบุรี นครสวรรค์ ตราด ปราจีนบุรี ร้ อยละ 20
(MEDIAN ของอัตราอัตรา ลพบุรี กรุ งเทพมหานคร สงขลา ตาก สมุทรปราการ นครปฐม กาแพงเพชร
ป่ วยย้อนหลัง 5 ปี สูงกว่า
150 ต่อแสนประชากร)
หมายเหตุ รายชื่อจังหวัดอาจมีการเปลีย่ นแปลงในแต่ ละปี ตามข้ อมูลการระบาด
เป้ าหมายรายปี
• จานวนผูป้ ่ วยในช่วงเดือน พฤษภาคม - สิ งหาคม (เฉลี่ย 55% ของผูป้ ่ วย
ทั้งปี ) ลดลงเมื่อเทียบกับจานวนผูป้ ่ วยในแต่ละปี
– 1. จังหวัดที่มีค่า MEDIAN ของอัตราอัตราป่ วยย้อนหลัง 5 ปี ต่ากว่า 50 ต่อ
แสนประชากร ให้ลดลงปี ละ 2% (55 ->45)
– 2. จังหวัดที่มีค่า MEDIAN ของอัตราอัตราป่ วยย้อนหลัง 5 ปี ระหว่าง 50-150
ต่อแสนประชากร ให้ลดลงปี ละ 3% (55 ->40)
– 3. จังหวัดที่มีค่า MEDIAN ของอัตราอัตราป่ วยย้อนหลัง 5 ปี สูงกว่า 150 ต่อ
แสนประชากรขึ้นไป ให้ลดลงปี ละ 4% (55 ->35)
• อัตราป่ วยตาย ไม่เกินร้อยละ 0.11
เป้ าหมายรายปี
เป้ าหมายรายปี
ลดลง %
57
58
59
60
61
S
(MEDIAN ของอัตราอัตราป่ วย
ย้อนหลัง 5 ปี ต่ากว่า 50 ต่อแสน
ประชากร) ลดลงร้อยละ 2
53
51
49
47
45
M
(MEDIAN ของอัตราอัตราป่ วย
ย้อนหลัง 5 ปี ระหว่าง 50 - 150 ต่อ
แสนประชากร) ลดลงร้อยละ 3
L
(MEDIAN ของอัตราอัตราป่ วย
ย้อนหลัง 5 ปี สูงกว่า 150 ต่อแสน
ประชากร) ลดลงร้อยละ 4
52
49
46
43
40
51
47
43
39
35
ปัจจัยเสี่ ยง
ปั จจัยที่มีความสาคัญต่อการแพร่กระจายของโรคมีความซับซ้ อนและ
แตกต่างกันในแต่ละพื ้นที่ คือ
• ภูมิต้านทานของประชาชน
• ชนิดของเชื ้อไวรัสเดงกี
• ความหนาแน่นของประชากร
• การเคลื่อนย้ ายของประชากร
• สภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง
• ชนิดของยุงพาหะ มียงุ พาหะกระจายอยูท่ กุ พื ้นที่ของประเทศ
ปัจจัยเสี่ ยง (ต่ อ)
• ประชาชนขาดความรู้ความเข้ าใจ และความตระหนักในการกาจัดแหล่ง
เพาะพันธุ์ลกู น ้ายุงลายอย่างต่อเนื่องและจริงจัง
• การมีสว่ นร่วมของชุมชนในการป้องกันควบคุมโรคไม่ตอ่ เนื่อง
• เจ้ าหน้ าที่/ เครื อข่าย อปท. ในพื ้นที่ขาดทักษะความรู้และไม่ดาเนินการ
ควบคุมโรคอย่างจริงจังตามระบบมาตรการการควบคุมโรคและนโยบาย
ของผู้บริหาร
• การเพิ่มขึ ้นของชุมชนเมืองและแหล่งท่องเที่ยว
• ระบบการใช้ ข้อมูลในการพยากรณ์โรคยังไม่ครอบคลุม
• ศูนย์บริการวิชาการด้ านโรคติดต่อนาโดยแมลงยังไม่ครอบคลุมทุกแห่ง
แนวโน้ มของปัญหา
• จากรู ปแบบของการระบาดโรคไข้เลือดออก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 – ปัจจุบนั
การระบาดสูงสุ ดเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2553 ส่ วนในปี 2554 และปี 2555
ผูป้ ่ วยมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่องโดยคาดว่าในปี 2557 จะมีจานวน
ผูป้ ่ วยเพิม่ สูงขึ้น ประมาณ 90,000 – 100,000 ราย และคาดจะมีจานวน
ผูป้ ่ วยที่เสี ยชีวิตไม่เกินร้อยละ 0.12
• คาดว่าอัตราการป่ วยสูงสุ ดน่าจะอยูใ่ นกลุ่มอายุ 10-14 ปี และ15-24 ปี
ตามลาดับ และมีแนวโน้มว่าอัตราการป่ วยในกลุ่มวัยผูใ้ หญ่มแี นวโน้ม
สูงขึ้น
กลุ่มเป้ าหมาย
ประชาชนกลุ่มเป้ าหมาย 5 ร (ทั้งในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล)
1. โรงเรื อน
2. โรงเรี ยน
3. โรงแรม
4. โรงพยาบาล
5. โรงธรรม (วัด)
มาตรการ / กิจกรรมหลัก
1. ส่ งเสริ ม สนับสนุนองค์ความรู ้ และการใช้เทคโนโลยีการควบคุมโรคไข้เลือดออก
2. พัฒนาภาคีเครื อข่ายเพื่อการเฝ้ าระวัง ป้ องกันควบคุมและตอบโต้ภาวการณ์ระบาดโรค
ไข้เลือดออกทั้งในและนอกประเทศ
3. ส่ งเสริ มการบริ หารจัดการ และพัฒนาบุคลากรในการเฝ้ าระวัง ป้ องกัน ควบคุม ตอบโต้
ถ่ายทอดความรู ้ดา้ นโรคไข้เลือดออกให้มีมาตรฐานสากล
4. การเร่ งรัดการดาเนินงานอาเภอเข้มแข็งอย่างยัง่ ยืนเพื่อป้ องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
5. พัฒนากลไกระบบการติดตามประเมินผลที่มีประสิ ทธิ ภาพ
6. การควบคุมพาหะนาโรคโดยใช้กระบวนการจัดการพาหะนาโรคแบบผสมผสาน (IVM)
7. เร่ งรัดการสื่ อสารเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้ าหมาย
จุดเน้ น/ มาตรการที่จะดาเนินงานในปี 2557
1.
อาเภอเข้ มแข็งป้องกันควบคุมโรคไข้ เลือดออก (ย.1, ย.5)
1.1 วิเคราะห์ ปัญหา สถานการณ์ โรคไข้ เลือดออก
1.2 การวางแผนการจัดการ
1.2.1 เครื อข่ ายระดับท้ องถิ่น อบต./ อปท. ดาเนินการนาการจัดการพาหะนาโรคแบบผสมผสานไป
ใช้ ในการควบคุมยุงพาหะ
1.2.2 เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้ เลือดออก ในกลุ่มเป้าหมาย ( 5 ร : โรงเรื อน โรงเรี ยน โรงแรม
โรงพยาบาล โรงธรรม )
1.2.3 สร้ างกระบวนการมีส่วนร่ วมของชุมชนให้ เข้ มแข็ง
1.3 ประเมินผลการป้องกันควบคุมโรคไข้ เลือดออก
2. ส่ งเสริมให้ ประชาชนมีส่วนร่ วม
ในการป้องกันควบคุมโรค
ไข้ เลือดออก (สื่อ รณรงค์
MOU) (ย.3)
3. พัฒนาศูนย์ ข้อมูลข่ าวกรอง
พยากรณ์ และเตือนภัยโรค
ไข้ เลือดออก (ย.2, ย.4, ย.5)
มาตรการโรค
ไข้ เลือดออก
4. พัฒนากลไกและขัน้ ตอนการ
เตรี ยมความพร้ อมตอบโต้ ภาวะ
ฉุกเฉินโรคติดต่ อนาโดยแมลง
(ย.4)
6. พัฒนาศูนย์ ความเป็ นเลิศ
ทางวิชาการโรคติดต่ อนาโดย
แมลง (ย.2)
5. พัฒนาองค์ ความรู้ /
เทคโนโลยีท่ ที ันสมัยในการเฝ้า
ระวังป้องกันควบคุมโรค
ไข้ เลือดออก (ย.2)
มาตรการและตัวชี้วดั มาตรการ
1. อำเภอเข้ มแข็งป้ องกันควบคุมโรคไข้ เลือดออก
เน้นบูรณาการงานใน
กิจกรรม
อาเภอ 1 Package/ 1 อาเภอ
• วิเคราะห์ปัญหา สถานการณ์โรคไข้เลือดออก
• การวางแผนการจัดการ
- เครื อข่ายระดับท้องถิ่น อบต./ อปท. ดาเนินการนาการจัดการพาหะนาโรคแบบ
ผสมผสานไปใช้ในการควบคุมยุงพาหะ
- เฝ้ าระวังป้ องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ในกลุ่มเป้ าหมาย ( 5 ร : โรงเรี ยน โรงแรม
โรงธรรม โรงพยาบาล โรงงาน)
- สร้างกระบวนการมีส่วนร่ วมของชุมชนให้เข้มแข็ง
- ประเมินผลการป้ องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
Integrated Vector Management(IVM)
การจัดการพาหะนาโรคแบบผสมผสาน
คือกระบวนการตัดสิ นใจอย่ างมีเหตุผลเพือ่ ให้ มีการใช้
ทรัพยากรอย่ างเหมาะสมในการควบคุมพาหะนาโรค เพือ่ ลด
หรือหยุดยั้งการแพร่ เชื้อโรค
วัตถุประสงค์ ของ IVM ในประเทศไทย
- เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่ วมต่อการควบคุมแมลงพาหะนาโรค
- เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการควบคุมแมลงพาหะนาโรค
- เพื่อนามาตรการที่เหมาะสมมาผสมผสานอย่างเป็ นระบบ
โดยคานึงถึงความปลอดภัยต่อ คน สัตว์ สิ่ งแวดล้อม
- เพื่อใช้สารเคมีอย่างสมเหตุสมผล
Integrated Vector Management (IVM)
คุณลักษณะของ (IVM) ประกอบด้ วย
• เลือกสรรวิธีการควบคุมพาหะนาโรค ภายใต้ความรู ้ทางชีววิทยาของพาหะ
การแพร่ เชื้อ และการเกิดโรค
• ดาเนินการควบคุมโดยใช้หลายวิธีที่สอดรับกัน
• มีการร่ วมมือกันระหว่างหน่วยงานสาธารณสุ ข ส่ วนราชการอื่น องค์กร
เอกชนที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย
• มีขอ้ ตกลงภายในชุมชนและผูม้ ีส่วนได้เสี ยต่อการควบคุมพาหะนาโรค
• ดาเนินการภายใต้แนวทางสาธารณสุ ขและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
• ใช้สารเคมีอย่างสมเหตุสมผล
• ภายใต้การบริ หารจัดการที่ดี
ขั้นตอนการดาเนินงาน IVM ของท้ องถิ่น
•
ทบทวนกรอบและศักยภาพการดาเนินงานของท้องถิ่น
•
วิเคราะห์สถานการณ์โรคติดต่อนาโดยแมลงและการควบคุมแมลง
นาโรคในท้องถิ่น
•
กาหนดเป้ าประสงค์
•
กระบวนการจัดการพาหะนาโรค
•
การติดตามและประเมินผลการจัดการพาหะนาโรค