การพยาบาลแบบองค์รวม (Holistic Nursing)

Download Report

Transcript การพยาบาลแบบองค์รวม (Holistic Nursing)

การพยาบาลแบบองค ์รวม
(Holistic Nursing)
อ.ดร. จันทร ์ทิรา เจียรณัย
สานักวิชาพยาบาลศาสตร ์
้
เค้าโครงเนื อหา
แนวคิดองค ์รวม
• ความหมายองค ์รวม
่
• ทฤษฎีทเกี
ี่ ยวข
้องกับแนวคิดองค ์รวม
• ภาวะสุขภาพแบบองค ์รวม
แนวคิดการพยาบาลแบบ
องค ์รวม
• ความหมายการพยาบาลแบบองค ์รวม
• กระบวนการพยาบาลแบบองค ์รวม
่ อท
• ปัจจัยทีมี
ิ ธิพลต่อการพยาบาลแบบ
องค ์รวม
• ข ้อจากัดในการปฏิบต
ั ก
ิ ารพยาบาล
แบบองค ์รวมและแนวทางแก ้ไข
• การพัฒนาศิลปะในการดูแล
ผูร้ ับบริการแบบองค ์รวม
แนวคิดการดู แลด้วยหัว
ใจความเป็ นมนุ ษย ์
่
• แนวคิดความเป็ นมนุ ษย ์ทีสมบู
รณ์
• การดูแลด ้วยหัวใจความเป็ นมนุ ษย ์
แนวคิดองค์รวม
้
• แนวคิดองค ์รวมเป็ นปร ัชญาพืนฐานทางด
้าน
่ ความสาคัญใน
สังคมศาสตร ์ และมนุ ษยศาสตร ์ทีมี
่
การศึกษาทาความเข ้าใจเกียวกั
บมนุ ษย ์ คาว่าองค ์
้ สมัยกรีกโบราณ
รวมถูกกล่าวถึงในทางสุขภาพตังแต่
้
่
• ในปัจจุบน
ั นี แนวคิ
ดดังกล่าวได ้ร ับความสนใจเพิมมาก
่ น้ โดยเฉพาะในบริบททางสุขภาพมีการ
ยิงขึ
่
กล่าวถึงในเรืองการดู
แลสุขภาพแบบองค ์รวม
(Holistic care) การแพทย ์แบบองค ์รวม (Holistic
medicine) และการพยาบาลแบบองค ์รวม
(Holistic nursing)
การพยาบาลแบบองค์รวม
•
•
•
•
•
การดูแลบุคคลทางด ้านร่างกาย จิตใจ สังคมและจิต
วิญญาณ
่ ้ความสนใจและ
ปัจจุบน
ั บุคลากรทางด ้านสุขภาพเริมให
กล่าวถึงมิตข
ิ องความเป็ นองค ์รวมมากขึน้ โดยเฉพาะการ
ดูแลในมิตด
ิ ้าน จิตวิญญาณ
จิตวิญญาณเปรียบเหมือนแหล่งของความหมาย
่ ดเหนี่ ยวจิตใจทีช่
่ วยให ้บุคคล
ความหวัง กาลังใจหรือเครืองยึ
สามารถก ้าวผ่านปัญหา อุปสรรค ความยากลาบากและ
ความยุง่ ยากในชีวต
ิ
่ นทังตั
้ วเชือมประสานกั
่
จิตวิญญาณทาหน้าทีเป็
บ
่ ของบุคคล คือทังทางด
้
องค ์ประกอบอืนๆ
้านร่างกาย จิตใจ
และสังคมให ้มีความหมายเป็ น องค ์รวม
่ ส
่ าคัญทีพยาบาลต
่
ดังนั้น จึงเป็ นสิงที
้องให ้การดูแล
การดูแลด ้วยหัวใจความเป็ นมนุษย์
•
•
•
มนุ ษย ์ทุกคนมีองค ์ประกอบสองส่วน คือ จิตกับกาย
่
่ นได ้
คุณค่าสาคัญของมนุ ษย ์ทีแตกต่
างกับสัตว ์ทีเห็
ง่ายๆ คือ ความมีเหตุผล สัตว ์ไม่รู ้จักเหตุผล ไม่มี
เหตุผล
่ ท
่ าให ้มนุ ษย ์มีเหตุผลนั่นคือ มนุ ษย ์มีการใช ้การ
สิงที
่
้ งซึงก็
่ คอื การคิดทังการ
้
ทาหน้าทีของสมองในขั
นสู
้ นฐานและการคิ
้
้ ง จึงทาให ้มนุ ษย ์รู ้จัก
คิดขันพื
ดขันสู
่ ั มีเมตตากรุณา สามารถพัฒนา
ผิดชอบชวดี
่ ้มีชวี ต
่
ตนเองและพัฒนาหรือดูแลบุคคลอืนให
ิ ทีดี
่ นคุณค่า
งาม มีอส
ิ รภาพ มีความสุข ได ้ ซึงเป็
สาคัญของมนุ ษย ์
วัตถุประสงค ์
•
•
่
มีความรู ้ ความเข ้าใจเกียวกั
บแนวคิดองค ์รวม
้
ตระหนักถึงความสาคัญในการดูแลคนทังคนด
้วย
หัวใจความเป็ นมนุ ษย ์
ความหมายองค ์รวม
• Holism เป็ นคานามมาจากภาษาอังกฤษ
้
โบราณคือ คาว่า Hal หมายถึง ทังหมด
่ าบัด (To heal) หรือ
(Whole) หรือเพือบ
ความสุข (Happy) และใช้แทนกันได้ทง้ั
้ องค ์รวม ในภาษาองั กฤษ
สองคา ดังนัน
จึงเขียนได้ทง้ั Holistic หรือ Wholistic
• Holistic มาจากรากศ ัพท ์ภาษากรีกคือ
คาว่า Holos มีความหมายว่า หน่ วยรวม
หรือ องค ์รวม เช่นเดียวกับคาว่า Whole
สรุป
่ เป็
่ นหน่ วยเดียวกัน
• องค ์รวม คือ สิงที
้
โดยรวมทังหมด
ไม่สามารถทาความ
เข้าใจโดยการศึกษาแยกเป็ นส่วนๆ ได้
(Cornman, 2000; Dossey, 2001;
White, 2002)
่
ทฤษฎีทเกี
ี่ ยวข้
องกับแนวคิดองค ์
รวม
• ปร ัชญาตะว ันออก โดยหลักสาคัญของปร ัชญา
่
เน้นเรืองความสมดุ
ลภายในร่างกายของบุคคลที่
่
เชือมโยงกั
บธรรมชาติอย่างกลมกลืน (harmony)
• ทฤษฎีทางการพยาบาล ทฤษฎีทางการพยาบาล
ส่วนใหญ่มค
ี วามสอดคล ้องกับแนวคิดองค ์รวมทาง
สุขภาพ โดยการพยาบาลมุ่งเน้นการดูแลที่
่ วยในการ
ครอบคลุมองค ์รวมของบุคคล ซึงช่
ตอบสนองความต ้องการทางด ้านสุขภาพได ้อย่างมี
่ น้
ประสิทธิภาพมากยิงขึ
ปร ัชญาตะวันออก
้
• ปร ัชญาเล่าจือหรื
อปร ัชญาเต๋า (Tao) ปร ัชญา
่ ้ความสาคัญกับการเข ้าใจธรรมชาติ และ
จีนทีให
่ กอย่างเกียวข
่
สังคม มองทุกสิงทุ
้องสัมพันธ ์กันทัง้
จักรวาล มีความสอดคล ้องกับแนวคิดองค ์รวมอย่าง
่ กอย่างไม่แยกจากกัน
ช ัดเจน ในการมองทุกสิงทุ
่
• ตามแนวคิดของเต๋ามองทุกสรรพสิงในโลกย่
อมเกิด
่
มาคูก
่ น
ั หรือมีความตรงข ้ามกันเสมอ สรรพสิงใน
จักรวาลจะคงอยู่ในสภาพปกติได ้ต ้องอาศัยภาวะ
่ าง
สมดุลของ หยิน (Yin) และ หยาง (Yang) ซึงต่
่ นและกัน
ฝ่ ายต่างสนับสนุ นซึงกั
้
ปร ัชญาเล่าจือหรื
อปร ัชญาเต๋า
(Tao)
• หากปริมาณหรือดุลภาพของฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ งมี
อัตราส่วนมากกว่า ก็จะมีผลกระทบต่อภาวะสมดุล
• เพศหญิง ความมืด ความเย็น
• เพศชาย แสงสว่าง ความร ้อน
• การดูแลร ักษาสุขภาพตามแนวคิดปร ัชญาเต๋า คือ
่
การคงไว ้ซึงภาวะสมดุ
ล และลักษณะตามธรรมชาติ
ของชีวต
ิ มนุ ษย ์นั่นเอง
้
ปร ัชญาเล่าจือหรื
อปร ัชญาเต๋า
(Tao)
้ งให ้ความสาคัญกับพลังทีอยู
่ ่ภายในตัว
• นอกจากนี ยั
่ ยกว่า ชี่ (Chi)
บุคคลทีเรี
่ การไหลเวียนของชีเป็
่ น
• ภาวะสมดุลจึงเป็ นภาวะทีมี
่
ปกติ ซึงสามารถส่
งเสริมโดยการออกกาลังกายแบบ
จีน เช่น การรามวยจีน
ปร ัชญาอินเดีย
• กล่าวถึงความสาคัญของหลักการทางแพทย ์ของอินเดียที่
เรียกว่า “อายุรเวท”
• โดยเน้นความสมดุลของพลังงาน 3 ส่วนในร่างกาย หรือ ตรี
โทษะ คือวาตะ ปิ ตตะ และ กะผะ
• นอกจากนั้นยังแบ่งองค ์ประกอบของมนุ ษย ์ 4 ประการ คือ 1)
ร่างกาย 2) จิตใจ 3) วิญญาณและสติสม
ั ปชัญญะ และ 4)
ปัจจัยทัง้ 5 (ดิน นา้ ลม ไฟ และอากาศธาตุ)
• ปร ัชญาอินเดียจึงให ้ความสาคัญกับหลักสมดุลของพลังงาน
ทัง้ 3 ส่วนในร่างกาย และสมดุลขององค ์ประกอบต่างๆ 4
ประการ
ปร ัชญาพุทธ
• หลักทางศาสนาพุทธให ้ความสาคัญกับธรรมชาติที่
่ างๆ อย่างสมดุลเพือสร
่
เป็ นผลรวมของสิงต่
้างชีวต
ิ
• องค ์รวมของบุคคลมีองค ์ประกอบ 2 ประการ คือ รูป
และนาม
่ คอื ผลรวมของสิงต่
่ างๆ อย่างสมดุล คือ ขันธ ์ 5
• ซึงก็
ได ้แก่ กาย เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ
(มหาจรรยา, 2543)
• องค ์รวมทางธรรมะ เรียกว่า อิทป
ั ปัจจยตา
้ ง่
• กระบวนการแห่งเหตุ และปัจจัยอาศัยการเกิดขึนซึ
่ นทีมา
่
กันและกัน (Cause & Condition) ซึงเป็
องค ์รวมทางธรรมะ เรียกว่า อิ
ทัปปั จจยตา
องค ์รวมทางธรรมะ
ทฤษฎีทางการพยาบาล
• ทฤษฎีทางการพยาบาลของฟลอเรนซ ์ ไนติง
เกล
่
• เน้นหลักการพยาบาลเกียวกับการดู
แล และจัด
่
สิงแวดล้
อมให้ผูป
้ ่ วยอย่างเหมาะสม
• จัดให้ผูป
้ ่ วยได้ร ับน้ า อาหาร อากาศ แสงแดด
่
่
่
สิงแวดล้
อมทีสะอาดและเงี
ยบสงบ เพือให้
ผูป
้ ่ วย
ได้ร ับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
่ าสิงเหล่
่
้
• โดยเชือว่
านี จะช่
วยให้ผูป
้ ่ วยหายจาก
ภาวะเจ็บป่ วยได้เอง แสดงว่าไนติงเกลก็มองเห็น
ทฤษฎีระบบของโรเจอร ์
่ ยวข้
่
• บุคคลทีเกี
องกับระบบโดยความเป็ น
องค ์รวมมีลก
ั ษณะเฉพาะ
• แสดงออกในรู ปของสนามพลังงานของ
ชีวต
ิ หน่ วยเดียว
• เราจึงไม่สามารถเข้าใจบุคคลจาก
การศึกษาส่วนประกอบทางชีวภาพหรือ
จิตสังคมมารวมกัน
้ งต้องคานึ งถึงลักษณะเฉพาะของ
• ดังนันจึ
่ ปฏิสม
บุคคลในรู ปของพลังซึงมี
ั พันธ ์กับ
ทฤษฎีการปร ับตัวของรอย
่ นองค ์รวม
• บุคคลเป็ นระบบการปร ับตัวทีเป็
(Holistic adaptive system)
• หลักการพยาบาลเน้นการส่งเสริมการ
่
ปร ับตัวของบุคคลทัง้ 4 ด้าน เพือให้
มส
ี ุข
ภาวะครบองค ์รวม
ทฤษฎีการปร ับตัวของรอย
ทฤษฎีของลีวน
ี (Levine, 1971) และ
พาเซ (Parse, 1981)
• ให้ความสาค ัญองค ์รวมของบุคคล
จากการผสมผสานส่วนประกอบ 3
ส่วนคือ ร่างกาย จิต และจิต
วิญญาณ
• โดยเป็ นเป้ าหมายสู งสุดในการดู แล
้ เพื
้ อให้
่
ทางการพยาบาล ทังนี
บุคคล
่
สามารถดารงอยู ่ในสิงแวดล้
อมได้
อย่างปกติสุข
ทฤษฎีของนิ วแมน (Neuman,
1995)
• ให้ความสาค ัญกับองค ์ประกอบหลัก
ของบุคคลทัง้ 4 มิต ิ
• การพยาบาลเน้นการให้การดู แลแบบ
องค ์รวม
่ กคามทีเกิ
่ ดจาก
• ปกป้ องสิงคุ
่
้
สิงแวดล้
อมทังภายใน
และภายนอก
ทฤษฎีระบบพฤติกรรมของจอห ์น
สัน
• มีแนวคิดว่าบุคคลเป็ นระบบพฤติกรรม
(Behavior system)
• ประกอบด้วย ระบบย่อยๆ 7 ระบบ โดยมี
่
ปฏิสม
ั พันธ ์และพึงพากันและกันตลอดทั
ง้ 7
ระบบ
่
• ระบบการร ับเข้า ระบบการพึงพา
ระบบการ
่
สัมพันธ ์ซึงกันและกัน
ระบบสืบพันธุ ์ ระบบ
การขับหลัง่ ระบบก้าวหน้าและการป้ องกัน
และระบบความสาเร็จ
่
• การพยาบาลมุ่งทีจะช่
วยให้ระบบต่างๆ มี
ทฤษฎีการดู แลมนุ ษย ์ของวัทสัน
• ให้ความสาคัญกับปฏิสม
ั พันธ ์ระหว่าง
่ นการผสมผสาน
บุคคล ซึงเป็
ส่วนประกอบ 3 ส่วน
่
• ร่างกาย จิต และจิตวิญญาณทีจะเป็
น
เป้ าหมายสู งสุดในการดู แลทางการ
พยาบาล
ทฤษฎีการดู แลตนเองของโอเร็ม
่
• มีแนวคิดเกียวกั
บบุคคลว่าเป็ นองค ์รวม
่ ครบถ้วนทัง้
โดยสามารถทาหน้าทีได้
ทางด้านชีวภาพ ด้านสัญลักษณ์และ
ด้านสังคม
• หลักการพยาบาลเน้นความสามารถของ
้
บุคคลในการดู แลตนเองเป็ นพืนฐาน
สาคัญ
้ มี
้ ความเชือว่
่ ามนุ ษย ์มีศ ักยภาพ และ
• ทังนี
ภาวะสุขภาพแบบองค ์รวม
(Holistic health)
่ ดล
• ภาวะสุขภาพทีมี
ุ ยภาพครบ
องค ์ประกอบของบุคคลทุกมิต ิ คือ มิตด
ิ า้ น
กาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ
่ เกี
่ ยวข้
่
• และต้องพิจารณาทุกสิงที
อง
้
สัมพันธ ์กันทังหมด
่ วบุคคลมากกว่าการเจ็บป่ วยหรือ
• เน้นทีตั
อาการของโรค
• สอดคล้องกับความหมายภาวะสุขภาพ
่ องการให้
ขององค ์การอนามัยโลก ทีต้
นพ.ประเวศ วะส ี
่ นอยู
้
• สภาวะทีขึ
่กบั ปฏิสม
ั พันธ ์อันละเอียดอ่อนระหว่าง
กาย จิต สังคมและจิตวิญญาณ ไม่ใช่มแี ต่เฉพาะ
่
เรืองกายหรื
อชีววิทยาเท่านั้น และให ้รูปแบบแนวคิด
่
่ การเชือมโยงของกาย
่
เกียวกั
บองค ์รวมของมนุ ษย ์ทีมี
จิต สังคม และจิตวิญญาณ
้ั งสุด
• โดยมิตท
ิ างด ้านจิตวิญญาณเป็ นมิตท
ิ อยู
ี่ ่ขนสู
่
และมีความสาคัญต่อการประสานเชือมโยงให
้ทุกมิต ิ
ร ักษาสภาวะสมดุลของร่างกายสูส
่ ภาวะอันจะช่วยให ้
มนุ ษย ์มีความสมดุลแบบองค ์รวม
ปฏิสม
ั พันธ ์ระหว่างกาย จิต สังคมและจิต
วิญญาณ
สุขภาวะ
ทาง จิต
วิญญาณ
สุขภาวะทางส ังคม
สุขภาวะทางจิตใจ
สุขภาวะทางกาย
ภาวะสุขภาพแบบองค ์รวม
(Holistic health)
้ งเป็ นการเน้นถึงทางเลือกของ
• นอกจากนี ยั
กิจกรรมการดูแลตนเอง และความสัมพันธ ์
ระหว่างผู ใ้ ห้การดูแลสุขภาพ และผู ใ้ ช้บริการ
่
่
• ซึงสอดคล้
องกับแนวคิดของฟิ งก ์ ทีให้
ความหมายภาวะสุขภาพแบบองค ์รวม
หมายถึง การรวมแนวคิดทางการแพทย ์เชิง
มานุ ษยนิ ยม (Humanistic medicine) ระบบ
สุขภาพทางเลือก (Alternative health care)
้
การดูแลพืนฐาน
(Primary care) และการ
่
ปร ับเปลียนสั
มพันธภาพระหว่างผู ใ้ ห้บริการ
การแพทย ์เชิงมานุ ษยนิ ยม
(Humanistic medicine)
• เป็ นการดูแลร ักษาโดยคานึ งถึงความเป็ น
มนุ ษย ์ ไม่ใช่คานึ งแต่โรค และการวินิจฉัยโรค
• ผู ใ้ ช้บริการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเลือก
ทางเลือกต่างๆ ให้ก ับภาวะสุขภาพของตนเอง
• แพทย ์ต้องกระตุน
้ และสนับสนุ นให้ผูใ้ ช้บริการ
่
มีความร ับผิดชอบเกียวกับภาวะสุ
ขภาพของ
่
้
ตนเองเพิมมากขึ
น
• การร ักษาภาวะสุขภาพเป็ นการร ักษา ภาวะ
สมดุลองค ์รวมของมนุ ษย ์กับสภาพแวดล้อมที่
่
แปรเปลียนไป
ระบบสุขภาพทางเลือก
(Alternaive health care)
่
• แนวทางทีหลากหลายในการร
ักษา
สุขภาพ
• สถาบันสุขภาพแห่งชาติของ
สหร ัฐอเมริกา (National Institute of
Health : NIH) ได้จด
ั ประเภทการดู แล
สุขภาพองค ์รวมแบบทางเลือกออกเป็ น 5
วิธก
ี ารใหญ่ๆ ตามวิธก
ี ารปฏิบต
ั ิ
ระบบการแพทย ์ทางเลือก
(Alternative medical system
• โฮมีโอพาธิท (Homeopathic
medicine)
• การร ักษาตามธรรมชาติ
(Naturopathic medicine)
• วิธก
ี ารร ักษาของแพทย ์แบบตะวันออก
เช่น อายุรเวท (Ayurveda)
่
การบาบัดร ักษาเชือมโยงกาย-จิ
ต
(Mind-body intervention)
• กลุ่มบาบัด
• การบาบัดทางพฤติกรรมและการร ับรู ้
(Cognitive-behavioral therapy)
้
• รวมทังการท
าสมาธิ การสวดมนต ์
• ดนตรีบาบัด
• การเต้นรา
การบาบัดทางชีวภาพ
(Biologically based therapies)
• วิธก
ี ารทางโภชนบาบัด (Dietary
supplements)
• Macrobiotic Diet
การเยียวยาด้วยมือ
• การนวด (Massage)
• ไคโอแพรคติค (Chiropractic)
การใช้พลังบาบัด
•
•
•
•
่ (qi gong)
ชีกง
ไรกี่ (Reiki)
สัมผัสบาบัด (Therapeutic touch)
พลังงานสนามแม่เหล็ก (Magnetic
fields)
้
การดู แลพืนฐาน
(Primary care)
• การดู แลร ักษาปั ญหาสุขภาพกันเอง
ภายในชุมชนและสังคม เช่น การดู แล
ตนเอง กลุ่มช่วยเหลือตนเอง
่
การปร ับเปลียนสั
มพันธภาพระหว่างผู ้
ให้บริการ และผู ใ้ ช้บริการ
(Altered provider-patient
relationships)
่ าเป็ นสิงที
่ มี
่
• ฟิ งก ์ (Fink) เชือว่
ความสาคัญต่อสุขภาพแบบองค ์รวมมาก
่ ด เพราะเป็ นการเน้นความเป็ นอิสระ
ทีสุ
ในการดู แลสุขภาพตนเอง
่ ดขึนเปรี
้
• สัมพันธภาพทีเกิ
ยบเสมือน พ่อแม่ให้การดู แลบุตร
่
• การปร ับเปลียนสั
มพันธภาพระหว่างผู ้
ให้บริการ และผู ใ้ ช้บริการตามแนวคิด
สุขภาพแบบองค ์รวม คือ ผู ใ้ ห้บริการเป็ น
มุมมองสุขภาพแบบองค ์รวมใน
ประเทศไทย
• การคลอดบุตร ทุกคนในครอบคร ัวจะมีส่วน
่ อง จะอยู ่พร ้อม
ช่วยโดยเฉพาะสามี ญาติ พีน้
หน้าก ัน ผู ค
้ ลอดจึงสามารถรู ้สึกได้ถงึ ความ
่
์รวม
อบอุน
่ แสดงให้เห็นถึงความเชือมโยงองค
ของบุคคลอ ันส่งผลดีตอ
่ ภาวะสุขภาพ
• มีนโยบายต่างๆ เข้ามาสนับสนุ นแนวคิดการ
่ น
้
ดูแลสุขภาพแบบองค ์รวมให้ช ัดเจนยิงขึ
• พระราชบัญญัตส
ิ ุขภาพแห่งชาติ มีนโยบาย
เน้นการสร ้างสุขภาพมากกว่าการซ่อม
สุขภาพให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพและ
่
้
พึงตนเองมากขึ
น
มุมมองสุขภาพแบบองค ์รวมใน
ประเทศไทย
• การผสมผสานการแพทย ์แผนไทยเข้ากับแผน
ปั จจุบน
ั แนวคิดธรรมชาติบาบัด และการ
ฟื ้ นฟู การแพทย ์แผนไทย
้
• นโยบายและโครงการต่างๆ เหล่านี ให้
่ ารงไว้
ความสาค ัญกับการสร ้างสุขภาพ เพือด
่ ขภาวะทุกมิต ิ และคานึ งถึงความ
ซึงสุ
สอดคล้องตามวิถก
ี ารดาเนิ นชีวต
ิ ในบริบททาง
สังคม
• ช่วยให้ประชาชนมีทางเลือกในการดูแล
่ และความ
สุขภาพของตนเองตามความเชือ
่
้
ต้องการของตนเองเพิมมากขึ
น
แนวคิดการพยาบาลแบบองค ์รวม
่
• การพยาบาลเป็ นศาสตร ์หนึ่ งทีให้
ความสาคัญกับการนาแนวคิดองค ์
รวมเข้ามาประยุกต ์ใช้ในการดู แล
้
สุขภาพของมนุ ษย ์ตังแต่
สมัยฟลอเรนซ ์
ไนติงเกล
• ให้ความสนใจป้ องกันสภาพแวดล้อมทาง
ธรรมชาติทมี
ี่ ผลต่อโรค
่
้ นการพิจารณาองค ์
• ความเกียวข้
องนี เป็
รวมของผู ป
้ ่ วย ได้แก่ กาย จิต สังคม
แนวคิดการพยาบาลแบบองค ์รวม
• การพยาบาลแบบองค ์รวมจึงเป็ น
้
ปร ัชญาพืนฐานในการให้
การ
พยาบาลต่อผู ใ้ ช้บริการ และเป็ น
่ าค ัญในการบ่งบอกถึง
มาตรฐานทีส
คุณภาพการดู แลทางการพยาบาล
ความหมายการพยาบาลแบบองค ์
รวม
่ แลคนทังคน
้
• การปฏิบต
ั ก
ิ ารพยาบาลทีดู
(Whole person) โดยครอบคลุม
องค ์ประกอบทัง้ 4 มิต ิ คือ กาย จิต
สังคม และจิตวิญญาณ รวมทัง้
่
่ อมโยงกั
่
สิงแวดล้
อมทีเชื
นอย่างสมดุล
เน้นการดู แลให้ครบทุกส่วนไม่แยกจาก
กัน
้
่ ยวข้
่
• ตลอดทังการค
อง
านึ งถึงทุกฝ่ายทีเกี
้ ด
ทังผู
้ ู แล และผู ร้ ับการดู แล โดยใช้
แนวคิดการพยาบาลแบบองค ์รวม
่ ่งสนองความต้องการของ
• แนวคิดทีมุ
มนุ ษย ์
่
ัยการปร ับตัวของบุคคล
• แนวคิดทีอาศ
• แนวคิดการมองมนุ ษย ์ในรู ปพลังงาน
ภาวะสุขภาพแบบองค ์รวมสู ่การ
พยาบาลแบบองค ์รวม
• การพยาบาลแบบองค ์รวมเป็ นปร ัชญา
วิธก
ี ารดู แล การอานวยความสะดวก
่
เพือให้
เกิดการผสมผสานระหว่าง กาย
่
จิต สังคม จิตวิญญาณ และสิงแวดล้
อม
่ ่รอบตัวให้ภาวะสุขภาพของบุคคลอยู ่
ทีอยู
ในภาวะสมดุล
• โดยเน้นผู ใ้ ช้บริการเป็ นศู นย ์กลาง เน้น
่
้
การตระหนักเกียวกั
บตนเองบนพืนฐาน
ปร ัชญาองค ์รวม
ภาวะสุขภาพแบบองค ์รวมสู ่การ
พยาบาลแบบองค ์รวม
• การพยาบาลแบบองค ์รวมต้องคานึ งถึง
การให้ผูใ้ ช้บริการเป็ นผู ร้ ับผิดชอบ
่
เกียวกั
บสุขภาพของตนเอง โดยการ
่
ส่งเสริมสุขภาพ การให้ความรู ้เพือให้
สามารถเยียวยาร ักษาสุขภาพของตนเอง
ได้
ภาวะสุขภาพแบบองค ์รวมสู ่การ
พยาบาลแบบองค ์รวม
่ มี
่
• ประสบการณ์การเจ็บป่ วยเป็ นสิงที
คุณค่า ทาให้มโี อกาสทาความเข้าใจ
่ นการช่วยส่งเสริมการดู แล
ตนเอง ซึงเป็
่ น
้
ตนเอง และร ับผิดชอบตนเองมากยิงขึ
• พยาบาลต้องคานึ งถึงศ ักยภาพในการ
่ อยู ่
ดู แลสุขภาพของผู ใ้ ช้บริการ ซึงมี
ตามธรรมชาติในแต่ละบุคคล
สรุป
• การพยาบาลแบบองค ์รวมเป็ นการ
้
ตอบสนองความต้องการคนทังคน
่ าคัญคือ
ครอบคลุมองค ์ประกอบหลักทีส
กาย จิต สังคม จิตวิญญาณ และ
่
่ ยวข้
่
สิงแวดล้
อมรอบตัวทีเกี
องให้อยู ่ใน
ภาวะสมดุล เน้นการมีส่วนร่วมในการ
ร ับผิดชอบดู แลภาวะสุขภาพของตนเอง
่
้ อให้
้ เพื
ผูใ้ ช้บริการมี
ตามศ ักยภาพ ทังนี
สุขภาวะ และสามารถดาเนิ นชีวต
ิ ใน
การปฏิบต
ั ก
ิ จ
ิ กรรมการพยาบาล
แบบองค ์รวม
• การพยาบาลด้านร่างกาย การช่วยเหลือดูแล
ผูใ้ ช ้บริการให ้มีความสุขสบายทางกาย เป็ นการ
้
ตอบสนองความต ้องการพืนฐาน
ทาให ้ร่างกายอยู่ใน
่
สภาวะทีสมดุ
ล การดูแลทางด ้านร่างกายจึงเป็ นการ
้ นฐานที
้
่ ความสาคัญในการช่วยตอบสนอง
ดูแลขันพื
มี
่
่ ผลคุกคามต่อชีวต
การเปลียนแปลงที
มี
ิ เช่น ภาวะ
ช็อก หมดสติ หรือมีอาการช ัก
่
• เมือภาวะสุ
ขภาพทางกายดีแล ้วนั้น บุคคลจะ
่
สามารถปร ับตัวเข ้ากับการเปลียนแปลงของ
่
สิงแวดล
้อมทางสังคมได ้อย่างผาสุกต่อไป
การปฏิบต
ั ก
ิ จ
ิ กรรมการพยาบาล
แบบองค ์รวม
• การพยาบาลด้านจิตสังคม
่ ความเกียวข
่
• การดูแลด ้านจิตใจ การดูแลทีมี
้องกับ
่ ่น ความเห็นอกเห็นใจ
อารมณ์ ได ้แก่ ความเชือมั
ความเข ้าใจ ความเป็ นมิตร ความเป็ นกันเอง ความ
้
อดทน รวมทังการตระหนั
กถึงความต ้องการของ
ผูใ้ ช ้บริการ
• การดูแลด ้านสังคม ได ้แก่ การสร ้างสัมพันธภาพ
การตอบปัญหา การเปิ ดโอกาสให ้ผูป้ ่ วยตัดสินใจ
่
การสือสาร
การให ้กาลังใจ การร ับฟัง
การพยาบาลด้านจิตสังคม
่ าวถึงการพยาบาลด้าน
• องค ์ประกอบทีกล่
จิตสังคม
– การดูแลด้านอารมณ์
– การให้ขอ
้ มู ลข่าวสาร
่ กษา และ
– การเป็ นทีปรึ
– การควบคุมสภาวะจิตใจ
(Nichols, 1984)
การพยาบาลด้านจิตสังคม
่
• ผูป้ ่ วยต ้องการให ้พยาบาลมีความพร ้อมทุกขณะทีจะ
่
ให ้การช่วยเหลือผูบ้ าดเจ็บ ต ้องการสัมพันธภาพทีดี
่
ระหว่างผูบ้ าดเจ็บและพยาบาล โดยเฉพาะในเรือง
่ างสุภาพ และให ้เกียรติ ปัญหา
ของการเรียกชืออย่
ในการดูแลมิตจิ ต
ิ สังคม
่
– พบว่า ถึงแม้วา่ พยาบาลจะให ้การดูแลด ้านจิตสังคมเพิม
มากขึน้ แต่ยงั ไม่สามารถดูแลได ้อย่างครอบคลุม โดย
สาเหตุสว
่ นใหญ่พบว่า พยาบาลยังไม่เห็น
้ ้
ความสาคัญของการพยาบาลแบบองค ์รวม ทังนี
จากปั จจัยแวดล้อม คือ การมีภาระงานมาก และ
่ าก ัด จึงต้องทางานอย่างเร่ง
การมีอ ัตรากาลังทีจ
การพยาบาลด้านจิตสังคม
้
• นอกจากนี ในการให้
การพยาบาลด้านจิต
้
สังคมยังต้องคานึ งถึงพืนฐานของบุ
คคล ได้แก่
เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์
ความรุนแรงของการเจ็บป่ วย เพราะมีผลต่อ
่
การร ับรู ้การปฏิบต
ั ก
ิ ารพยาบาลทีแตกต่
างกัน
(บุญวดี และจร ัสศรี, 2540)
การพยาบาลด้านจิตวิญญาณ
่ ความสาคัญต่อความเชือมโยง
่
• เป็ นอีกมิตห
ิ นึ่ งทีมี
่ น้
ความเป็ นองค ์รวมของบุคคลให ้มีคณ
ุ ค่ามากยิงขึ
่
เพราะเป็ นการดูแลมิตท
ิ เกี
ี่ ยวข
้องสัมพันธ ์กับศาสนา
ความเชือ่ ความหวัง ความร ัก ความศร ัทธา
เป้ าหมายของชีวต
ิ และการแสดงออกพฤติกรรม
่ ่สว่ นลึกของบุคคล และส่งผลกระทบ
ความรู ้สึกทีอยู
ต่อกาย และจิตใจ (อาภรณ์, 2544; Tanyi, 2002)
• มิตจิ ต
ิ วิญญาณเป็ นมิตท
ิ พยาบาลยั
ี่
งขาดความรู ้
ความเข ้าใจในการปฏิบต
ั ก
ิ ารพยาบาล (ฉวีวรรณ,
2540; ทัศนี ย ์ และคณะ, 2544; เสาวลักษณ์, 2545;
Kuuppelomaki, 2001; Sellers & Haag, 1998;
การพยาบาลด้านจิตวิญญาณ
• โดยสาเหตุส่วนใหญ่มาจากการมีภาระงาน
มาก การไม่ให้ความสาคัญ และมองข้ามการ
้ ง
พยาบาลด้านจิตวิญญาณ ไม่เข้าใจลึกซึงถึ
จิตวิญญาณ
• พยาบาลใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับการดูแลด้าน
ร่างกาย การดูแลด้านจิตวิญญาณจะกระทา
่
น้อยมาก และกระทาต่อเมือพบว่
า มีปัญหา
หรือได้แก้ไขปั ญหาทางร่างกายแล้ว และยัง
ขาดความต่อเนื่องในการดูแล
้ ขอ
่
• รวมทังมี
้ จากัดด้านสถานทีในการปฏิ
บต
ั ิ
่
่ ักยภาพของ
โปรแกรมเพือเพิ
มศ
พยาบาลในการดู แลผู ป
้ ่ วยด้านจิต
วิญญาณ
• การจัดโปรแกรมการดูแลด้านจิตวิญญาณ
ให้แก่นก
ั ศึกษาระด ับปริญญาโท จานวน 22
ราย เป็ นระยะเวลา 18 สัปดาห ์
• โปรแกรมดังกล่าวประกอบด้วย การบรรยาย
่
ความรู ้ในเรืองจิ
ตวิญญาณ การศึกษาดูงาน
การฝึ กปฏิบต
ั ก
ิ ารพยาบาลด้านจิตวิญญาณ
ให้ก ับผู ป
้ ่ วยในโรงพยาบาล และผู ใ้ ช้บริการ
่ ในชุมชน พร ้อมทังมี
้ การศึกษาเป็ นราย
อืนๆ
กรณี และรายงานผลการศึกษา
• โปรแกรมดังกล่าวช่วยให้นก
ั ศึกษามีความรู ้
ความเข้าใจการดูแลด้านจิตวิญญาณทัง้
การดู แลบริบทแวดล้อมของ
่ ผลต่อความสมดุลของ
ผู ใ้ ช้บริการทีมี
ภาวะสุขภาพ
• การพยาบาลด้านการบาบัดเยียวยา
่ านึ งถึง
• หมายถึง ขบวนการบาบัดเยียวยาทีค
องค ์ประกอบของบุคคลทุกมิตอ
ิ ย่างผสมผสาน
และสมดุล (Dossey, 1995 a) โดยเป็ นการนา
วิธก
ี ารดูแลแบบผสมผสาน
(Complementary therapies) มา
ประยุกต ์ใช้ในการปฏิบต
ั ก
ิ ารพยาบาลที่
่
คานึ งถึงความเป็ นองค ์รวมของบุคคลเพิมมาก
้ (Avis, 2001; Mantle, 2001; Taylor,
ขึน
2002 a; White & Duncan, 2002)
การพยาบาลด้านการบาบัด
เยียวยา
• พยาบาลจะมีบทบาทของการเป็ นผู บ
้ าบัด
เยียวยาร ักษา (Nurse as a healer) ทัง้
่
บทบาทและหน้าทีของผู
ใ้ ห้การสนับสนุ น
ผู ส
้ อน ผู ใ้ ห้ความรู ้ และผู ป
้ ฏิบต
ั ิ ในการ
ดู แลภาวะสุขภาพ โดยให้ความสาคัญกับ
่
ประสบการณ์ คุณค่า และความเชือของ
ผู ใ้ ช้บริการเป็ นสาคัญ
กิจกรรมการบาบัดเยียวยา
่ การใช้ศล
• การฝั งเข็ม การบาบัดด้วยกลิน
ิ ปะ
บาบัด การฝึ กการหายใจ การบาบัดด้วย
ความร ้อน การใช้สมุนไพร การบาบัดด้วย
เสียงหัวเราะ การสร ้างจินตนาการ การฝึ ก
สมาธิ การนวด และการฝึ กโยคะ
• รายงานส่วนใหญ่สนับสนุ นให้การดูแลแบบ
ผสมผสานเป็ นวิธห
ี นึ่งในการปฏิบต
ั ก
ิ าร
พยาบาลแบบองค ์รวม (Cornman, 2000;
Diluzio & Spillane, 2002; Taylor, 2002 a;
White, 2002)
การพยาบาลด้านการบาบัด
เยียวยา
• ปั จจุบน
ั มีหลักสู ตรการเรียนการสอนด้านการ
ดูแลแบบผสมผสาน (Complimentary
่ มาตรฐานทีมี
่ การศึกษาทัง้
therapies) ทีได้
้ ผู เ้ ข้าร ับการ
ด้านทฤษฎีและปฏิบต
ั ม
ิ ากขึน
อบรมจะได้ร ับใบประกาศนี ยบัตร (Cirtificate)
้ เพื
้ อให้
่
ทังนี
ผูร้ ับบริการได้ร ับความปลอดภัย
้ ซึงสอดคล้
่
จากการร ับบริการมากขึน
องตาม
่
นโยบายขององค ์การอนามัยโลก (WHO) ทีมี
้ งความปลอดภัย และคุณภาพ
นโยบายเน้นยาถึ
่ น
้
ในการบาบัดร ักษาแบบผสมผสานมากยิงขึ
แนวคิดการดู แลแบบผสมผสานใน
ประเทศไทย
• พยาบาลต้องมีส่วนร่วมในการปฏิรูประบบ
สุขภาพต่อการดูแลร ักษาผู ป
้ ่ วย โดยมีบทบาท
ในการให้ความรู ้ หรือการแนะนาแหล่งที่
เหมาะสมต่อผู ป
้ ่ วย หรือให้ความรู ้ในการเลือก
่
วิธบ
ี าบัดทีเหมาะสมต่
อผู ป
้ ่ วย และความเจ็บป่ วย
่ ดขึนได้
้
ทีเกิ
(สมพร, 2542 ก)
• แนวคิดดังกล่าวจะช่วยให้พยาบาลมีกจ
ิ กรรม
่ นบทบาทอิสระในการช่วย
การพยาบาลทีเป็
่ น
้ (ฟาริ
ส่งเสริมสุขภาพของผู ใ้ ช้บริการเพิมขึ
ดา, 2545 ข)
การนวด (Massage)
• มีผลต่อการลดปวดในผู ป
้ ่ วยมะเร็ง (เทวิกา,
2546; พรจันทร ์, 2541; วันเพ็ญ, 2544; อุไร,
2539) และลดปวดในผู ป
้ ่ วยหลังผ่าตัดช่อง
่
ท้อง (Pongchareon, 2001) ช่วยเพิมความ
้
อดทนต่อการล้าของกล้ามเนื อหลั
งในผู ป
้ ่ วย
้ ัง (นฤมล, วิช ัย, และ
โรคปวดหลังส่วนล่างเรือร
อภิว ันท ์, 2544) และช่วยลดอาการปวดศรีษะ
จากความเครียด (เจือจันทร ์, 2534; วิไล,
2543; สัมพันธ ์, เบญจวรรณ, กริช, มยุร,ี และ
สุวม
ิ ล, 2540)
การนวดกดจุดฝ่าเท้า
(Reflexology)
• ช่วยลดความเจ็บปวดในผู ป
้ ่ วยมะเร็ง
(Poonsaard, 2000) และลดความ
เจ็บปวดในผู ป
้ ่ วยหลังผ่าตัดมดลู กทาง
หน้าท้อง (Panyim, 2000)
การฝึ กสมาธิ (Meditation)
• ช่วยลดความวิตกกังวล และความซึมเศร ้าใน
ผู ป
้ ่ วยมะเร็ง ตา หู คอ จมู ก และปาก (ปทุม
ภรณ์, สุภา, ลักษมี, และสันทนา, 2539) และ
่ ดจากการออกกาลัง
ทาให้ผูป
้ ่ วยหอบหืดทีเกิ
กายมีสมรรถภาพของปอดดีขน
ึ ้ (นที, 2530)
้ งลดความเครียด และลดระดับความดัน
อีกทังยั
โลหิตในผู ป
้ ่ วยโรคความดันโลหิตสู งชนิ ดไม่
ทราบสาเหตุได้ (สุนน
ั ทา, สมพร, และไพลิน,
2540; อ ัจฉรา, สุภาพ, และมยุล,ี 2545)
เทคนิ คการผ่อนคลาย
(Relaxation)
• ช่วยลดความเจ็บปวดขณะได้ร ับการล้างแผล
ในผู ป
้ ่ วยแผลไหม้ (จุไรพร, 2536) ช่วยลด
่ อาการใจสัน
่ (ศุ
ความวิตกกังวลในผู ป
้ ่ วยทีมี
ภวรรณ, 2540) และลดความวิตกกังวลใน
ผู ป
้ ่ วยโรคหอบหืด (Napa, 2002)
ดนตรีบาบัด (Music therapy)
• สามารถช่วยลดปวดในผูป้ ่ วยหลังผ่าตัดช่องทอ้ ง
(เอมอร, 2543) ลดปวดในผูป้ ่ วยโรคมะเร็ง (นากฤดี,
2545) และลดปวดในผูป้ ่ วยหลังผ่าตัดยึดตรีงกระดูก
ต ้นขา (ดวงดาว, ประณี ต, สุดศิร,ิ และสุนทร, 2545)
้
่ ้อาเจียน
• รวมทังลดความวิ
ตกกังวล และอาการคลืนไส
่ ้ร ับยาเคมีบาบัด (อาริยา,
ในผูป้ ่ วยมะเร็งเต ้านมทีได
2543)
เทคนิ คการสร ้างจินตนาการ
(Imaginary)
• ช่วยลดความเจ็บปวดในผู ป
้ ่ วยแผลไหม้ (แสง
หล้า, 2542) ลดความวิตกกังวล (ปริญญา,
่
2542) และลดอาการคลืนไส้
อาเจียนในผู ป
้ ่ วย
่ ร ับยาเคมีบาบัด (บุษบา,
มะเร็งเต้านมทีได้
2544)
่ านึ งถึงความเป็ น
การพยาบาลทีค
บุคคล
• การคานึ งถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล เพราะการดูแล
่
บุคคล ซึงโดยลั
กษณะตามธรรมชาติยอ
่ มมีความแตกต่าง
้
กัน ไม่วา่ จะเป็ นเพศ อายุ เชือชาติ
ศาสนา สังคม วัฒนธรรม
้ ผลต่อวิถก
่
ี ารดาเนิ นชีวต
านี มี
ประเพณี ตา่ งๆ สิงเหล่
ิ และ
้
โดยเฉพาะวิถช
ี วี ต
ิ ความเชือของการดู
แลสุขภาพ
่ าคัญทีจะช่
่ วยให ้พยาบาลสามารถเข ้าใจความเป็ น
• เป็ นสิงส
ปัจเจกบุคคล และปร ับวิธก
ี ารดูแลให ้สอดคล ้องกับวิถช
ี วี ต
ิ ใน
แต่ละบุคคลได ้อย่างมีคณ
ุ ภาพ
• โดยหลักในการดูแลจะต ้องยึดหลักผูป้ ่ วยเป็ นศูนย ์กลาง
(Blattner, 1981) การปฏิบต
ั ก
ิ จิ กรรมต่างๆ จะทาให ้
พยาบาลมองถึงผลประโยชน์ทจะเกิ
ี่
ดกับผูใ้ ช ้บริการเป็ นหลัก
ได ้
การปฏิบต
ั ก
ิ จ
ิ กรรมการพยาบาล
แบบองค ์รวม
• ในการดูแลสุขภาพแบบองค ์รวม ยังจะต ้องให ้
ความสาคัญกับการดึงศักยภาพของผูใช
้ ้บริการมา
ใช ้ในการดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสม สอดคล ้องกับ
่ ว่่ ามนุ ษย ์มีความสามารถในการดูแล
ความเชือที
สุขภาพของตนเองได ้ (Orem, 2001)
• สอดคล ้องกับแนวคิดการพยาบาลของฟลอเรนซ ์ไน
่ าการจัด
ติงเกล (Nightingale, 1969) เชือว่
่
่
่
สิงแวดล
้อมสาหร ับผูใ้ ช ้บริการทีเหมาะสม
สิงเหล่
านี ้
จะช่วยให ้ผูใ้ ช ้บริการสามารถหายได ้เอง เป็ นการ
่
แสดงให ้เห็นถึงพลังธรรมชาติทอยู
ี่ ่ในตัวมนุ ษย ์ ซึงจะ
การปฏิบต
ั ก
ิ จ
ิ กรรมการพยาบาล
แบบองค ์รวม
้
• นอกจากนี จากสภาพสั
งคมในยุคปัจจุบน
ั จะเห็นได ้ว่า
ร ัฐธรรมนู ญได ้ให ้ความสาคัญกับการพิทก
ั ษส์ ท
ิ ธิของ
ประชาชน โดยเฉพาะในภาวะเจ็บป่ วย มีการ
ประกาศสิทธิผป
ู ้ ่ วย 10 ข ้อ
่ ให
่ ้การดูแลสุขภาพจึงจะต ้องมี
• ดังนั้นเจ ้าหน้าทีที
ความรู ้ และให ้การบริการโดยการคานึ งถึงสิทธิของ
ผูป้ ่ วยเป็ นหลัก
่ ้องมี
• สอดคล ้องกับการดูแลสุขภาพแบบองค ์รวมทีจะต
การผสมผสาน และคานึ งถึงบริบทต่างๆ ทางสังคม
่ ้วนเป็ นสิงที
่ มี
่ ความเกียวข
่
ซึงล
้องต่อภาวะสุขภาพแบบ
้ น้ ซึงจะช่
่
องค ์รวมของผู ้ใช ้บริการด ้วยกันทังสิ
วยให ้
กระบวนการพยาบาลแบบองค ์รวม
• การให ้การพยาบาลแบบองค ์รวม พยาบาลสามารถ
ประยุกต ์ใช ้กระบวนการพยาบาล (Nursing
่ นศาสตร ์ทางการพยาบาลทีมี
่
process) ซึงเป็
ความสาคัญในการเป็ นวิธก
ี าร และเป็ นแนวทางใหก้ าร
่ น้
พยาบาลมีประสิทธิภาพยิงขึ
• เพราะกระบวนการพยาบาลเป็ นกระบวนทาง
วิทยาศาสตร ์ (ศิรพ
ิ ร ข., 2539) ประกอบด ้วย
้
่ ัดเจน เน้น
ขันตอนอย่
างเป็ นระบบ และมีทศ
ิ ทางทีช
้
ความเป็ นองค ์รวมของบุคคลตลอดทังกระบวนการ
โดยพิจารณาปัญหา ผลกระทบ และปัจจัยรอบข ้าง
ของผูใ้ ช ้บริการอย่างครอบคลุม และผูใ้ ช ้บริการได ้มี
้
กระบวนการพยาบาล (Nursing
process)
• การประเมินสภาพ (Health
assessment)
• การวินิจฉัยการพยาบาล (Nursing
diagnosis)
• การวางแผนการพยาบาล (Nursing
plan)
• การปฏิบต
ั ก
ิ ารพยาบาล (Nursing
intervention)
การประเมินสภาพ (Health
assessment)
้
• เป็ นขันตอนของการเก็
บรวบรวมข้อมู ล
้
พยาบาลจะต้องพยายามรวบรวมข้อมู ลทังทาง
กาย จิต สังคม และจิตวิญญาณอย่างครบถ้วน
โดยคานึ งถึงความแตกต่างทางสังคม
วัฒนธรรม แบบแผนการดาเนิ นชีวต
ิ ฯลฯ
• ในการประเมินสภาพ พยาบาลสามารถสร ้าง
่
่
เครืองมื
อ หรือมีแบบประเมินต่างๆ เพือให้
ได้
้
ข้อมู ลทังจากบุ
คคล หรือข้อมู ลจากแฟ้ม
่
ประวัติตา
่ งๆ อย่างครอบคลุม ซึงจะช่
วยให้
้
เข้าใจผู ใ้ ช้บริการได้มากขึน
การวินิจฉัยการพยาบาล
(Nursing diagnosis)
• ในการกาหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ควรกาหนดให้สอความหมายตามวัฒนธรรม
ื่
่ จิตวิญญาณของผู ใ้ ช้บริการ การ
ความเชือ
่ จะต้องช่วยชีน
้ าการ
เขียนข้อวินิจฉัยทีดี
ปฏิบต
ั ก
ิ ารพยาบาล และจะต้องมีขอ
้ มู ล
้ เป็
่ นคาบอกเล่า และจากการ
สนับสนุ นทังที
่ ใ้ ช้บริการแสดงออก
สังเกตพฤติกรรมต่างๆ ทีผู
(ทัศนี ย ์, 2545 ก)
• อาจใช้หลักเกณฑ ์การกาหนดข้อวินิจฉัย
่ วยเป็ นแนวทาง
ของนันดา (NANDA) เพือช่
การวางแผนการพยาบาล
(Nursing plan)
• การวางแผน พยาบาลต้องตัดสินใจเลือก
วิธก
ี ารปฏิบต
ั ใิ ห้เหมาะสมกับแต่ละบุคคลและ
ต้องตอบสนองความต้องการของผู ใ้ ช้บริการ
่ กต้องและครอบคลุม
ให้ขอ
้ มู ลทีถู
• ผู ใ้ ช้บริการจะต้องมีส่วนร่วมในการวาง
แผนการพยาบาลร่วมกับทีมสุขภาพ ถ้า
ผู ใ้ ช้บริการมีความพร ้อมจะเป็ นผู เ้ ลือกและ
ตัดสินใจด้วนตนเอง โดยมีทม
ี สุขภาพให้
คาปรึกษา และอธิบายถึงข้อดี-ข้อเสียของแต่
่
ละทางเลือก ซึงจะท
าให้ผูใ้ ช้บริการเกิดความ
การปฏิบต
ั ก
ิ ารพยาบาล (Nursing
intervention)
• ต้องคานึ งถึงหลักสาคัญคือ การให้ผูใ้ ช้บริการมี
ส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเอง พยาบาลต้อง
่ รว่ มกาหนดไว้
ให้การดูแลตามเป้ าหมายทีได้
• การดูแลผู ใ้ ช้บริการตามหลักของมนุ ษยชน
่
้
• คานึ งถึงความเชือมโยงโดยรวมทั
งหมดของบุ
คคล
ทุกมิต ิ การรู ้จักให้เวลา รู ้จักฟั ง ให้ความสนใจ
้ านึ งถึงวัฒนธรรมของ
อย่างจริงจัง รวมทังค
ผู ใ้ ช้บริการ
่ เข้ามาสอดแทรกใน
้
าศาสตร ์อืนๆ
• ตลอดทังการน
การปฏิบต
ั ด
ิ ูแล เช่น การดูแลแบบผสมผสาน
การประเมินผลการพยาบาล
(Evaluation)
่
• ใช้เป็ นเครืองมื
อในการประเมินความพึง
พอใจในการให้บริการ
้
งเกตพฤติกรรมของ
• รวมทังการสั
่
ผู ใ้ ช้บริการเป็ นหลักเพือจะได้
ทราบว่า
้
ปั ญหาเหล่านันได้
ร ับการแก้ไขไปมาก
น้อยเพียงใด
้
• มีปัญหาใดเกิดขึนใหม่
หรือกิจกรรมการ
่ ปฏิบต
้
พยาบาลทีได้
ั ไิ ปแล้วนันไม่
ประสบ
่ าข้อมู ลมาปร ับ
ความสาเร็จ เพือน
่ อท
ปั จจัยทีมี
ิ ธิพลต่อการพยาบาล
แบบองค ์รวม
•
•
•
•
•
ปั จจัยด้านส่วนบุคคลของพยาบาล
ปั จจัยด้านองค ์กร และระบบงาน
ปั จจัยด้านระบบการศึกษา
ปั จจัยด้านผู ใ้ ช้บริการ
่
ปั จจัยด้านอืนๆ
ปั จจัยด้านส่วนบุคคลของพยาบาล
่
• พยาบาลยังขาดความรู ้ความเข้าใจเกียวกับ
การพยาบาลแบบองค ์รวม
• บางรายมีความเข้าใจ แต่ไม่สามารถนามา
ปฏิบต
ั ไิ ด้
• ขาดทักษะ และประสบการณ์ในการพยาบาล
ต่อผู ใ้ ช้บริการด้านจิตสังคม จิตวิญญาณ
• ไม่มเี วลา และขาดความต่อเนื่องในการดูแล
ผู ใ้ ช้บริการด้านจิตสังคม และด้านจิต
วิญญาณ
• “The higher the technology, the greater
ปั จจัยด้านองค ์กร และระบบงาน
• ผูบ้ ริหารให ้ความสาคัญกับการกาหนดเป็ นปรช
ั ญา
ในการให ้บริการสุขภาพแบบองค ์รวมมากน้อย
เพียงใด
• ไม่มน
ี โยบาย และแผนงานในการควบคุมมาตรฐาน
การให ้การพยาบาลแบบองค ์รวม
้
่
• รวมทังระบบการพยาบาลไม่
มก
ี ารเชือมโยงขาดความ
่
ต่อเนื่ อง เช่น ในการผลัดเปลียนเวร
ไม่ได ้ร ับการ
สนับสนุ นจากหน่ วยงานต่างๆ
ปั จจัยด้านระบบการศึกษา
้
กสูตรการพยาบาลแบบองค ์รวม
• การสอดแทรกเนื อหาหลั
และสถาบันการศึกษาแห่งนั้นให ้ความสาคัญกับการพยาบาล
แบบองค ์รวมมากน้อยเพียงใด
• มีการจัดการเรียนการสอน เน้นให ้นักศึกษามีความรู ้ ความ
เข ้าใจการพยาบาลแบบองค ์รวม
้ ้านความรู ้ ทัศนคติ
• นักศึกษาจะต ้องเป็ นผูม้ ค
ี วามพร ้อมทังด
่
และมีความมั่นใจในการดูแลผูใ้ ช ้บริการทีครอบคลุ
มทุกมิติ
โดยเฉพาะการช่วยเหลือปัญหาด ้านจิตสังคม และจิต
วิญญาณ
่ ตอ
• อาจารย ์พยาบาล เป็ นผูป้ ลูกฝังรากฐานทีดี
่ ความรู ้ ความ
่
เข ้าใจเกียวกั
บการพยาบาลแบบองค ์รวมให ้แก่นักศึกษา
้ นแบบอย่างทีดี
่ ในการฝึ กปฏิบต
พยาบาล รวมทังเป็
ั งิ าน
่
่
ดังนั้นอาจารย ์พยาบาลควรมีทศ
ั นคติ ความเชือในเรื
องของ
ความสัมพันธ ์ระหว่างกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ มี
ปั จจัยด้านผู ใ้ ช้บริการ
้ั ป
• สภาพความเจ็บป่ วยทาให้ในบางครงผู
้ ่ วยไม่ม ี
่
่ น
ความพร ้อมในการร ับรู ้เรืองราวต่
างๆ ทีเป็
ประโยชน์ในการดูแลสุขภาพ
• อาจแสดงอารมณ์ทไม่
ี่ เหมาะสมกับเจ้าหน้าที่
้
พยาบาลได้ รวมทังการคาดหวังต่
อการได้ร ับ
่
การดูแลทีสามารถบรรเทาความทุ
กข ์ทรมานให้
้
หมดไปอย่างรวดเร็ว แต่ความต้องการเหล่านัน
้ั
บางครงพยาบาลไม่
สามารถตอบสนองได้ จึง
อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งในระหว่างการดูแลได้
• ปั ญหาสัมพันธภาพภายในครอบคร ัวของ
่
ปั จจัยด้านอืนๆ
• ลักษณะทางวัฒนธรรมสังคมไทย ประกอบด้วย
ประชาชนหลายกลุ่ม ได้แก่ ไทยพุทธ มุสลิม
้
คนไทยเชือสายจี
น
้
่ ประชาชนต้องเข้าร ับการร ักษาใน
• ด ังนันเมื
อ
่
โรงพยาบาล อาจเกิดความยากลาบากในเรือง
่
การสือสาร
พยาบาลส่วนใหญ่จงึ มักให้ญาติ
่
่
ช่วยในการสือสาร
ซึงจะเป็
นการตอบสนอง
ความต้องการของผู ใ้ ช้บริการต่อการเยียวยา
ภาวะสุขภาพแบบองค ์รวมได้อย่างมีคณ
ุ ภาพ
้
มากขึน
สะท้อนคิดและวิเคราะห ์
่
่ อท
• ศึกษาเพิมเติ
มปั จจัยทีมี
ิ ธิพลต่อการ
พยาบาลแบบองค ์รวม
่
• สะท้อนคิดเพือหาแนวทางการแก้
ปัญหาแต่ละ
่ อท
ปั จจัยทีมี
ิ ธิพลต่อการพยาบาลแบบองค ์รวม
การพัฒนาศิลปะในการดู แล
ผู ร้ ับบริการแบบองค ์รวม
• ความเมตตากรุณา (Loving kindness &
compassion)
– เมตตา หมายถึง ความปรารถนาดี ความมีมต
ิ รไมตรีหรือ
่
ความเป็ นเพือน
่ วยเหลือ
– กรุณา หมายถึงความกระตือรือร ้น พร ้อมทีจะช่
่ ญกับความเจ็บปวดหรือความทุกข ์
ผูร้ ับบริการทีเผชิ
ทรมานให ้บรรเทาหรือหายจากอาการ
่
่ ้การ
• การทีพยาบาลให
้เวลาใกล ้ชิดผูร้ ับบริการ เพือให
ช่วยเหลือหรือช่วยบรรเทาความไม่สข
ุ สบายต่างๆ
ความเมตตากรุณาของพยาบาลจะช่วยให ้ผูร้ ับบริการ
มั่นใจ อบอุน
่ ใจและสุขสงบทางจิตวิญญาณ
(Spiritual comfort)
้
ความเอืออาทร
(Caring)
• ความสนใจหรือความรู ้สึกห่วงใย
่
• เป็ นการกระทาทีแฝงไปด
้วยความรู ้สึกนึ กคิดทางอารมณ์และ
เจตคติทพยาบาลร่
ี่
วมรู ้สึกกับผูร้ ับบริการ
• มีความเห็นอกเห็นใจ เข ้าใจผูร้ ับบริการในฐานเป็ นปัจเจก
่ ้มีการกระทา
บุคคลและเป็ นการป้ องกันและระแวดระวังเพือให
่ กต ้อง ตลอดจนคอยปกป้ องอันตรายต่างๆ ทีอาจเกิ
่
ทีถู
ด
้ บผูร้ ับบริการ
ขึนกั
้
• Watson (1999) การดูแลอย่างเอืออาทรเป็
นศาสตร ์และ
ศิลป์ ในการกระทาและแสดงความรู ้สึกอย่างจริงใจระหว่าง
้
บุคคล ทังพยาบาลและผู
ร้ ับบริการต่างก็มศ
ี ก
ั ยภาพและ
ได ้ร ับผลประโยชน์รว่ มกันในกระบวนการดูแล
่ าคัญ
ประกอบด ้วย 8 องค ์ประกอบทีส
(Mayeroff )
•
•
•
•
•
•
•
•
ความรู ้ (Knowledge)
ความจริงใจ (Honesty)
ความไว ้วางใจ (Trust)
ความอดทน (Patience)
ความหวัง (Hope)
ความอ่อนน้อมถ่อมตน (Humility)
ความกล ้าหาญ (Courage)
การเลือกแนวทางในการช่วยเหลือบุคคล
(Alternating rhythms)
่
ทักษะการสือสาร
(Communicative
skills)
่
้ จนภาษาและอวัจนภาษา
• ทักษะการสือสารทั
งวั
่ ความสนใจและใส่ใจในสิงที
่ ่
• การเป็ นผูฟ
้ ังทีดี
ผูร้ ับบริการพูด การประสานสายตาเป็ นการแสดงถึง
้
่ ผู
่ ร้ ับบริการพูด
ความตังใจฟั
งในสิงที
่
• การเปิ ดโอกาสให ้แสดงความคิดเห็นเกียวกั
บแผนการ
ร ักษาพยาบาล
• ให ้โอกาสในการเลือกและมีสว่ นร่วมในการทากิจวัตร
ประจาวันจะทาให ้ผูร้ ับบริการรู ้สึกมีคณ
ุ ค่า
่ ดคุยนับว่าเป็ นสิงที
่ มี
่ ความหมายมาก
• ให ้เวลาเพือพู
การดู แลด้วยหัวใจความเป็ นมนุ ษย ์
้
เค้าโครงเนื อหา
่
่ 3.3.1 แนวคิดความเป็ นมนุ ษย ์ทีสมบู
่
เรืองที
รณ์
1) การร ับรองความเป็ นมนุ ษย ์
่
2) ความหมายของมนุ ษย ์ทีสมบู
รณ์
่
่ 3.3.2 การดู แลด้วยหัวใจความเป็ นมนุ ษย ์
เรืองที
1) ความหมายการดูแลด ้วยหัวใจความเป็ นมนุ ษย ์
2) หลักสาคัญของการดูแลด ้วยหัวใจความเป็ นมนุ ษย ์
่
3) ทักษะในการเรียนรู ้เกียวกั
บความเป็ นมนุ ษย ์
4) กระบวนการสร ้างจิตอาสาหรือจิตบริการด ้วยหัวใจความ
เป็ นมนุ ษย ์
วัตถุประสงค ์
•
•
•
•
•
่
เข ้าใจแนวคิดความเป็ นมนุ ษย ์ทีสมบู
รณ์ได ้ถูกต ้อง
อธิบายความหมายของการดูแลด ้วยหัวใจความเป็ น
มนุ ษย ์ได ้ถูกต ้อง
เข ้าใจหลักสาคัญของการดูแลด ้วยหัวใจความเป็ น
มนุ ษย ์ได ้ถูกต ้อง
่
เข ้าใจและฝึ กทักษะในการเรียนรู ้เกียวกั
บความเป็ น
มนุ ษย ์ได ้ถูกต ้อง
อธิบายกระบวนการสร ้างจิตอาสาหรือจิตบริการ
ด ้วยหัวใจความเป็ นมนุ ษย ์ได ้ถูกต ้อง
่
แนวคิดความเป็ นมนุ ษย ์ทีสมบู
รณ์
• การร ับรองความเป็ นมนุ ษย ์
• ร ัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 เป็ น
่ ้บัญญัตริ ับรองเรือง
่ “ศักดิศรี
์ ความ
ร ัฐธรรมนู ญฉบับแรกทีได
เป็ นมนุ ษย ์” โดยบัญญัตไิ ว ้ในมาตรา 4 มาตรา 26 และ
มาตรา 28
์ ความเป็ น
• นักกฎหมายได ้สรุปความหมายของคาว่า “ศักดิศรี
่ ลก
มนุ ษย ์” เป็ นคุณค่าทีมี
ั ษณะเฉพาะ อันสืบเนื่ องมาจาก
่ กพันอยู่เฉพาะกับความ
ความเป็ นมนุ ษย ์และเป็ นคุณค่าทีผู
่
่
้ น้ เช่น
เป็ นมนุ ษย ์เท่านั้น โดยไม่ขนอยู
ึ้
ก
่ บ
ั เงือนไขอื
นใดทั
งสิ
้
้ ความมุ่ง
เชือชาติ
ศาสนา คุณค่าของมนุ ษย ์ดังกล่าวนี มี
่ ฒนาบุคลิกภาพ
่ ้มนุ ษย ์มีความอิสระในการทีจะพั
หมายเพือให
ส่วนตัวของบุคคลนั้นๆ ภายใต ้ความร ับผิดชอบของตนเอง
์ ความเป็ นมนุ ษย ์” เป็ นคุณค่าทีมิ
่ อาจล่วง
โดยถือว่า “ศักดิศรี
่
ความหมายของมนุ ษย ์ทีสมบู
รณ์
่ งสุดประสบกับความเป็ น
่
รณ์ คือ ผูท้ เข
ี่ ้าถึงสิงสู
• มนุ ษย ์ทีสมบู
อิสระ คลายความยึดมั่นในตัวตน มีความร ักแก่สรรพสิง่ และ
่
เพือนมนุ
ษย ์ มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และ
่ ้เขามีชวี ต
่ งดงาม ประณี ต มีอส
พัฒนาคนอืนให
ิ ทีดี
ิ รภาพ มี
้
ความสุข มีความเป็ นคนทังคน
(ประเวศ วะสี, 2545)
่ ้จริงของคนทังคนให
้
• การพัฒนาคนทีแท
้เป็ นคนเต็มคน คือ
การพัฒนาระบบองค ์รวมแห่งการดาเนิ นชีวต
ิ ของคนให ้ครบ
ทัง้ 3 ด ้าน คือ พฤติกรรม จิตใจ และปัญญา ให ้เจริญงอก
้
้ ลต่อกันไป
งามขึนอย่
างประสานสัมพันธ ์สอดคล ้องส่งผลเกือกู
้ั
ด ้วยดีทงระบบ
(พระพรหมคุณาภรณ์, 2550)
่
รณ์ ประกอบด ้วย ความจริง ความร ัก และความ
• มนุ ษย ์ทีสมบู
เมตตา ความประพฤติชอบ ความสงบสุข และอหิงสา คือ ไม่
่ นและกัน (ดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา,
เบียดเบียนซึงกั
ความหมายการดู แลด้วยหัว
ใจความเป็ นมนุ ษย ์
่ ้าใจมิตค
• การบริการทีเข
ิ วามเป็ นคนของคนไข ้ เห็น
่ รา่ งกาย จิตใจและสังคม มี
คนไข ้เป็ นคนทีมี
ความสัมพันธ ์กับผูอ้ น
ื่ มีความรู ้สึกนึ กคิด มีอารมณ์
ชอบ ไม่ชอบ มีเศรษฐกิจ วัฒนธรรม (ประเวศ วะสี,
2551) นับเป็ นการสร ้างสมดุลระหว่างความร ัก ความ
งาม ความจริงและความดี
• การดูแลด ้วยหัวใจความเป็ นมนุ ษย ์ คือ การดูแล
้
ผูป้ ่ วยด ้วยการดูแลทังการเจ็
บป่ วยของร่างกาย การ
ดูแลทางด ้านจิตใจ การดูแลสังคม ครอบคร ัวและ
่
สิงแวดล
้อมของผู ้ป่ วย
• การดูแลด ้วยหัวใจความเป็ นมนุ ษย ์ หมายถึง การ
การให ้ความหมายการดูแลด ้วยหัว
ใจความเป็ นมนุษย์
• ผูใ้ ห ้ความหมายต ้องมีหวั ใจความเป็ นมนุ ษย ์ มีดวงตา
่ ธรรมะ ไม่วา่ จะนับถือศาสนาใดๆ ในโลก เพราะ
ทีมี
ทุกศาสนาต่างสอนให ้คนยึดมั่นในความดีงาม มองคน
้
อย่างเป็ นองค ์รวม ไม่แยกส่วน รวมทังมองไปถึ
ง
่ คคลอาศัยอยู่ด ้วยก็จะ
ครอบคร ัวและชุมชนทีบุ
สามารถให ้ความหมายการดูแลด ้วยหัวใจความเป็ น
มนุ ษย ์ได ้ด ้วยตนเอง
่ นหัว
หลักสาคัญของการดู แลทีเน้
ใจความเป็ นมนุ ษย ์
• หลักพุทธฉื อจี ้
• แนวคิดมิตรภาพบาบัด
หลักพุทธฉื อจี ้
• โรงพยาบาลพุทธฉื อจี ้ เป็ นโรงพยาบาลขนาด 1,200
้ นตั
้ งแต่
้ ปีพ.ศ.2537 พร ้อมๆ กับ
เตียง ก่อตังขึ
้ งเป็
่ นสานัก
คณะแพทย ์ศาสตร ์ตามภารกิจของฉื อจีซึ
พุทธหมายเลข 1 ของไต ้หวัน มีทา่ นธรรมาจารย ์เจิง้
เหยียน (ภิกษุณี) เป็ นประมุข
้ เป็
้ นสานักพุทธทีก
่ าหนดเป้ าหมายองค ์กรไว ้ 4
• ฉื อจี
ภารกิจ
– การทากิจกรรมสังคมสงเคราะห ์
– การจัดบริการร ักษาพยาบาล
– การจัดการศึกษา
– การส่งเสริมวัฒนธรรม
หลักพุทธฉื อจี ้
• เป้ าหมายสาคัญ คือ การร ักษาโรค ร ักษาใจ ร ักษา
ชีวต
ิ ของผูค้ นเสมือนญาติ
้ ้หลักคาสอน
• บุคลากรของโรงพยาบาลแห่งนี ใช
“พรหมวิหาร 4”
่ ้องการให ้ผูอ้ นมี
– เมตตา คือ การฝึ กการมีจต
ิ ใจทีต
ื่ ความสุข
่ วยเหลือให ้ผูอ้ นพ
– กรุณา คือการฝึ กลงมือกระทาเพือช่
ื่ น้
ทุกข ์
– มุทต
ิ า คือ การฝึ กเรียนรู ้ เข ้าใจและกตัญญูในสรรพสิง่
– อุเบกขา คือ การฝึ กเข ้าใจความเป็ นธรรมชาติ ธรรมดา
สามารถลดตัวตนและปล่อยวาง
หลักการสาคัญของการดาเนินงานทีเ่ น ้น
หัวใจความเป็ นมนุษย์
ของพุทธฉือจี้
่ อ้ นโดยมี
• ศร ัทธา คือ การสร ้างศร ัทธาในการทาความดีเพือผู
ื่
้
ท่านธรรมาจารย ์เจิงเหยี
ยนเป็ นผูน้ าและมีคาสอนแนวพุทธ
โพธิสต
ั ว ์เป็ นหลักยึด
• ปัญญา ฉื อจีร้ ับเอาองค ์ความรู ้ เทคโนโลยีสมัยใหม่เข ้ามาปร ับ
่
่
ใช ้เพือสานเจตนารมณ์
ตลอดเวลา ไม่ได ้ปล่อยให ้เรือง
่
่
่
่
ศาสนาเป็ นเรืองคร
าครึ
เป็ นเรืองอดี
ตทีแยกส่
วนจากปัจจุบน
ั
้
น
่ เก่าและรุน
่ ใหม่ได ้ตลอดเวลา
จึงสามารถเข ้าถึงได ้ทังคนรุ
• การจัดการ ในกระบวนการทางานของฉื อจี ้ มีการจัดการ
อย่างเป็ นระบบและเป็ นมืออาชีพในทุกระดับ แมแ้ ต่การทางาน
้ั
มีระบบ ไม่ใช่แบบ “ช่วยๆ กันไป”
ของอาสาสมัครก็มข
ี นตอน
้ อว่าได ้นา “การจัดการ” มาใช ้อย่าง
การทาได ้อย่างนี ถื
ครอบคลุม
มิตรภาพบาบัด
• ในประเทศไทยได ้มีโครงการเยียวยาผูป่้ วยด ้วยหัว
ใจความเป็ นมนุ ษย ์โดยสร ้างความสัมพันธ ์ในเชิง
่ ่งเน้นมิต ิ
มิตรภาพบาบัดในการบาบัดร ักษาโรคทีมุ
่ นรูปธรรม คือ “ศูนย ์
ทางด ้านความเป็ นคนทีเป็
่ อตังในหน่
้
ส่งเสริมมิตรภาพบาบัด” ทีก่
วยบริการ 17
แห่งทุกภูมภ
ิ าค ในปี พ.ศ.2549 โดยการสนับสนุ น
ของสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)
่ นศูนย ์กลางในการดูแลสุขภาพและช่วยเหลือ
เพือเป็
กันของผูป้ ่ วยและผูด้ แู ล
่ ้ความสาคัญกับผูป้ ่ วยทังร่
้ างกาย
• เป็ นการดูแลทีให
้ ดระบบอาสาสมัครทีท
่ างานด ้วยจิต
และจิตใจ รวมทังจั
เป้ าหมายของศูนย์สง่ เสริมมิตรภาพ
บาบัด
้ างกายและจิตใจของผูป้ ่ วยมะเร็ง
• การบาบัดร ักษาทังร่
่ คา่ ใช ้จ่ายสูงในกลุม
่ วยให ้
และผูป้ ่ วยโรคทีมี
่ ต่างๆ เพือช่
้ “สุขภาวะ” ทีดี
่ ขน
ผูป้ ่ วยเหล่านี มี
ึ้
่
• “มิตรภาพ” นั้นสาคัญเพราะคนจะมีความสุขเมือมี
“มิตรหรือมิตตะ” กับคาว่า “เมตตา” นั้นมาจากราก
่
ศัพท ์เดียวกัน ซึงรวมทั
ง้ “ไมตรี” ด ้วย คนเราถ ้ามี
ความเป็ นไมตรีตอ
่ กัน มีเมตตาต่อกัน มีความเป็ น
มิตรต่อกัน ความรู ้สึกจะดีมาก จะมีความสุข โรคภัย
ไข ้เจ็บบางทีมน
ั จะหายไปเลย
มิตรภาพบาบัด
• ดาเนิ นงานของศูนย ์ส่งเสริมมิตรภาพบาบัดนี ้ ได ้จุดประกาย
่
่ าคัญ 2 ส่วน คือ หน่ วยบริการ และ
ให ้เกิดการปร ับเปลียนที
ส
่
อาสาสมัครของผูม้ จี ต
ิ อาสา โดยการปร ับเปลียนของหน่
วย
บริการนั้นได ้มีความตะหนักถึงความสาคัญของการให ้บริการ
่
ด ้วย “หัวใจความเป็ นมนุ ษย ์” ด ้วยความปรารถนาทีจะเห็
น
่
เพือนมนุ
ษย ์พน้ ทุกข ์จากโรคภัย
• ส่วนในด ้านของอาสาสมัครผูม้ จี ต
ิ อาสานั้น พบว่า
่ าคัญอย่างยิงในการดู
่
อาสาสมัครคือหุ ้นส่วนทีส
แลผูป้ ่ วยให ้มี
่
่
ความสุข รู ้สึกว่าตนเองมีคณ
ุ ค่า ซึงการดู
แลเพือนมนุ
ษย ์นั้น
่
ไม่ใช่หน้าทีของหน่
วยบริการแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น
่
้ งมีการถอด
หากแต่เป็ นหน้าทีของมนุ
ษย ์ทุกคน นอกจากนี ยั
่
่
บทเรียนและแลกเปลียนเรี
ยนรู ้เกียวกั
บการดาเนิ นงานทาให ้
่
ทักษะในการเรียนรู ้เกียวกับความ
เป็ นมนุ ษย ์
• การฟั งอย่างลึกซึง้ (Deep listening) เป็ นการปล่อย
้
ให ้เสียงและความเป็ นตัวตนทังหมดของผู
อ้ นเข
ื่
้ามาในตน
่ ่
และการรวบรวมประมวลผล สร ้างความหมายให ้กับสรรพสิงที
ฟัง
้
• การเคารพ (Respecting) คือ การฟังทังหมดอย่
าง
่
ไม่ได ้มุ่งเน้นเฉพาะทีชอบหรื
อไม่ชอบ หากฟังโดยมีปฏิก ิรยิ า
่ ด ไม่เอาความรู ้สึกอารมณ์เข ้าไปร่วม
ให ้น้อยทีสุ
• การห้อยแขวน (Suspending) หมายถึง ห ้อยแขวนทุก
่ กอย่าง โดยเฉพาะห ้อยแขวนการตัดสินคน ตัดสินความ
สิงทุ
• เสียงของเรา (Voicing) เป็ นการพูดออกมาจาก
่ านการจดจา
ความรู ้สึกในขณะนั้น ๆ โดยไม่ได ้เป็ นความรู ้ทีผ่
กระบวนการสร างจิตอาสาหรือจิต
บริการ
ด้วยหัวใจความเป็ นมนุ ษย ์
่ อความ
่
• ทุกคนมีเมล็ดพันธุ ์แห่งความดีอยู่ในหัวใจทีเมื
้ นดี
ดีไปสัมผัสเข ้า จิตจะดีขน
ึ ้ เกิดความปลาบปลืมยิ
่ ๆ ทีเรี
่ ยกว่า “ทาให ้เยียวยา
และอยากร่วมมือทาสิงดี
โลกได ้” ดังนั้น ความเมตตาปราณี จงึ เป็ นพลังในการ
เยียวยา (Healing) ด ้วย ศ.นพ.ประเวศ วะสี (2549;
2551)
การพัฒนากระบวนการสร ้างจิตบริการ
ด ้วยหัวใจความเป็ นมนุษย์
• การปลูกฝังให ้ตระหนักถึงความสาคัญของจิตบริการ การมี
่ ้ร ับการปลูกฝังมาตังแต่
้ เด็ก จาก
จิตบริการเกิดจากการทีได
ครอบคร ัวและสถานศึกษาและสร ้างจิตสานึ กโดยมีกจิ กรรมที่
ให ้การช่วยเหลือและเป็ นประโยชน์ตอ
่ ส่วนรวม
• การเตรียมความพร ้อมทางด ้านร่างกาย จิตใจ ความรู ้และการ
่
่
่ งแรง มี
ติดต่อสือสาร
ความพร ้อมทีมาจากจิ
ตใจ ร่างกายทีแข็
่
ความรู ้เกียวกั
บสุขภาพและการสร ้างเสริมสุขภาพและป้ องกัน
้ กษะในการติดต่อสือสารกั
่
การเจ็บป่ วย พร ้อมทังทั
ื่ ้วย
บผูอ้ นด
่ ่นในตน การจะเกิดความเชือมั
่ ่นใน
• การสร ้างความเชือมั
่
ตนเองทีจะเกิ
ดจิตบริการด ้วยหัวใจความเป็ นมนุ ษย ์ของ
นักศึกษาพยาบาล
• การเข ้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่ อง การพัฒนาจิตบริการควร
่ อให ้เกิดจิตอาสาอย่างต่อเนื่ อง
ได ้เข ้าร่วมกิจกรรมทีก่
สรุป
• การพัฒนาระบบการดูแลแบบองค ์รวม และการ
พัฒนาจิตบริการด ้วยหัวใจความเป็ นมนุ ษย ์ เป็ นการ
้
พัฒนาคนทังคน
(Holistic view) อย่างเป็ นองค ์
้
จิตวิญญาณ สังคม ให ้มีจต
ิ บริการด ้วย
รวมทังกาย
่ เน้
้ นไปทีนั
่ กศึกษา
หัวใจความเป็ นมนุ ษย ์ ในทีนี
พยาบาล ให ้เป็ นผูม้ ค
ี วามเข ้าถึงการบริการในมิต ิ
ความเป็ นมนุ ษย ์ สังคม และสภาพแวดล ้อม เพือ่
่
ให ้บริการด ้วยความมีสติ ปัญญา เอาใจใส่ พึงพา
้ อปัญหา
อาศัยกัน เสียสละ มีความอดทนอดกลันต่
อุปสรรคต่างๆ มุ่งเน้นการเสียสละ การแบ่งปันทัง้
่
่ วยกันเพือ่
แรงกาย แรงใจ สิงของและเวลาที
ช่
ช่วยเหลือผูอ้ นหรื
ื่
อสังคมให ้เกิดประโยชน์และ
นักศึกษาวิศวฯ มทส. คิด “เรือน้ าใจ
ปี บทอง” ช่วยน้ าท่วม
จิตสาธารณะ (Public
consciousness )
่ วนรวม (จิตสานึ ก ในปทานุ กรม ราช
• จิตสานึ กเพือส่
บัณฑิตสถาน 2538 ให ้ความหมายไว ้ว่า เป็ นภาวะที่
่
่ ้าจาก
จิตตืนและรู
้สึกตัว สามารถตอบสนองสิงเร
่ เสียง และสิง่
ประสาทสัมผัสทัง้ 5 คือรูป รส กลิน
สัมผัสได ้ การตระหนักรู ้ และคานึ งถึงส่วนรวม
ร่วมกัน/การคานึ งถึงผูอ้ นที
ื่ ร่่ วมสัมพันธ ์เป็ นกลุม
่
เดียวกัน
่
• จิตอาสา ทีแสดงออกมาในรู
ปของพฤติกรรมที่
้ ้วยความสมัครใจเพือส่
่ วนรวม โดยการ
เกิดขึนด
แสดงออกด ้วยการอาสาไม่มใี ครบังคับ
จิตสาธารณะ (Public
consciousness )
่ คคลตระหนักรู ้และ
่
งการทีบุ
• การสานึ กสาธารณะ ซึงหมายถึ
คานึ งถึงประโยชน์สข
ุ ของส่วนรวมและสังคม เห็นคุณค่าของ
่ างๆทีเป็
่ นของส่วนรวม
การเอาใจใส่ดแู ลร ักษาสิงต่
่ ยวกั
่
• จิตบริการทีเกี
บการคิด และการปฏิบต
ั ใิ นการให ้ความ
ช่วยเหลือผูอ้ น
ื่ เป็ นการประพฤติปฏิบต
ั ท
ิ มุ
ี่ ่งความสุขของ
่ งอยู
้ บ
้
้
ผูอ้ นที
ื่ ตั
่ นพืนฐานของความ
ตังใจดี
และเจตนาดี
่ านักงาน คณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ
• จิตสานึ กทางสังคมทีส
่
ได ้อธิบายว่าเป็ นการรู ้จักเอาใจใส่เป็ นธุระและเข ้า ร่วมในเรือง
่ นประโยชน์ตอ
ของส่วนร่วมทีเป็
่ ประเทศชาติ มีความสานึ ก
่ งาม ละอายต่อ
และยึดมั่นในระบบคุณธรรม และจริยธรรมทีดี
่ ดเน้นความเรียบร ้อย ประหยัด และมีความสมดุลระหว่าง
สิงผิ
มนุ ษย ์กับธรรมชาติ
ึ ษาพยาบาลชว่ ยน้ าท่วม
นักศก
โคราช 2553
Humanized Healthcare
่
ทีอยากจะแบ่
งปั นประสบการณ์ให้
่
เพื
อนๆฟั
ง
่
• “เป็ นเหตุการณ์ทดิ
ี ฉันได ้มีโอกาสไปช่วยโรงพยาบาลมหาราช
้
่ ้คอย
นครราชสีมา วันนาลดในรู
ปแบบจิตอาสาได ้ร ับหน้าทีให
้ ม
่ แต่ก็ทนไม่ไหวทีต
่ ้องนั่งอยูจ
้
แจกกาแฟและนาดื
่ ด
ุ นี นานๆ
อยากเข ้าไปช่วยด ้านใน ดิฉันจึงไปขอยืมรองเท ้าบูท
๊ จากพี่
่
่ งไม่รู ้ว่าเพือนไป
่
พยาบาลมา เดินไปสมทบกับเพือนๆโดยที
ยั
ทาความสะอาดโรงพยาบาล อยูส
่ ว่ นไหนของโรงพยาบาล
่ ฉันพยายามเดินหาเพือนก็
่
ระหว่างทีดิ
ได ้พบกับลุงคนหนึ่ งที่
้ ้ ดิฉันและ
้ าไว
่ นน
้
าแพงทรายทีกั
กาลังพยายามเดินขึนมาบนก
่
เพือนอี
กคนจึงได ้เข ้าไปหาคุณลุงคนนั้นและสอบถามว่าจะไป
๋
่ ้ถามออกไปเช่นนั้นเพราะคิด
ไหนเดียวพวกหนู
จะไปส่ง ทีได
ว่าคุณลุงคงมีอาการทางด ้านสายตาและจากการสอบถาม
้
จากคุณลุงพบว่าตาพร่ามองไม่ชดั และกาลังจะไปชันสองของ
OPD ดิฉันคิดในใจพักหนึ่ ง (ตนเองก็ไม่รู ้ว่าอยูไ่ หนแต่ก็จะ
่ ่
่
ความคิดเห็นของเพือนๆ
•
•
•
•
•
•
่ หมอคนนึ งคอยดู
“ได ้บุญแล ้วยังสนุ กดีนะจ๊อบ จาได ้ไหมทีวั่ นแรกทีมี
คนไข ้ตลอดเวลา แล ้วก็ดค
ู วามเรียบร ้อยรอบๆบริเวณโรงพยาบาล
้ นั
่ ่ งรถเข็ญเพราะเป็ นน้ากัดเท ้าจากน้าท่วมก็เป็ นการ
ตลอดเลยทังๆที
้
ดูแลด ้วยหัวใจความเป็ นมนุ ษย ์เหมือนกันนะ ว่ามัย”
่ ยกว่า
“ได ้ไปช่วยโรงพยาบาลมหาราช กลับมาก็มค
ี วามสุขนี่ หรือทีเรี
่ ้จริงเกิดขึนได
้ ้ด ้วยใจ”
สุขทีแท
้ั รู้ ้สึกสุขใจ
“ใช่ การได ้ไปช่วยเหลือผูท้ เดื
ี่ อดร ้อนจากภัยน้าท่วมครงนี
มากๆ”
่
“ใช่ๆมีความสุขมาก ได ้ช่วยเหลือคนทีเขาก
าลังเดือดร ้อน รู ้สึกสุขใจ
อย่างบอกไม่ถก
ู ”
่ กน้อยแต่รายละเอียดนั้นย่อมมีคา่
“ถึงแม้ว่าเป็ นเพียงรายละเอียดทีเล็
เสมอ”
“ใช่เลยค่ะ..ความสุขอยู่ทใจใช่
ี่
ไขว่คว ้า....แค่เราได ้ช่วยเหลือคนที่
เดือดร ้อน ถึงแม้เล็กๆน้อยๆก็มค
ี วามสุขแล ้วล่ะค่ะ”
การให้ขอ
้ มู ลย้อนกลับ คาติชม
ของอาจารย
์
่
• “ดีมากค่ะ เป็ นตัวอย่างทีดีของการดูแลด ้วยหัวใจความเป็ น
่
่ นเขามีความ
มนุ ษย ์ การให ้การช่วยเหลือเพือนมนุ
ษย ์เมือเห็
่
ทุกข ์ยาก จาไว ้เสมอว่า การดูแลเพือนมนุ
ษย ์ด ้วยกันด ้วยหัว
ใจความเป็ นมนุ ษย ์ ประกอบด ้วย 3 Hs คือ
่ นทีหั
่ วใจ (Heart) คือการเห็นความเป็ นองค ์รวมของ
• เริมต้
คน มองเห็นความทุกข ์ของผูป้ ่ วย
่
• ลงมือกระทา (Hand) คือ เมือเราเห็
นความทุกข ์ของคน
่ แล ้วเราปรารถนาให ้เขาพน้ ทุกข ์ เราจึงต ้องหาทาง หรือ
อืน
ลงมือกระทาการช่วยเหลือเขาเหล่านั้น
• และตามด้วยการใช้ความรู ้และประสบการณ์ (Head)
คือ การแสวงหาหนทางในการช่วยเหลือโดยใช ้ปัญญาในการ
ช่วยให ้เขาพน้ ทุกข ์
่
่ ้ร ับหามูลค่าไม่ได ้ คือความอิมใจ
่
• สิงตอบแทนที
ได
ความสุข