รูปแบบรายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์

Download Report

Transcript รูปแบบรายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์

บทที่ 5 การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์
เพื่อสื่อวิทยุและโทรทัศน์
การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ ทางสื่อวิทยุ
คุณลักษณะของสื่อวิทยุกระจายเสียง
วิทยุกระจายเสียงสื่อสารโดยการถ่ายทอดเสียง
การผลิตรายการสามารถกระทาได้ อย่างรวดเร็วและ
เสียค่าใช้ จ่ายน้ อย
สามารถเข้ าถึงประชาชนจานวนมาก
กระบวนการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง
1. ขัน้ เตรียมการ
เป็ นขั น้ ตอนการวางแผนการจั ด รายการ ก าหนดวั ต ถุ ป ระสงค์
กลุ่ ม เป้ าหมาย รู ป แบบรายการ ตลอดจนค้ นคว้ าหาข้ อมู ล ที่ ใ ช้
ประกอบการเขี ย นบทรายการ และก าหนดผู้ด าเนิ น รายการหรื อ
ผู้ประกาศ ผู้ร่วมรายการ ผู้ควบคุมเสียง เป็ นต้ น
2. ขัน้ ซักซ้ อม
บางรายการอาจจาเป็ นต้ องการทาการซักซ้ อม เพื่อให้ การดาเนิ น
รายการเป็ นไปอย่างสมบูรณ์
3. ขัน้ ออกอากาศ
4. ขัน้ ประเมินผล
การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ ทางสื่อวิทยุ
ข่ าวประชาสัมพันธ์
บทรายการวิทยุกระจายเสียงเพื่อการประชาสัมพันธ์
สปอตวิทยุเพื่อการประชาสัมพันธ์
ข่ าวประชาสัมพันธ์ ทางวิทยุ
ข่ า วประชาสัม พัน ธ์ ท างวิ ท ยุก ระจายเสี ย งส่ว นใหญ่ มัก เป็ น
ประเภทข่ า วบริ ก าร ซึ่ ง มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ รายงานความ
เคลื่ อ นไหวเกี่ ย วกับ กิ จ กรรมที่ เ ป็ นประโยชน์ แ ก่ สัง คม เช่ น
ข่าวกิจกรรมการจัดงานต่างๆ ข่าวรับสมัครงาน เป็ นต้ น
โดยทั่ว ไปการเผยแพร่ ข่ า ววิ ท ยุก ระจายเสี ย งมัก อาศัย การ
เผยแพร่ ผ่านศูนย์กลาง เช่น กรมประชาสัมพันธ์ สานักข่าวไทย
เป็ นต้ น
รูปแบบของข่ าววิทยุกระจายเสียง
1) ข่ าวอ่ าน
ข่าวที่ผ้ ูสื่อข่าวหรื อบรรณาธิการเรี ยบเรี ยงขึ ้นจากข้ อมูล
และค าให้ สัม ภาษณ์ ทัง้ หมดจากแหล่ ง ข่ า ว แล้ ว ให้
ผู้ประกาศข่าวอ่านออกอากาศ
2) ข่ าวประกอบเสียง
ข่าวที่เรี ยบเรี ยงขึ ้นโดยเกริ่ นนาในตอนต้ นและสอดแทรก
เทปเสียงสัมภาษณ์ จากแหล่งข่าวที่แท้ จริ งมาประกอบ
เพื่อเพิ่มความน่าสนใจและน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ ้น
ลักษณะการเขียนข่าวแจกทางวิทยุกระจายเสียง
• เป็ นการเขียนข่าวแบบไม่เป็ นทางการ นิยมใช้ ภาษาพูด
• ให้ ผ้ ฟู ั งรู้วา่ ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อใด ทาไม และอย่างไร
ข้อควรคำนึงกำรเขียนข่ำวแจกทำงวิทยุกระจำยเสี ยง
โครงสร้ างของข่ าววิทยุกระจายเสียง
มั ก ใช้ การเขี ย นรู ปแบบพี ร ามิ ด หั ว กลั บ เช่ น เดี ย วกั บ ข่ า ว
หนังสือพิมพ์ แต่การนาเสนอข่าววิทยุแตกต่างจากข่า วนสพ.บาง
ประการ คือ
1) ไม่นิยมเขียนวรรคนา
2) การเขียนพาดหัวข่าวต้ องสื่อความหมายชัด เจน
ด้ วยประโยคที่สมบูรณ์กว่าพาดหัวข่าวนสพ.
3) เนื ้อหาข่าว ต้ องสันและกะทั
้
ดรัด
ข่ำวประชำสัมพันธ์
วิง่ เพื่อสุ ขภำพ
เวลำ : - นำที 28 วินำที
ควำมยำว : 4 บรรทัด
โรงแรมแปซิฟิคพลำซ่ำจัดวิง่ เพื่อสุ ขภำพ
(สำหรับออกอำกำศระหว่ำงวันที่ 5-17 สิ งหำคม 2556)
โรงแรมแปซิฟิคพลาซ่าของเชิญชวนพี่น้องชาว กทม. วิ่งเพื่อ
สุขภาพ สมทบทุนช่วยเหลือเด็กพิการทางสมองและปั ญญา
ผู้สนใจสมัครได้ ที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์ โรงแรมแปซิฟิคพลาซ่า
สุขมุ วิท ระหว่างวันที่ 10 -17 สิงหาคม นี ้ ค่าสมัครคนละ 100 บาท
- จบข่าว –
จาก : ฝ่ ายประชาสัมพันธ์
โรงแรมแปซิฟิคพลาซ่า โทรศัพท์ 02-2456783
5 / 8 / 56
บทรายการวิทยุกระจายเสียงเพื่อการประชาสัมพันธ์
นักประชาสัมพันธ์ผลิตรายการวิทยุฯเพื่อเป็ นสื่อกลางในการเผยแพร่ข่าวสาร
ขององค์กร ซึง่ มักเผยแพร่ใน 3 ช่องทาง คือ
1) ทางสื่อวิทยุกระจายเสียงระดับชาติ
ได้ แ ก่ สถานี วิ ท ยุก ระจายเสี ย งแห่ ง ประเทศไทย การเลื อ ก
ออกอากาศช่องทางนี ้ต้ องนาเสนอเรื่ องราวที่สาคัญอย่างกว้ างๆ
2) ทางสื่อวิทยุกระจายเสียงระดับท้ องถิ่น/ภูมิภาค
มุง่ เจาะกลุม่ เป้าหมายเฉพาะภูมิภาคใดภูมิภาคหนึ่ง /เฉพาะที่
3) ทางเสียงตามสาย
มุง่ เจาะกลุม่ เป้าหมายภายในหน่วยงาน
รู ปแบบรายการวิทยุกระจายเสียงเพื่อการประชาสัมพันธ์
1) รายการสารคดี
รายการสารคดีเหมาะสาหรับการเล่าเรื่ องราวที่ชวนติดตามและ
ต้ องการให้ มีสีสนั เพื่อให้ ผ้ ฟู ั งเกิดอารมณ์ร่วม
2) รายการให้ ความรู้
มักนิยมจัดทารายการให้ ความรู้ เชิงแนะนาอย่างสัน้ เพื่อมุ่งให้
ความรู้ใหม่ๆ แก่ผ้ ฟู ั งเป็ นหลัก
3) รายการสนทนา
สามารถให้ ความรู้ และความบัน เทิ ง แก่ ผ้ ู ฟั ง ทัง้ นี ผ้ ้ ูด าเนิ น
รายการต้ องมีทกั ษะในการพูดที่น่าสนใจจึงจะดึงดูดได้
ประเภทบทรำยกำรวิทยุกระจำยเสี ยงเพื่อกำรประชำสัมพันธ์
Technical Term
•
•
•
•
•
F/I
F/O
F/UN
F/UP
F/DOWN
• CROSS FADE
• SFX
• VOX POP
• Music
องค์ ประกอบของบทวิทยุกระจายเสียง
1) ส่ วนหัว
จะบอกชื่ อ รายการ ชื่ อ เรื่ อ งตอน วัต ถุป ระสงค์ / จุด มุ่ง หมาย
ความยาวของรายการ วัน เวลา และสถานที่ออกออกอากาศ
ผู้ผลิตรายการ/ผู้เขียนบทรายการ
2) ส่ วนเนือ้ หา
เป็ นรายละเอี ย ดของเนื อ้ หา เรื่ อ งราวตามล าดับ และบอก
ผู้เกี่ยวข้ องในรายการว่าจะต้ องทาอะไร
3) ส่ วนปิ ดท้ าย
เป็ นส่วนสรุปเนื ้อหา หรื อกล่าวขอบคุณผู้ร่วมรายการ
เค้ำโครงบทรำยกำรวิทยุกระจำยเสี ยง
ส่ วนหัว
โครงกำร / ชื่อ หน่วยงำน หรื อ บริ ษทั …………………..
ชื่อรำยกำร ……………………..
ชื่อเรื่ อง / ตอน …………………………….
กลุ่มเป้ ำหมำย …………………………….
วัตถุประสงค์ ……………………………
รู ปแบบรำยกำร ………………………….
ควำมยำวรำยกำร : ………นำที / ชัว่ โมง
สถำนีที่ออกอำกำศ…………………………………………
วันที่ออกอำกำศ ……………… เวลำที่ออกอำกำศ……………
ส่ วนเนือ้ หา
เพลงประจำรำยกำร (หมำยเลข ลำดับเพลง ของ CD ) เวลำ นำที
ผูป้ ระกำศ
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………
เวลำ นำที
F / I เพลงคัน่ รำยกำร (หมำยเลข ลำดับเพลง ของ CD)
เวลำ นำที
ผูป้ ระกำศ
………………………………………………………………………
…………………………………………………………………
เวลำ นำที
F / I SFX เสี ยงน้ ำตก
น้ ำไหลในลำธำร
เวลำ นำที
หลักกำรเขียนบทวิทยุกระจำยเสี ยง
Narration voice
Backing Track or Music
Sound Effect
Silence
• เพลงประกอบรำยกำร
– เพลงประจำรำยกำร
–เพลงคัน่ รำยกำร
•
บทเกริ่ นนำเข้ำสู่รำยกำร
– Vox pop
– Striking
– Sound Effect
ขัน้ ตอนการเขียนบทวิทยุกระจายเสียง
1) พิจารณาวัตถุประสงค์ ในการเขียน
2) วิเคราะห์ กลุ่มผู้ฟัง
3) กาหนดแนวคิดรายการ
4) กาหนดรูปแบบรายการ
5) กาหนดเนือ้ หารายการ
6) ค้ นคว้ าข้ อมูล
7) กาหนดโครงเรื่องและเรียบเรียงเนือ้ หา
8) ตรวจทานบท
ประเภทของเสียงในรายการวิทยุกระจายเสียง
1) เสียงบรรยาย หรื อ เสียงพูด
2) เสียงดนตรี หรือ เสียงเพลง
3) เสียงประกอบ (Sound Effect)
ภาษาและลีลาการพูด
ต้ องใช้ ภาษาเชิงสนทนา เข้ าใจง่าย ชัดเจน ไม่วกวนหรื อเยิ่นเย้ อ ละเว้ น
การใช้ ศพั ท์ที่ไม่จาเป็ น และพูดคุยอย่างสุภาพ นอกจากนี ก้ ารใช้ น ้าเสียง
และจังหวะลีลาการพูดที่ชวนให้ ติดตาม
ตัวอย่ำงบทรำยกำร
สปอตวิทยุฯเพื่อการประชาสัมพันธ์
การจัดทาบทสปอตวิทยุฯ ส่วนใหญ่ มีความยาวประมาณ
30-60 วิ น าที มั ก ผลิ ต เพื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ ก ารจั ด กิ จ กรรม
โครงการต่ า งๆ เพื่ อ การรณรงค์ เ รื่ อ งใดเรื่ อ งหนึ่ ง หรื อ เพื่ อ
โฆษณาประชาสัมพันธ์ ภาพลักษณ์องค์กร ซึง่ สามารถนาเสนอ
ได้ หลายรู ปแบบ เช่น บทสนทนา ประกาศ บรรยาย หรื อละคร
เป็ นต้ น โดยใช้ เสียงดนตรี และเสียงประกอบมาปรุ งแต่งให้ เกิด
ความน่าสนใจ
วัตถุประสงค์ของสปอต
• เพื่อสร้างจินตภาพให้สถาบันหรือผลิตภัณฑ์
• เพือ่ โฆษณาผลิตภัณฑ์หรือบริการ
• เพือ่ ส่งเสริมสังคมและวัฒนธรรม
โครงสร้ างของสปอตวิทยุ
1. Headline Idea
2. Details Idea
3. The Closing Idea
ตัวอย่ำง
สปอต : ทิ้ งขยะ
วัตถุประสงค์
1.เพื่อปลูกฝังนิ สยั ที่ดีในการทิ้ งขยะเพื่อความสะอาด ของบ้านเมือง
2.เพื่อขอความร่วมมือปฏิบตั ิให้ถกู ต้อง
กลุ่มเป้าหมาย
ประชาชนทัว่ ไป
sound up เสียงเบรค
ผูป้ ระกาศชาย
อย่า…อย่าทิ้ งขยะบนท้องถนนและคูคลองสาธารณะ เพราะท่านกาลังจะทา
ผิดกฎหมายและสร้างตัวอย่างนิ สยั ที่ไม่ดีให้เยาวชน
ผูป้ ระกาศหญิง
ผลรึ…ก็ทาให้บา้ นเมืองแสนสกปรก ท่อระบายน้ าอุดตัน คูคลองตื้ นเขิน
และที่ตามมาคือปั ญหาสุขภาพอนามัย
ผูป้ ระกาศชาย
มาเถอะครับ มาช่วยกันรักษาความสะอาดโปรดให้ความร่วมมือ เพื่อ
ประโยชน์สุขของส่วนรวม
เพลง
จังหวะสนุ กๆ
แดง = headline
เขียว = detail
น้ าเงิน = closing idea
การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ ทางสื่อโทรทัศน์
คุณลักษณะของสื่อวิทยุโทรทัศน์
วิทยุโทรทัศน์สื่อสารโดยการถ่ายทอดเสียงและภาพแสดง
ความเคลื่อนไหว
การผลิตรายการต้ องใช้ เวลามาก ใช้ กาลังคนมาก และ
เสียค่าใช้ จ่ายสูง
การถ่ายทารายการวิทยุโทรทัศน์ต้องกระทาในสถานที่
ที่เหมาะสมและในเวลาเฉพาะเจาะจง
กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์
1. ขัน้ ก่ อนการถ่ ายทา(Pre-production)
เป็ นขัน้ ตอนส าหรั บ เตรี ย มการในทุก ๆส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ได้ แก่ การ
วางแผนรายการ การค้ นคว้ าข้ อมูล การเขี ยนบท การจัดหาผู้แสดง
สถานที่ถ่ายทา ฉาก และอุปกรณ์ประกอบ เครื่ องแต่งกาย ฯลฯ
2. ขัน้ ถ่ ายทา(Production)
เป็ นขันตอนลงมื
้
อถ่ายทาตามบทที่กาหนดไว้
3. ขัน้ หลังการถ่ ายทา(Post-Production)
เป็ นขัน้ ตอนการตัด ต่อ ลาดับ ภาพและบัน ทึก เสี ยงเพื่ อให้ รายการ
สมบูรณ์ และสามารถนามาออกอากาศได้ ตามต้ องการ
4. ขัน้ การประเมินผล
การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ ทางสื่อโทรทัศน์
ข่ าวประชาสัมพันธ์
บทรายการวิทยุโทรทัศน์ เพื่อการประชาสัมพันธ์
สปอตโทรทัศน์ เพื่อการประชาสัมพันธ์
ข่ าวประชาสัมพันธ์ ทางโทรทัศน์
ข่าวประชาสัมพันธ์ทางวิทยุโทรทัศน์มีการนาเสนอให้ มีลกั ษณะ
เหมือนข่าว โดยมีภาพจากเหตุการณ์จริ งประกอบเนื ้อหา ทาให้
มี ค วามน่ า สนใจ ส่ ว นใหญ่ มั ก นิ ย มเผยแพร่ ข่ า วหลัง จาก
กิจกรรมหรื อเหตุการณ์ นนั ้ ๆ เกิดขึ ้นแล้ ว ด้ วยการซื อ้ ช่วงเวลา
ข่าวสังคม – ธุรกิจ
เนื อ้ หาข่าวประชาสัมพันธ์ ส่วนใหญ่ เกี่ ยวกับ การเปิ ดกิ จการ
ใหม่ การขยายการลงทุน การเปิ ดตัว ผลิตภัณฑ์ ใ หม่สู่ ตลาด
โครงการพิเศษหรื อกิจกรรมเพื่อสังคม ฯลฯ
โครงสร้ างของข่ าววิทยุโทรทัศน์
1) เขียนแบบพีระมิดหัวกลับ
2) ไม่นิยมเขียนวรรคนา
3) ความยาวของเนื ้อหาข่าว โดยทัว่ ไปไม่เกิน 1 นาที
ต้ องสัน้ กระชับ และให้ จบภายในเวลาที่กาหนด
กำรรู ปแบบบทของข่ำววิทยุโทรทัศน์
วัน/เดือน/ปี /เวลา: 5 ส.ค. 56 – 15.00 น.
ประเภทข่าว: การเมือง
หัวข้ อข่าว: รัฐมนตรี ช่วยเหลือผู้ประสบภัยน ้าท่วม
ผู้สื่อข่าว: เอมอร
โปรดิวเซอร์ : รชต
ช่างภาพ: ตรี เพชร
หน้ าที่: ½
ผู้ประกาศ: สมาพร
ข่าวภาค: ภาคค่า
สายข่าว: ข่าวการเมือง
บรรณาธิการข่าว: ญานุดา
ตัดต่อ: รวี
( ) ข่าวลงเสียง ( ) ข่าวอ่าน ( ) ข่าวอ่านและสัมภาษณ์ ความยาวเทป : 2.00 นาที
1.
2.
ภาพ
เสี ยง
ผู้ประกาศ
เทปสัมภาษณ์ –อ่านต่อ
CG ชื่อและตาแหน่งของบุคคลในข่าว
ชื่อผู้รายงานข่าวและชื่อช่างภาพ
(เนื้อข่ำว).............................................................
(เสี ยงสัมภำษณ์) (เริ่ มที่.....) (จบที่......) (เวลำ....)
หลักการเขียนบทวิทยุโทรทัศน์
องค์ประกอบแรกที่ผ้ เู ขียนบทจะต้ องให้ ความสาคัญเป็ นหลัก คือ ภาพ
ภาพแต่ละภาพจะต้ องสื่อความหมายได้ ดี
• ต้ องคิดออกมาเป็ นภาพ
Action
• ต้ องเขียนคาพูดเพื่อการฟั ง
• ต้ องเข้ าใจพืน้ ฐานของผู้ชม
• ต้ องเข้ าใจวิธีการนาเสนอ
Sound
Picture
ศัพท์เทคนิค
• ช็อท (shot)
• ซีน (scene)
• ซีเควนซ์ (sequence)
ช็อท (shot)
• ช็อท (shot)
หมำยถึง ลักษณะภำพที่เกิดจำกกำรถ่ำยภำพตัง่ แต่เริ่ มถ่ำยไปจนถึงกำร
หยุดกำรเดินกล้อง เรี ยกว่ำ 1 ช้อท หรื อ 1 เทค (take)ซึ่งอำจมีกำร
ถ่ำยภำพซ้ ำกันมำกกว่ำ 1 ครั้งในช็อทเดียวกัน และ ถ้ำหำกมีควำม
ผิดพลำดเกิดขึ้นในแต่ละครั้ง เรำสำมำรถถ่ำยใหม่ ได้ซ่ ึงเรำเรี ยกว่ำ ถ่ำย
ซ้ ำ (retake)
ซีน (scene)
• ซีน (scene)
หมำยถึง สถำนที่ (place) หรื อ ฉำก (set) ที่จดั ขึ้น หรื อ ดัดแปลง
ขึ้นเพื่อใช้ในกำรแสดง เพื่อกำรถ่ำยทำ หรื อ กำรนำเอำช็อทหลำยๆช็อท
มำรวมกันซึ่งเป็ นช็อทที่เหตุกำรณ์เกิดขึ้นในสถำนที่ เดียวกัน เวลำ
เดียวกัน หรื อมีควำมต่อเนื่องทำงเนื้อหำ ซึ่งในแต่ละซีน อำจมีหลำยช็อท
หรื อช็อทเดียว ได้ (long take) ขึ้นอยูก่ บั ควำมเข้ำใจของผูช้ ม
ซีเควนซ์ (sequence)
• ซีเควนซ์ (sequence)
หมำยถึง ตอน หรื อช่วงเหตุกำรณ์หนึ่ง เป็ นกำรรวบรวมเอำฉำกหลำยๆ
ฉำกที่มีควำมสัมพันธ์ กันมำต่อเนื่องกันเข้ำ และเมื่อรวมต่อเข้ำกันแล้วจะ
เกิดผลสมบูรณ์ของเนื้อหำอยูใ่ นตัวเอง สำมำรถจบ เหตุกำรณ์ในช่วงนั้นๆ
ลงโดยที่ผชู ้ มเข้ำใจได้ ซึ่งในซีเควนซ์หนึ่งงๆ อำจประกอบด้วยซีนเดียว
หรื อหลำย ซีนได้ อีกทั้งเวลำถ่ำยทำควรมีกำรจัดหมวดหมู่ซีเควนซ์ ทุก
ครั้ง
มุมกล้อง
มุมกล้อง (camera angle shots)
• ภำพระดับสำยตำ (eye level shot)
• ภำพระดับมุมสูง (high level shot)
• ภำพระดับมุมต่ำ (low level shot)
ภำพระดับสำยตำ (eye level shot)
• ภำพระดับสำยตำ (eye level shot)
• เป็ นกำรตั้งกล้องระดับปกติทวั่ ไป โดยตั้งกล้องสูงแนวระดับตำผูแ้ สดง
มักจะไม่ระบุไว้ในบทโทรทัศน์ เพรำะถือว่ำเป็ นที่เข้ำใจกันอยูแ่ ล้ว
ภำพระดับมุมสูง (high level shot)
• ภำพระดับมุมสูง (high level shot)
เป็ นกำรตั้งกล้องมุมสูง เพื่อต้องกำรให้เห็นควำมลึกหรื อระยะทำงไกล ใน
กรณี น้ ีตอ้ งระบุไว้ใน บทโทรทัศน์วำ่ กล้องมุมสูง แต่ถำ้ ต้องกำรถ่ำยมุมที่
สูงมำกลงมำ จะเรี ยกกันว่ำ มุม bird’s eyes view ซึ่งในกำรใช้
มุมกล้องลักษณะนี้เพื่อหวังผลทำงจิตวิทยำ หมำยถึง สิ่ งที่ถูกถ่ำยทำจะถูก
ลดควำมสำคัญ เน้นควำมรู ้สึกอ่อนแอ ไม่มีพลัง ถูกครอบงำด้วย
สภำพแวดล้อมรอบๆตัว
ภำพระดับมุมต่ำ (low level shot)
• ภำพระดับมุมต่ำ (low level shot)
เป็ นกำรตั้งกล้องมุมต่ำ มักจะใช้เป็ นภำพแทนสำยตำผูแ้ สดง หรื อ
ต้องกำรให้เห็นภำพในมุม แปลก ในกรณี น้ ีตอ้ งระบุในบทโทรทัศน์วำ่
กล้องมุมต่ำ ซึ่งในกำรใช้มุมกล้องลักษณะนี้เพื่อหวังผล ทำงจิตวิทยำ
หมำยถึง สิ่ งที่ถ่ำยทำจะมีพลัง เข้มแข็ง มีอิทธิพลสำมำรถควบคุม
สภำพแวดล้อมได้
ซ็อทพื้นฐำน
ซ็อทพื้นฐำน (basic shots)
• เพื่อแสดงให้เห็นลักษณะของภำพ ขนำดของภำพที่จะถ่ำย
1. ภำพระยะไกลมำก Extreme Long shot (ELS)
2. ภำพระยะไกล Long shot (LS)
3. ภำพระยะไกลปำนกลำง Medium Long shot (MLS)
4. ภำพระยะปำนกลำงMedium shot (MS)
5. ภำพระยะปำนกลำงใกล้ Medium Close Up shot
(MCU)
6. ภำพระยะใกล้ Close Up (CU)
7. ภำพระยะใกล้มำก Extreme Close Up (ECU)
Extreme Long shot (ELS)
• 1. ภำพระยะไกลมำก
Extreme Long shot
(ELS)
หมำยถึง กำรถ่ำยภำพภำพใน
ระยะที่อยูไ่ กลมำก เพื่อให้เห็นถึง
บรรยำกำศโดยรอบของสถำนที่
หรื อ สภำพแวดล้อมไม่มีกำรเน้น
สิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง
Long shot (LS)
• 2. ภำพระยะไกล Long
shot (LS)
หมำยถึง กำรถ่ำยภำพวัตถุใน
ระยะไกล เพื่อแสดงที่ต้ งั หรื อ
ส่ วนประกอบในฉำก หรื อแสดง
สัดส่ วน ของขนำดวัตถุ
เปรี ยบเทียบกับส่ วนประกอบ
อื่นๆในฉำก เช่น ภำพเต็มตัว
Medium Long shot (MLS)
• 3. ภำพระยะไกลปำนกลำง
Medium Long shot
(MLS)
หมำยถึง กำรถ่ำยภำพวัตถุใน
ระยะไกล ที่แสดงให้เห็นถึง
รำยละเอียดของวัตถุ
Medium shot (MS)
• 4. ภำพระยะปำนกลำง
Medium shot (MS)
หมำยถึง กำรถ่ำยภำพวัตถุใน
ระยะปำนกลำงเพื่อ ตัดฉำกหลัง
และรำยละเอียดอื่นๆที่ไม่จำเป็ น
ออกไป อีกทั้งยังเป็ นกำรถ่ำยภำพ
วัตถุให้เห็นภำพที่ใหญ่กว่ำเดิม
เน้นส่ วนละเอียดมำกขึ้น เช่นภำพ
ครึ่ งตัว
Medium Close Up shot (MCU)
• 5. ภำพระยะปำนกลำงใกล้
Medium Close Up
shot (MCU)
หมำยถึง ภำพถ่ำยวัตถุในระยะ
ปำนกลำง ที่ถ่ำยเน้นรำยละเอียด
ของวัตถุให้เข้ำใกล้มำอีก
Close Up (CU)
• 6. ภำพระยะใกล้ Close Up
(CU)
หมำยถึง ภำพถ่ำยระยะใกล้วตั ถุ
เพื่อเน้นวัตถุ หรื อบำงส่ วนของ
วัตถุขจัดสิ่ งอื่นๆที่ไม่ตอ้ งกำร
แสดง ออกไป ขยำยให้เห็น
รำยละเอียดเฉพำะของวัตถุให้
ชัดเจนมำกขึ้น เช่นภำพครึ่ ง
หน้ำอก
Extreme Close Up (ECU)
• 7. ภำพระยะใกล้มำก
Extreme Close Up
(ECU)
หมำยถึง ภำพถ่ำยที่เน้นให้เห็น
ส่ วนใดส่ วนหนึ่งของวัตถุอย่ำง
ชัดเจน เช่นนัยน์ตำ เพื่อแสดง
อำรมณ์ของผูท้ ี่อยูใ่ นภำพ
ลักษณะของภำพที่ถ่ำย
•
เพื่อบอกเนื้อหำ หรื อเรื่ องรำวของภำพและลักษณะภำพ
หรื อธรรมชำติของภำพที่ถ่ำย
1. ภำพที่ถ่ำยจำกมุมสูง (aerial shot / bird’s eyes
view)
2. ภำพที่ถ่ำยในระยะใกล้มำก (Big Close Up Shot)
3. ภำพครึ่ งอก (Bust Shot)
4. ภำพเอียง (Canted Shot)
5. ภำพถ่ำยข้ำมไหล่ (Cross Shot)
ภำพที่ถ่ำยจำกมุมสู ง
(aerial shot / bird’s eyes view)
• 1. ภำพที่ถ่ำยจำกมุมสูง (aerial
shot / bird’s eyes
view)
หมำยถึง ภำพถ่ำยในลักษณะถ่ำย
จำกมุมสูง เช่น จำกเครื่ องบิน
เสมือนภำพแทนสำยตำนก ในบท
โทรทัศน์นอกจำกบอกว่ำ ตั้ง
กล้องมุมสูงแล้วจะต้องระบุดว้ ย
ว่ำถ่ำยจำกเครื่ องบิน
ภำพที่ถ่ำยในระยะใกล้มำก (Big Close Up Shot)
• 2. ภำพที่ถ่ำยในระยะใกล้มำก
(Big Close Up Shot)
หมำยถึง ภำพถ่ำยในลักษณะใกล้
มีขนำดใหญ่ เช่น ภำพคนเต็ม
หน้ำ หรื อภำพบำงส่ วนของ
ใบหน้ำที่ตอ้ งกำรเน้นเฉพำะ เช่น
นัยน์ตำ ปำก จมูก หรื อบำงส่ วน
ของวัตถุ
ภำพครึ่ งอก (Bust Shot)
• 3. ภำพครึ่ งอก (Bust Shot)
หมำยถึง ภำพถ่ำยศีรษะกับหัวไหล่ท้ งั สองของผูแ้ สดง
ภำพเอียง (Canted Shot)
• 4. ภำพเอียง (Canted Shot)
หมำยถึง ภำพที่อยูน่ อกเส้นดิ่งของภำพ ในบทโทรทัศน์มกั จะบอก
รำยละเอียดเพิ่มเติม เช่น ภำพเอียง หรื อภำพเฉียง ลักษณะใด
ภำพถ่ำยข้ำมไหล่ (Cross Shot)
• 5. ภำพถ่ำยข้ำมไหล่ (Cross Shot)
หมำยถึง ภำพที่ถ่ำยข้ำมไหล่ดำ้ นหลังอีกคนหนึ่งเป็ นฉำกหน้ำ และเห็น
หน้ำอีกคนหนึ่ง ในบทโทรทัศน์ใช้คำว่ำ X- Shot หรื อถ่ำยข้ำมไหล่
ภำพเต็มตัว (Full Shot)
• 6. ภำพเต็มตัว (Full Shot)
หมำยถึง ภำพผูแ้ สดงคนเดียว หรื อหลำยคนเต็มตัว โดยมีฉำกหลัง
ประกอบ
ภำพระดับเข่ำของร่ ำงกำย (Knee Shot)
• 7. ภำพระดับเข่ำของร่ ำงกำย (Knee Shot)
หมำยถึง ภำพที่ถ่ำยตัง่ แต่ศีรษะลงไปจนถึงหัวเข่ำ หรื อกำรถ่ำยภำพตัง่ แต่
หัวเข่ำลงไปถึงเท้ำ ซึ่งในบทโทรทัศน์ควรระบุให้ชดั เจน
ภำพถ่ำยจำกกระจกเงำ (Mirror Shot)
• 8. ภำพถ่ำยจำกกระจกเงำ (Mirror Shot)
หมำยถึง ภำพที่ถ่ำยผูแ้ สดงจำกภำพในกระจกเงำ ซึ่งในบทโทรทัศน์ควร
ระบุให้ชดั เจนว่ำเป็ นภำพจำกกระจกเงำ
ภำพหมู่ (Group shot)
• 9. ภำพหมู่ (Group shot)
หมำยถึง ภำพในลักษณะรวมกันเป็ นหมู่ หรื อเป็ นกลุ่มคน
ภำพบุคคล 2 คนครึ่ งตัว
(Two Shot / Double Shot )
• 10. ภำพบุคคล 2 คนครึ่ งตัว (Two Shot / Double Shot )
หมำยถึง ภำพบุคคล 2 คนครึ่ งตัวในกรอบภำพเดียวดัน หันหน้ำเข้ำหำกัน
หลักกำรกำหนดภำพ
• 1. ภำพแบบออฟเจคตีฟ (Objective Shot)
หมำยถึง กำรถ่ำยภำพในลักษณะแทนสำยตำของผูช้ ม หรื อผูส้ งั เกตกำรณ์
ตำแหน่งของกล้องจะอยูท่ ำงด้ำนหน้ำของนักแสดง
• 2. ภำพแบบซับเจคตีฟ (Subjective Shot)
หมำยถึง กำรถ่ำยภำพในลักษณะกล้องจะตั้งอยูใ่ นตำแหน่งแทนสำยตำ
ของผูแ้ สดง และกำกับมองดูกำรกระทำ เช่นเดียวกับที่ผแู ้ สดงมองเห็น
ตัวอย่ำงที่ใช้กนั บ่อยๆคือ ตั้งกล้องในมุมสูง ถ่ำยภำพข้ำมไหล่ผแู ้ สดงไป
ยังวัตถุที่กำลังแสดงอยู่
กำรเคลื่อนไหวกล้อง (Camera Movement)
• กำร เคลื่อนไหวกล้องในระหว่ำงกำรถ่ำยทำจะช่วยเพิ่มควำมน่ำสนใจและ
แสดงเรื่ องรำว ควำมหมำยได้ดีนอกเหนือจำกตัววัตถุเคลื่อนไหวหรื ออำจ
เคลื่อนไหวทั้ง 2 อย่ำง พร้อมๆกัน กำรเคลื่อนไหวของกล้องมีหลำแบบ
ดังนี้
กำรแพนกล้อง (Panning)
• กำรแพนกล้อง (Panning)
หมำยถึง กำรเคลื่อนที่ของกล้อง
ตำมแนวนอนไปทำงซ้ำย (Pan
left) หรื อไปทำงขวำ (Pan
right) เพื่อให้เห็นวัตถุตำม
แนวกว้ำง หรื อเมื่อต้องกำรนำ
ผูช้ มไปยังจุดน่ำสนใจ หรื อที่
ต้องกำร
- เพื่อให้เห็นภำพที่อยูน่ อกจดภำพ
ในขณะนั้น
- เพื่อต้องกำรติดตำมกำร
กำรทิ้ลท์ (Tilting)
• 2. กำรทิ้ลท์ (Tilting)
หมำยถึง กำรเคลื่อนกล้องตำม
แนวดิ่ง จำกล่ำงขึ้นบน (Tilt
Up) และจำกบนลงล่ำง (Tilt
Down) เพื่อให้เห็นวัตถุตำม
แนวตั้งเช่น ภำพอำคำรสูง หรื อ
นำผูช้ มไปยังจุดที่ตอ้ งกำร
- เพื่อให้เห็นตำแหน่งที่ต้ งั ของสิ่ ง
ต่ำงๆ โดยสัมพันธ์กนั
- เพื่อให้เห็นวัตถุที่ยำวหรื อสูง
กำรซูม (Zooming)
• 3. กำรซูม (Zooming)
หมำยถึง กำรเปลี่ยนขนำดของ
วัตถุให้ใหญ่ข้ ึน (Zoom In)
หรื อเปลี่ยนขนำดของวัตถุให้เล็ก
ลง(Zoom Out)
- เพื่อต้องกำรเปลี่ยนขนำดของ
วัตถุอย่ำงช้ำๆ
- เมื่อต้องกำรให้ผชู ้ มสนใจวัตถุ
นั้น
- เมื่อต้องกำรให้เห็นวัตถุอย่ำง
กำรดอลลี่ (Dolling)
• 4. กำรดอลลี่ (Dolling)
หมำยถึง กำรเคลื่อนกล้องติดตำม ควำม
เคลื่อนไหวของสิ่ งที่ถ่ำย หรื อฉำกที่มี
ระยะทำงยำวในทิศทำงตรง หรื อทำงอ้อม
ไปรอบๆ กำรเคลื่อนไหวกล้องเข้ำหำวัตถุ
เรี ยกว่ำ Dolly in และกำรเคลื่อนไหว
กล้องออกจำกวัตถุ เรี ยกว่ำ Dolly out
ผลของกำรดอลลี่ (Dolly) จะคล้ำยซูม
(Zoom) คือขนำดของวัตถุจะ
เปลี่ยนแปลงไปตำระยะของกำรดอลลี่ แต่
จะแตกต่ำงกันตรง ส่ วนประกอบต่ำงๆใน
ภำพเกี่ยวกับระยะทำงระหว่ำงวัตถุกบั ฉำก
หน้ำและฉำกหลัง จะเปลี่ยนแปลงไปตำม
กำรเคลื่อนไหวของกล้อง คนดูจะสำมำรถรู ้
ถึงมิติของควำมลึกมำกกว่ำภำพที่เกิดจำก
กำรซูม
กำรทรัค (Trucking / Tracking )
• 5. กำรทรัค (Trucking /
Tracking )
หมำยถึง กำรเลื่อนไหวกล้องไป
ด้ำนซ้ำยให้ขนำนกับวัตถุไป
ทำงซ้ำย เรี ยกว่ำ หรื อไปทำงขวำ
เรี ยกว่ำ ซึ่งผลจะคล้ำยกับกำร
แพน แต่กำรทรัคจะช่วยให้เกิด
กำรเปลี่ยนแปลงมิติเรื่ องควำมลึก
ของ ภำพได้ดีกว่ำ คล้ำยๆกับ
ควำมรู ้สึกของเรำที่มองออกไป
กำรอำร์ค (Arking)
• 6. กำรอำร์ค (Arking)
หมำยถึง กำรเคลื่อนไหวกล้องใน
แนวเฉียงเป็ นรู ปครึ่ งวงกลม ไป
ทำงซ้ำย (Ark left) หรื อ ไป
ทำงขวำ (Ark right) เพื่อ
เปลี่ยนมุมกล้องไปทำงด้ำนข้ำง
ของวัตถุ
กำรบูม หรื อเครน (Booming / Craning)
• 7. กำรบูม หรื อเครน
(Booming /
Craning)
หมำยถึง กำรถ่ำยภำพพร้อมกับขำ
ตั้งกล้องในแนวตั้ง เรี ยกว่ำ ‘บูม’
ถ้ำเคลื่อนขึ้น เรี ยกว่ำ Boom
Up ส่ วนเลื่อนลง เรี ยกว่ำ
Boom Down และถ้ำ
เคลื่อนกล้องขึ้นลงโดยใช้เครน
เรี ยกว่ำ Crane Up และ
Crane Down เมื่อ
สติลช็อต (Still Shot)
• 8. สติลช็อต (Still Shot)
หมำยถึง กำรถ่ำยภำพโดยไม่
เคลื่อนกล้อง ใช้มำกในกำรถ่ำย
ทำรำยกำรทัว่ ไป โดยปกติกล้อง
จะโฟกัสอยูบ่ นวัตถุหรื อบุคคลที่
ต้องกำรออกอำกำศมำกที่สุด ใน
กำรถ่ำยแบบนี้จำเป็ นต้องจัด
องค์ประกอบภำพให้ดี
กำรเชื่อมต่อภำพ (Transition)
•
•
เป็ นวิธีกำรลำดับเวลำและเหตุกำรณ์ โดยกำรใช้เทคนิคพิเศษ ดังนี้
1. กำรตัดภำพ (Cut)
2. ภำพจำง (Fade)
3. ภำพจำงซ้อน (Dissolve)
4. ภำพซ้อน (Superimpose)
5. ภำพกวำด (Wipe)
6. ภำพเลือนเข้ำหำกัน (Morphink)
กำรเปลี่ยนจำกภำพหนึ่งไปสู่อีกภำพหนึ่งอย่ำงต่อเนื่อง
ด้วยกำรละลำยเข้ำหำกันจนเป็ นภำพใหม่ ตัวอย่ำงเช่น ภำพยนตร์เรื่ องคน
Cut
• 1. กำรตัดภำพ (Cut)
หมำยถึง กำรเปลี่ยนภำพอย่ำงแบพลัน โดยกำรเปลี่ยนจำกภำพหนึ่ง
มำอีกภำพหนึ่ง โดยไม่มี อะไรมำคัน่ ใช้ช็อทที่มีควำมสัมพันธ์กนั อย่ำง
ใกล้ชิด และเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นอย่ำงรวดเร็ ว กำรตัดต่อตำปกติ มักใช้กำร
ตัดภำพแบบนี้
Fade
• 2. ภำพจำง (Fade)
หมำยถึง กำรต่อเชื่อมภำพเริ่ มจำกภำพมือสนิทไม่มีภำพ แล้วค่อยๆ
ปรำกฏเป็ นภำพเลือนลำงจนเป็ นภำพที่มองเห็นชัดเจน เรี ยกว่ำ Fade
In มักใช้ในตอนเริ่ มเรื่ อง หรื อเริ่ มต้นใหม่ เหมือนกำรเปิ ด ฉำก ส่ วน
ภำพ Fade Out เป็ นกำรเริ่ มต้นจำกภำพที่ปรำกฏชัดเจนอยูแ่ ล้ว
ค่อยๆเลือนลำงและหำยไปกลำย เป็ นภำพมือสนิท มักใช้ตอนจบเรื่ อง
กำรใช้กำรจำงภำพสำมำรถใช้คนั่ เชื่อมโยงระหว่ำงฉำกแรกกับฉำกหลัง
ซึ่งเป็ นเวลำที่ล่วง มำนำน หรื อสถำนที่น้ นั อยูห่ ่ำงกันไกลมำก
Dissolve
• 3. ภำพจำงซ้อน (Dissolve)
หมำยถึง กำรเชื่อมต่อภำพ โดยกำรใช้ช็อทแรกค่อยๆจำงออกไป
ในขณะเดียวกับฉำกหลังจะ ค่อยๆจำงซ้อนเข้ำมำ จนกระทัง่ ช็อทแรกจำง
หำยออกไปเหลือแต่ช็อทหลังเท่ำนั้น ใช้สำหรับคัน่ เชื่อมโยงระหว่ำงฉำก
แรกกับฉำกหลัง หรื อระหว่ำงหลำยฉำก ซึ่งเป็ นเวลำที่ล่วงเลยมำไม่นำน
นัก และในภำพของฉำกแรกกับฉำกหลังไม่มีอะไรให้สงั เกตเห็นได้วำ่ มี
ควำมต่อเนื่องเชื่อมโยงกัน
Superimpose
• 4. ภำพซ้อน (Superimpose)
หมำยถึง กำรซ้อนฉำก 2 ฉำกเข้ำไว้ดว้ ยกัน เพื่อแสดงถึงเหตุกำรณ์
ต่ำงสถำนที่ในเวลำ เดียวกัน แสดงภำพกำรคิดคำนึงของบุคคลต่อสิ่ งใด
สิ่ งหนึ่ง โดยกำรถ่ำยภำพใบหน้ำและภำพเหตุกำรณ์ไป พร้อมๆกัน
นอกจำกนี้ยงั ใช้ในกำรสร้ำงภำพพิเศษ เช่นภำพผี
Wipe
• 5. ภำพกวำด (Wipe)
หมำยถึง กำรใช้ภำพต่อเนื่องโดยให้ภำพใหม่เข้ำมำกวำดภำพเก่ำ
ออกจำกจอทีละน้อยจนภำพเก่ำหมดจำกจอ หรื อภำพใหม่เข้ำมำแทนที่
เช่น กวำดจำกซ้ำยไปขวำ หรื อบนจอลงล่ำงจอ เป็ นต้น
Morphink
• 6. ภำพเลือนเข้ำหำกัน (Morphink)
กำรเปลี่ยนจำกภำพหนึ่งไปสู่อีกภำพหนึ่งอย่ำงต่อเนื่อง ด้วยกำร
ละลำยเข้ำหำกันจนเป็ นภำพใหม่ ตัวอย่ำงเช่น ภำพยนตร์เรื่ องคนเหล็ก
และเรื่ อง โรโบคอบ
รายการวิทยุโทรทัศน์ เพื่อการประชาสัมพันธ์
รายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ โดยทัว่ ไป มีวัตถุประสงค์
มุ่งสร้ างเสริ มความรู้ ความเข้ าใจเกี่ยวกับหน่วยงาน อันก่ อให้ เกิดการ
เปลี่ ย นแปลงทัศ นคติ ค่ า นิ ย ม ตลอดจนการกระท าที่ พึ ง ประสงค์
รวมทังเพื
้ ่อเสริมสร้ างภาพลักษณ์ที่ดีให้ เกิดขึ ้นกับองค์กร
- เนื ้อหาเกี่ยวกับการแนะนาองค์กร หรื อโครงการต่างๆ
- เนื ้อหาเกี่ยวกับการส่งเสริมศิลปะ วัฒนธรรม
- เนื ้อหาเกี่ยวกับการรักษาและฟื น้ ฟูสภาพแวดล้ อม
- เนื ้อหาเกี่ยวกับการดาเนินชีวิต การดูแลรักษาสุขภาพอนามัย
รู ปแบบรายการวิทยุโทรทัศน์ เพื่อการประชาสัมพันธ์
1) รายการสารคดี
เป็ นการเสนอเนื อ้ หาสาระด้ ว ยภาพและเสียงบรรยายตลอด
รายการ โดยไม่จาเป็ นต้ องมีพิธีกรหรื อผู้ดาเนินรายการ นิยมใช้
การเล่าเรื่ อง และแนะนาสถานที่หรื อบุคคล
2) รายการสนทนา
มีผ้ ดู าเนินรายการเป็ นผู้นาในการสนทนา โดยมีภาพประกอบ
สอดแทรกเรื่ องราวในแต่ละช่วงตามความเหมาะสม
รู ปแบบรายการวิทยุโทรทัศน์ เพื่อการประชาสัมพันธ์
3) รายการสัมภาษณ์
มักใช้ ในกรณี พิเศษหรื อสาคัญๆ ประเด็นสัมภาษณ์ ส่ วนใหญ่
เกี่ยวกับหน่วยงาน ผลงาน ฯลฯ
4) รายการอภิปราย
ต้ องมีผ้ ูดาเนินการอภิปราย 1 คน เพื่อทาหน้ าที่ ป้อนประเด็น
คาถาม และมีผ้ รู ่วมอภิปราย 2 – 4 คน โดยแต่ละคนจะแสดง
ความคิดเห็นต่อประเด็นต่างๆ
รู ปแบบบทรายการวิทยุโทรทัศน์
1) บทโทรทัศน์ แบบสมบูรณ์ (Full Script)
บอกรายละเอี ย ดของภาพ เสี ย ง และค าพู ด ทัง้ หมดอย่ า ง
ครบถ้ วนชัดเจน เหมาะสาหรับรายการสารคดี ข่าว ละคร ฯลฯ
2) บทโทรทัศน์ แบบย่ อ (Semi - script)
บอกเฉพาะลาดับของภาพ ส่วนคาพูดก็ระบุเฉพาะหัวข้ อเรื่ อง
ย่อๆ ไม่มีรายละเอียด เหมาะสาหรับรายการสัมภาษณ์ สนทนา
หรื ออภิปรายร่วมกัน
รู ปแบบบทรายการวิทยุโทรทัศน์
3) บทโทรทัศน์ บอกเฉพาะรู ปแบบ (Show Format)
บอกล าดับ รายการ และระยะเวลาในแต่ล ะช่ ว ง นิ ย มใช้ กับ
รายการประเภทนิตยสาร
4) บทโทรทัศน์ อย่ างคร่ าวๆ (Fact Sheet)
บอกเฉพาะประเด็ น ที่ จ ะพูด ถึ ง ตามล าดับ ไม่ มี ร ายละเอี ย ด
เกี่ยวกับภาพ เสียง และเวลา ซึง่ มักไม่นิยมใช้ กนั
*** 2 รูปแบบนีไ้ ม่ นิยมนามาใช้ เพื่อการประชาสัมพันธ์ ***
ขัน้ ตอนการเขียนบทวิทยุโทรทัศน์
1) กาหนดวัตถุประสงค์และกลุม่ เป้าหมาย
2) กาหนดรูปแบบของรายการและระยะเวลา
3) กาหนดหัวเรื่ อง ขอบข่ายเนื ้อหา ค้ นคว้ า และลงมือเขียน
สปอตโทรทัศน์ เพื่อการประชาสัมพันธ์
สปอตวิ ท ยุโ ทรทัศ น์ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มในการน าไปใช้ ใ นการ
ประชาสัมพันธ์ เนื่องจากใช้ เวลาในการออกอากาศไม่นาน แต่
สามารถเรี ย กร้ องความสนใจได้ เ ป็ นอย่ า งดี ส่ ว นใหญ่ มี
วัตถุประสงค์เพื่อจูงใจให้ เกิดความรู้ สึกเห็นประโยชน์ส่วนร่ วม
หรื อคล้ อยตาม เพื่อส่งเสริ มภาพลักษณ์ เชิงบวก หรื อเพื่อการ
รณรงค์ เ ฉพาะกิ จ ฯลฯ มี ค วามยากตรงที่ สัน้ แต่ ต้ อ งให้ ได้
ใจความ
สปอตโทรทัศน์ เพื่อการประชาสัมพันธ์
ในการเขียนสปอตวิทยุโทรทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ ผู้เขียน
บทอาจอาศัยวิธีการเขียนได้ หลายวิธี เช่น
• การใช้ เหตุผล
• การเร้ าอารมณ์
• การใช้ บุคคลสาคัญเป็ นสื่อ
• การใช้ อุปมาอุปมัยเปรียบเทียบ
• การใช้ เสีย้ วหนึ่งในชีวิตคนมานาเสนอ
• การใช้ เรื่องและภาพในแนวแฟนตาซี
SPOT ที่ดี
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ดึงดูดความสนใจ
ชัดเจน
ทันสมัย
แตกต่าง
สามารถสร้างจินตนาการได้
เสนอแง่คิดเดียว
เลือกใช้ภาษาที่สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย
บอกชื่อองค์กร / สินค้าในตอนต้นและยา้ มากกว่า 1 ครั้ง
ใช้ดนตรีช่วยสร้างบรรยากาศและความต่อเนื่ องในการฟั งได้
ใบงาน : งาน 3 คน
ผลิตสปอตวิทยุฯ รณรงค์ เรื่องใช้ Social Media ให้
เกิดประโยชน์ ความยาว 30 วินาที
- ส่ง Script
- ส่ง CD สปอตวิทยุ ความยาว 30 วินาที
- ส่ง งานวันจันทร์ ที่ 19 สิงหาคม 2556