Transcript 23217-2

การเขียนบทความทางวิชาการ
Academic Writing
น.อ.เกียรติยุทธ เทียนสุวรรณ
นักสงครามทางเรือ ศูนย์ศกึ ษายุทธศาสตร์ทางเรือ ยศ.ทร.
ขอบเขตการบรรยาย
๑. ความสาคัญของการเขียนบทความวิชาการ
๒. พื้นฐานสาคัญของการเขียนงานทางวิชาการ
๓. กระบวนการเขียนบทความวิชาการ
๔. ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
๑. ความสาคัญของการเขียนบทความวิชาการ
โลกของนักวิชาการ
โลกของนักวิชาการ
ปั ญหา = ความคาดหวัง (ความต้องการ) – สิง่ ที่เกิดขึ้น (สิง่ ที่เป็ นอยู่)
โลกของนักวิชาการ
ปรับลดความคาดหวัง
หาหนทางแก้ไขสิง่ ที่เกิดขึ้น
ปั ญหา = ความคาดหวัง (ความต้องการ) – สิง่ ที่เกิดขึ้น (สิง่ ที่เป็ นอยู่)
โลกของนักวิชาการ
ปัญหาคืออะไร
ความรูส้ กึ
ทาไมจึงเกิดปัญหา
ประสบการณ์ในอดีต
แนวคิด ทฤษฎี หลักการ
จะแก้ปญั หาอย่างไร
How do you perceive all these pictures?
How do you perceive all these pictures?
How do you perceive all these pictures?
How do you perceive all these pictures?
How do you perceive all these pictures?
โลกของนักวิชาการ
ปัญหาคืออะไร
ความรูส้ กึ
ทาไมจึงเกิดปัญหา
ประสบการณ์ในอดีต
แนวคิด ทฤษฎี หลักการ
จะแก้ปญั หาอย่างไร
โลกของนักวิชาการ
Good Will For Our World
๒. พื้นฐานสาคัญของการเขียนงานทางวิชาการ
Critical Writing
Critical Reading
Critical Thinking
Critical Thinking

การตกลงใจที่จะเชื่อหรือปฏิเสธบนพื้นฐานของพยานหลักฐานที่เพียงพอ

พยานหลักฐานนั้นจะต้องมีความสมเหตุสมผล ชัดเจน น่ าเชื่อถือ แม่นยา
ลึกซึ้ง ครอบคลุม สาคัญ ยุติธรรม และมีความเกี่ยวข้องกับการตกลงใจ
Critical Reading

การทุ่มเทที่คุม้ ค่า
ในเวลาอันจากัด

ประเมินวัตถุประสงค์
ของการอ่าน


ตัง้ คาถาม

ประเมินแหล่งข้อมูล

จดบันทึกย่อ
อ่านอย่างรวดเร็ว

ทบทวน
Critical Writing

การเขียนเชิงสรุป

การเขียนเชิงวิจารณ์

การเขียนเชิงวิเคราะห์

การเขียนเชิงสังเคราะห์
Critical Writing
การเขียนเชิงสรุป




อ่านแหล่งข้อมูลโดยถี่ถว้ น
แยกข้อมูลที่มีความสาคัญ
ตรวจสอบ Thesis Statements
ใช้สานวนของตนเอง
Critical Writing
การเขียนเชิงวิจารณ์

ประเมินแหล่งข้อมูล
 การนาเสนอของผูเ้ ขียนมีความน่ าเชื่อถือหรือไม่





ความแม่นยา
การให้นิยามความหมาย
ความเป็ นเหตุเป็ นผล
ข้อมูลสนับสนุ น
ความยุตธิ รรม
 ท่านเห็นด้วยกับผูเ้ ขียนหรือไม่

ปฏิกริ ยิ าที่เกิดขึ้นและเหตุผลสนับสนุ น
Critical Writing
การเขียนเชิงวิเคราะห์

แยกให้เห็นถึงองค์ประกอบและกลไกภายใน




สรุปเรื่อง
สรุปหลักการที่จะนามาใช้อธิบาย
นาหลักการมาใช้วเิ คราะห์เรื่องราว
ตัวอย่างเช่น การใช้ทฤษฎีของซิกมันด์ ฟลอยด์
ในการอธิบายสิง่ ที่อยู่ภายใต้พฤติกรรมบางอย่าง
ของนโปเลียน
Critical Writing
การเขียนเชิงสังเคราะห์



เป็ นการใช้ทกั ษะของการเขียนในทุกรูปแบบ
เป็ นการนาเสนอเพือ่ ให้ผูอ้ า่ นเกิดความเชื่อถือด้วย
การเชื่อมโยงข้อเขียนของผูอ้ น่ื เพือ่ สนับสนุ น
แนวความคิดของตนเอง
ผูอ้ า่ นต้องได้ยนิ เสียงของเรา ***
Critical Writing
กลยุทธ์การเขียนเชิงสังเคราะห์





อ่านข้อมูลที่หลากหลายในหัวข้อเดียวกัน
แบ่งหัวข้อออกเป็ นส่วนย่อย
สรุปข้อมูลหรือแนวคิดของผูเ้ ขียนในแต่ละหัวข้อย่อย
แสดงการอ้างอิงแหล่งข้อมูลนั้น
เชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล ซึ่งอาจอยู่ใน
รูปแบบของการเปรียบเทียบ ขัดแย้ง ให้ตวั อย่าง ให้
คานิ ยาม ให้เหตุและผล หรือให้การตอบสนองจาก
ตนเองว่าเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยกับแหล่งข้อมูลนั้น
๓. กระบวนการเขียนบทความวิชาการ
บทความ
เรียงความ
ประโยคหลัก


สนับสนุ น
สนับสนุ น
ประโยคสรุป
บทนา
 ข้อความทัว่ ไป
 ข้อความแสดงแนวคิด
เนื้ อเรื่อง
 ประโยคหลัก
 สนับสนุ น
 สนับสนุ น
(ประโยคสรุป)
 ประโยคหลัก
 สนับสนุ น
 สนับสนุ น
(ประโยคสรุป)
บทสรุป
 ประโยคทบทวน
 สรุปใจความสาคัญ
 ข้อคิดเห็น
บทนา (Introduction)

ไม่ ว่ า ใครก็ ต ามที่ มี ชี วิ ต อยู่ ใ นศตวรรษที่ ย่ี สิ บ ย่ อ มต้อ งเห็ น ความ
เปลี่ยนแปลงอย่างมหาศาลที่เกิดขึ้นแทบจะในทุกอณู ของการดารงอยู่ของ
มนุ ษย์ บ้างตื่นเต้นในปรากฏการณ์น้ ี บ้างกลับต้องการกลับไปใช้วิถีชีวิต
ง่าย ๆ แบบเดิมดังเช่ นในอดีต แน่ นอนที่ว่าสิ่งที่บงั เกิด ขึ้นในศตวรรษที่
ยี่สิบนี้ สร้างมาตรฐานการดารงชี วิตที่ดีข้ ึนในหลายบุคคล แต่ขอ้ เสียอัน
เป็ นผลกระทบที่ตามมา เช่ น มลภาวะแวดล้อมเป็ นพิษ ความสัมพัน ธ์ท่ี
เสื่อมทรามระหว่างผูค้ น และคุณค่าทางจิตใจที่ออ่ นแอลง
บทนา (Introduction)

ไม่ ว่ า ใครก็ ต ามที่ มี ชี วิ ต อยู่ ใ นศตวรรษที่ ย่ี สิ บ ย่ อ มต้อ งเห็ น ความ
เปลี่ยนแปลงอย่างมหาศาลที่เกิดขึ้นแทบจะในทุกอณู ของการดารงอยู่ของ
มนุ ษย์ บ้างตื่นเต้นในปรากฏการณ์น้ ี บ้างกลับต้องการกลับไปใช้วิถีชีวิต
ง่าย ๆ แบบเดิมดังเช่ นในอดีต แน่ นอนที่ว่าสิ่งที่บงั เกิด ขึ้นในศตวรรษที่
ยี่สิบนี้ สร้างมาตรฐานการดารงชี วิตที่ดีข้ ึนในหลายบุคคล แต่ขอ้ เสียอัน
เป็ นผลกระทบที่ตามมา เช่ น มลภาวะแวดล้อมเป็ นพิษ ความสัมพัน ธ์ท่ี
เสื่อมทรามระหว่างผูค้ น และคุณค่าทางจิตใจที่ออ่ นแอลง
บทสรุป (Conclusion)

อาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า แม้ศตวรรษที่ย่ีสิบได้มอบสิ่ งต่าง ๆ ให้กบั
มนุ ษย์อย่างมาก เช่ น ทาให้เรารา่ รวยขึ้น สุขภาพดีข้ ึน และความ
รื่นรมย์ในการดารงชี วิต แต่ในความเห็นของข้าพเจ้า ไม่ได้ทาให้
มนุ ษย์เฉลียวฉลาดขึ้นแต่อย่างใด ศตวรรษที่ย่ีสิบได้ทาให้โลกของ
เราเต็มไปด้วยความสกปรก ผูค้ นมีจติ วิญญาณที่ตกตา่ และมีความ
เป็ นมนุ ษย์นอ้ ยลง ดังนั้นถึงแม้ว่าเรายังคงมุ่งหวังให้โลกนี้ เป็ นโลก
แห่งความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีและวิทยาการเพื่อตอบสนอง
ความต้องการขัน้ พื้นฐานของเรา อย่างไรก็ตามเราต้องร่วมมือกันใน
การรักษาสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติเพื่อคนรุ่นต่อไป ยิ่งกว่านั้นเรา
ควรใช้เวลาไปในการเพิ่มความสัมพันธ์ในเชิ งสร้างสรรค์ระหว่าง
เพื่อนมนุ ษย์ดว้ ยกันในโลกเล็ก ๆ ใบนี้
การวางโครงเรื่อง
การเขียนและทบทวนบทความ
ทบทวนขอบเขตการบรรยาย
๑. ความสาคัญของการเขียนบทความวิชาการ
๒. พื้นฐานสาคัญของการเขียนงานทางวิชาการ
๓. กระบวนการเขียนบทความวิชาการ
๔. ปัจจัยแห่งความสาเร็จ