กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

Download Report

Transcript กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

กฎกระทรวง ระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตราย
จากฟ้าผ่ าของสถานที่ประกอบกิจการนา้ มัน
พ.ศ. 2556
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 27 มีนาคม 2556
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
1
สรุ ปสาระสาคัญ
 1. บังคับเมื่อพ้ นกาหนด 180 วันนับแต่ วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้ น
ไป (28 กันยายน 2556)
 2. กาหนดบริเวณอันตรายของสถานที่ประกอบกิจการนา้ มันแบ่ งออกเป็ น 2
แบบ ได้ แก่
 (1) บริเวณอันตรายแบบที่ 1 หมายถึง บริเวณที่มีลักษณะดังต่ อไปนี ้
(ก) บริเวณที่ในภาวะการทางานปกติมีก๊าซหรื อไอที่มีความเข้ มข้ นพอที่จะติดไฟได้
(ข) บริเวณที่อาจมีก๊าซหรื อไอที่มีความเข้ มข้ นพอที่จะติดไฟได้ อยู่บ่อย ๆ เนื่องจาก
การซ่ อมแซม บารุ งรั กษา หรื อรั่ ว
(ค) บริเวณที่เมื่อบริภณ
ั ฑ์ เกิดความเสียหายหรื อทางานผิดพลาด อาจทาให้ เกิดก๊ าซ
หรื อไอที่มีความเข้ มข้ นพอที่จะติดไฟได้ และอาจทาให้ บริภณ
ั ฑ์ ขัดข้ องและกลายเป็ น
แหล่ งกาเนิดประกายไฟได้
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
2
สรุ ปสาระสาคัญ
 (2) บริเวณอันตรายแบบที่ 2 หมายถึง บริเวณที่มีลักษณะดังต่ อไปนี ้
(ก) บริเวณที่ใช้ เก็บของเหลวติดไฟซึ่งระเหยง่ ายหรื อก๊ าซที่ตดิ ไฟได้ ซึ่งโดยปกติ
ของเหลว ไอ หรื อก๊ าซจะถูกเก็บไว้ ในภาชนะหรื อระบบที่ปิด และอาจรั่ วออกมาได้
เฉพาะในกรณีท่บี ริภณ
ั ฑ์ ทางานผิดปกติ
(ข) บริเวณที่มีการป้องกันการติดไฟเนื่องจากก๊ าซหรื อไอที่มีความเข้ มข้ นเพียงพอ
โดยใช้ ระบบระบายอากาศซึ่งทางานโดยเครื่ องจักรกล และอาจเกิดอันตรายได้
หากระบบระบายอากาศขัดข้ องหรื อทางานผิดปกติ
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
3
สรุ ปสาระสาคัญ
(ค) บริเวณที่อยู่ใกล้ กับบริเวณอันตรายแบบที่ 1 และอาจได้ รับการถ่ ายเทก๊ าซหรื อไอ
ที่มีความเข้ มข้ นพอที่จะติดไฟได้ ในบางครั ง้ ถ้ าไม่ มีการป้องกันโดยการทาให้ ความดัน
ภายในห้ องสูงกว่ าความดันบรรยากาศ โดยการดูดอากาศสะอาดเข้ ามาภายในห้ อง
และมีระบบตรวจสอบด้ านความปลอดภัยที่มีประสิทธิผลหากระบบการอัดและ
ระบายอากาศขัดข้ องหรื อทางานผิดปกติ
 3. กาหนดให้ มีแบบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่ า
 4. กาหนดระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่ า
 5. การตรวจสอบและรั บรองระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่ า
 6. สถานที่ประกอบกิจการนา้ มันที่มีอยู่ก่อนวันที่กฎกระทรวงนีใ้ ช้ บงั คับ ต้ อง
ปฏิบัตติ ามกฎกระทรวงนีภ้ ายใน 3 ปี นับแต่ วันที่กฎกระทรวงนีใ้ ช้ บังคับ
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
4
การนาไปปฏิบตั ิและสิ่ งที่ตอ้ งตรวจสอบ
1. การเดินสายไฟฟ้า การติดตัง้ ระบบไฟฟ้า และการติดตัง้ ระบบป้องกัน
อันตรายจากฟ้าผ่ าให้ ออกแบบและควบคุมโดยวิศวกรไฟฟ้าซึ่งเป็ นผู้ได้ รับ
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามกฎหมายว่ าด้ วยวิศวกร
2. การออกแบบ การเดินสายไฟฟ้า การติดตัง้ ระบบไฟฟ้า และการติดตัง้
ระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่ า ให้ เป็ นไปตามมาตรฐานการติดตัง้ ทาง
ไฟฟ้าและมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่ าสาหรั บสิ่งปลูกสร้ างของ วสท.
มาตรฐานของNFPAมาตรฐานของ IEC หรื อมาตรฐานอื่นที่อธิบดีกรม
ธุรกิจพลังงานประกาศกาหนด
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
5
การนาไปปฏิบตั ิและสิ่ งที่ตอ้ งตรวจสอบ
3. บริเวณที่มีการถ่ ายเทนา้ มันภายในสถานที่ประกอบกิจการนา้ มันต้ องทา
การป้องกันการสะสมของประจุไฟฟ้าสถิต โดยให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ ท่ ี
รั ฐมนตรี ประกาศกาหนดในราชกิจจานุเบกษา
4. แบบระบบไฟฟ้า ต้ องแสดงรายละเอียดอย่ างน้ อย ดังต่ อไปนี ้
(1) แบบแผนผังแสดงการแบ่ งขอบเขตพืน้ ที่บริเวณอันตราย
(2) แบบแผนผังแสดงการติดตัง้ อุปกรณ์ เครื่ องใช้ ไฟฟ้า และบริภัณฑ์ ภายใน
บริเวณอันตรายและส่ วนต่ อเนื่องที่จาเป็ น
(3) แบบแผนผังแสดงการติดตัง้ เดินสายไฟฟ้า สายควบคุม สายสื่อสาร การ
ปิ ดผนึก และการต่ อลงดินภายในบริเวณอันตรายและส่ วนต่ อเนื่องที่จาเป็ น
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
6
การนาไปปฏิบตั ิและสิ่ งที่ตอ้ งตรวจสอบ
(4) แบบแสดงแผนภาพเส้ นเดียว (single line diagram)
(5) แบบแสดงรายการคานวณโหลดไฟฟ้า (load schedule)
5. แบบระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่ าต้ องแสดงรายละเอียดอย่ างน้ อย
ดังต่ อไปนี ้
(1) แบบแผนผังแสดงบริเวณป้องกัน
(2) แบบแสดงการติดตัง้ ตัวนาล่ อฟ้า
(3) แบบแสดงการติดตัง้ ตัวนาลงดินพร้ อมจุดต่ อทดสอบ
(4) แบบแสดงการติดตัง้ รากสายดิน
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
7
การนาไปปฏิบตั ิและสิ่ งที่ตอ้ งตรวจสอบ
6. เลือกใช้ อุปกรณ์ เครื่ องใช้ ไฟฟ้า และบริภัณฑ์ ท่ ีได้ มาตรฐานเหมาะสม
กับบริเวณกาหนดให้ เป็ นบริเวณอันตรายแบบที่ 1 หรื อแบบที่ 2
7. บริเวณอันตรายภายในเขตสถานีบริการนา้ มันประเภท ก ประเภท ข
ประเภท ค ประเภท ง และประเภท จ สาหรั บนา้ มันชนิดไวไฟมาก ให้
เป็ นไปตามตารางในประกาศ ข้ อ 11
8. บริเวณอันตรายภายในสถานีบริการนา้ มันประเภท ฉ คลังนา้ มัน และ
สถานที่ท่ ีมีการรั บหรื อจ่ ายนา้ มันโดยระบบการขนส่ งนา้ มันทางท่ อ สาหรั บ
นา้ มันดิบ นา้ มันเบนซิน นา้ มันสาหรั บ เครื่ องบิน นา้ มันก๊ าด นา้ มันดีเซล
นา้ มันเตา หรื อนา้ มันอื่นตามที่อธิบดีกรมธุรกิจพลังงานประกาศกาหนดให้
เป็ นไปตามตารางในประกาศ ข้ อ 12
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
8
การนาไปปฏิบตั ิและสิ่ งที่ตอ้ งตรวจสอบ
 9. บริเวณอันตรายภายในสถานที่เก็บรั กษานา้ มัน ลักษณะที่สาม สาหรั บนา้ มัน
ชนิดไวไฟมาก ให้ เป็ นไปตามตารางในประกาศ ข้ อ 13
 10. ภายในบริเวณอันตรายแบบที่ 1 และแบบที่ 2 ตามที่กาหนดไว้ ในตารางใน
ประกาศ ข้ อ 11 หัวข้ อ ค. (1) ข้ อ 12 หัวข้ อ ง. (1) หัวข้ อ จ. (1) และข้ อ 13 หัวข้ อ
ข. และตามที่รัฐมนตรี ประกาศกาหนดเพิ่มเติม ในพืน้ ที่ลักษณะเดียวกัน หากมี
ผนังกัน้ ไอนา้ มันที่ปิดกัน้ ถาวรและสูงจนถึงฝ้าเพดาน สามารถกันไอนา้ มันไม่ ให้
ผ่ านไปได้ ให้ ถอื ว่ าบริเวณอันตรายไม่ รวมถึงบริเวณอีกด้ านหนึ่งของผนังนัน้
นอกจากพืน้ ที่ตามวรรคหนึ่ง หากมีผนังกัน้ ไอนา้ มันที่ปิดกัน้ ถาวร และ
สามารถกันไอนา้ มันไม่ ให้ ผ่านไปได้ ให้ ถอื ว่ าบริเวณอันตรายไม่ รวมถึงบริเวณอีก
ด้ านหนึ่งของผนังนัน้
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
9
การนาไปปฏิบตั ิและสิ่ งที่ตอ้ งตรวจสอบ
 11. อุปกรณ์ เครื่องใช้ ไฟฟ้า และบริภณ
ั ฑ์ ท่ ยี อมรับให้ ใช้ ในบริเวณอันตรายแบบที่ 1
และแบบที่ 2 ต้ องได้ รับการรับรองจากองค์ กรใดองค์ กรหนึ่งดังต่ อไปนี ้
(1) สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม
(2) Underwriters Laboratories, Inc. (UL)
(3) Electrical Equipment Certification Services (EECS)
(4) Physikalisch Technische Bundesanstalt (PTB)
(5) Laboratoire Central des Industries Electriques (LCIE)
(6) Centro Elettrotecnico Sperimentale Italiano (CESI)
(7) Canada Standard Association (CSA)
(8) Technology Institution of Industrial Safety (TIIS)
(9) องค์ กรอื่นที่กรมธุรกิจพลังงานเห็นชอบ
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
10
การนาไปปฏิบตั ิและสิ่ งที่ตอ้ งตรวจสอบ
 12. สิ่งปลูกสร้ างที่มีความสูงมากกว่ า 15 เมตร และอยู่ห่างจากถังเก็บนา้ มันชนิดไวไฟ
มากในระยะ 50 เมตร โดยวัดจากผนังถังที่ใกล้ ท่ ีสุด ภายในเขตสถานีบริการนา้ มัน
ประเภท ก ประเภท ข ประเภท ค และประเภท จ ต้ องจัดให้ มีระบบป้องกันอันตราย
จากฟ้าผ่ า
 13. สิ่งปลูกสร้ างภายในเขตสถานที่เก็บรั กษานา้ มัน ลักษณะที่สาม ที่มีการเก็บนา้ มัน
ชนิดไวไฟมาก มีปริมาณเกิน 454 ลิตร ที่ต้องจัดให้ มีระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่ า
ได้ แก่
 (1) ถังเก็บนา้ มันเหนือพืน้ ดินที่เก็บนา้ มันชนิดไวไฟมาก
 (2) อาคารเก็บถังนา้ มันที่เก็บนา้ มันชนิดไวไฟมากหรื อเก็บนา้ มันชนิดไวไฟมากอยู่ด้วย
 (3) สิ่งปลูกสร้ างที่มีความสูงมากกว่ า 15 เมตร และอยู่ห่างจากถังเก็บนา้ มันชนิดไวไฟ
มากในระยะ 50 เมตร โดยวัดจากผนังถังที่ใกล้ ท่ ีสุด
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
11
การนาไปปฏิบตั ิและสิ่ งที่ตอ้ งตรวจสอบ
14. สิ่งปลูกสร้ างภายในเขตสถานีบริการนา้ มันประเภท ฉ และคลังนา้ มันที่
ต้ องจัดให้ มีระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่ า ได้ แก่
(1) ถังเก็บนา้ มันเหนือพืน้ ดิน
(2) อาคารแท่ นจ่ ายนา้ มัน
(3) อาคารเก็บถังนา้ มันที่เก็บนา้ มันชนิดไวไฟมากหรื อเก็บนา้ มันชนิดไวไฟ
มากอยู่ด้วย
(4) สิ่งปลูกสร้ างที่มีความสูงมากกว่ า 15 เมตร และอยู่ห่างจากถังเก็บนา้ มันใน
ระยะ 50 เมตรโดยวัดจากผนังถังที่ใกล้ ท่ ีสุด
15. ตัวนาล่ อฟ้าภายในเขตสถานที่ประกอบกิจการนา้ มันต้ องออกแบบและ
ติดตัง้ ให้ มีบริเวณป้องกันครอบคลุมสิ่งปลูกสร้ าง
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
12
การนาไปปฏิบตั ิและสิ่ งที่ตอ้ งตรวจสอบ
 16. กาหนดลักษณะวัสดุท่ ใี ช้ ในระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่ า
(1) ตัวนาล่ อฟ้า ตัวนาลงดิน และตัวนาประสาน
(2) รากสายดิน
(3) อุปกรณ์ ท่ ใี ช้ ในการต่ อตัวนาล่ อฟ้า ตัวนาลงดิน ตัวนาประสาน และรากสายดิน
(4) อุปกรณ์ ท่ ใี ช้ ในการจับยึดตัวนาล่ อฟ้า ตัวนาลงดิน ตัวนาประสาน และรากสายดิน
 17. ขนาดของวัสดุท่ ใี ช้ เป็ นตัวนาล่ อฟ้า ตัวนาลงดิน และตัวนาประสาน ให้ เป็ นไป
ตามตารางในประกาศ
 18. การใช้ วัสดุต่างชนิดที่สัมผัสกันแล้ วจะทาให้ เกิดการผุกร่ อนขึน้ เองต่ อเข้ า
ด้ วยกันต้ องมีการป้องกันการผุกร่ อน
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
13
การนาไปปฏิบตั ิและสิ่ งที่ตอ้ งตรวจสอบ
19. การต่ อตัวนาล่ อฟ้า ตัวนาลงดิน ตัวนาประสาน และรากสายดิน ให้ ใช้
วิธีเชื่อม แบบหลอมละลาย (exothermic weld) หรื อวิธีจับยึดที่มีหมุด
เกลียวขันยึดให้ แน่ นไม่ น้อยกว่ าสองตัว
20. วิธีการติดตัง้ ตัวนาล่ อฟ้าที่ถังเก็บนา้ มัน ให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ ท่ ี
รั ฐมนตรี ประกาศกาหนดในราชกิจจานุเบกษา ตัวนาล่ อฟ้าต้ องติดตัง้ ที่
ส่ วนบนของสิ่งปลูกสร้ าง หรื อติดตัง้ บนเสาที่ใช้ สาหรั บติดตัง้ ตัวนาล่ อฟ้า
21. วิธีการติดตัง้ ตัวนาลงดิน
22. วิธีการติดตัง้ ตัวนาประสาน
23. วิธีการติดตัง้ รากสายดิน
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
14
การนาไปปฏิบตั ิและสิ่ งที่ตอ้ งตรวจสอบ
24. สิ่งปลูกสร้ างที่มีโครงสร้ างเป็ นโลหะต่ อถึงกันโดยตลอด อาจใช้ ตัว
โครงสร้ างโลหะส่ วนที่อยู่บนสุดหรื อราวกันตกโลหะที่อยู่บนสุดของสิ่งปลูก
สร้ างและต่ อเชื่อมกับโครงสร้ างโลหะทาหน้ าที่เป็ นตัวนาล่ อฟ้า และอาจใช้
โครงสร้ างโลหะส่ วนที่เป็ นเสาหรื อผนังของสิ่งปลูกสร้ างทาหน้ าที่เป็ นตัวนา
ลงดิน
กรณีท่ ีไม่ มีโครงสร้ างโลหะหรื อราวกันตกโลหะที่ส่วนบนสุดของสิ่งปลูก
สร้ างตามวรรคหนึ่งให้ ตดิ ตัง้ ตัวนาล่ อฟ้าต่ อเข้ ากับโครงสร้ างโลหะโดยตรง
หรื อต่ อเข้ ากับตัวนาลงดินเพื่อเชื่อมกับโครงสร้ างโลหะทุกระยะไม่ เกิน 18
เมตร
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
15
การนาไปปฏิบตั ิและสิ่ งที่ตอ้ งตรวจสอบ
การติดตัง้ รากสายดินสาหรั บสิ่งปลูกสร้ างที่มีโครงสร้ างเป็ นโลหะ ให้ ต่อรากสาย
ดินเข้ ากับตัวนาลงดินด้ านหนึ่ง และต่ อตัวนาลงดินอีกด้ านหนึ่งเข้ ากับโคนเสาหรื อ
ผนังของโครงสร้ างโลหะ โดยตัวนาลงดินต้ องมีไม่ น้อยกว่ าสองตัวนา และระยะห่ าง
กันไม่ เกิน 18 เมตร
การต่ อตัวนาล่ อฟ้าเข้ ากับโครงสร้ างโลหะ การต่ อตัวนาลงดินระหว่ างตัวนาล่ อฟ้า
กับโครงสร้ างโลหะและการต่ อตัวนาลงดินระหว่ างโคนเสาหรื อผนังของโครงสร้ าง
โลหะกับรากสายดิน ต้ องใช้ แผ่ นประกับที่ทาด้ วยทองแดงเจือชนิดที่มีทองแดงไม่
น้ อยกว่ าร้ อยละ 62
ลักษณะของแผ่ นประกับด้ านหนึ่งมีอุปกรณ์ จบั ยึดสาหรั บต่ อตัวนาล่ อฟ้าหรื อตัวนา
ลงดิน และอีกด้ านหนึ่งของแผ่ นประกับต้ องมีพนื ้ ที่สัมผัสโครงสร้ างโลหะได้ ไม่ น้อย
กว่ า 5,200 ตารางมิลลิเมตร
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
16
การนาไปปฏิบตั ิและสิ่ งที่ตอ้ งตรวจสอบ
25. ต้ องจัดให้ มีการตรวจสอบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจาก
ฟ้าผ่ า
(1) ก่ อนเริ่มประกอบกิจการนา้ มันหรื อ
(2) เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในเขตสถานที่ประกอบกิจการนา้ มันที่มผี ลต่ อระบบ
ไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่ า
โดยกรมธุรกิจพลังงานหรื อผู้ทดสอบและตรวจสอบตามกฎกระทรวงว่ าด้ วย
การกาหนดคุณสมบัตขิ องผู้ทดสอบและตรวจสอบนา้ มัน และผู้ปฏิบัตงิ าน
เกี่ยวกับการทดสอบ และตรวจสอบนา้ มัน และหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
เงื่อนไขในการทดสอบและตรวจสอบนา้ มัน
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
17
การนาไปปฏิบตั ิและสิ่ งที่ตอ้ งตรวจสอบ
26. ผู้ทดสอบและตรวจสอบที่ทาการตรวจสอบ ต้ องออกหนังสือรั บรอง
การตรวจสอบระบบไฟฟ้าและระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่ าด้ วย
27. สถานที่ประกอบกิจการนา้ มันที่มีอยู่ก่อนวันที่กฎกระทรวงนีใ้ ช้ บังคับ
ต้ องปฏิบัตติ ามกฎกระทรวงนีภ้ ายใน 3 ปี นับแต่ วันที่กฎกระทรวงนีใ้ ช้
บังคับ ในการนี ้ ให้ ผ้ ูประกอบกิจการควบคุมยื่นแบบ
- แบบระบบไฟฟ้าต้ องแสดงรายละเอียดอย่ างน้ อย ดังต่ อไปนี ้
(1) แบบแผนผังแสดงการแบ่ งขอบเขตพืน้ ที่บริเวณอันตราย
(2) แบบแผนผังแสดงการติดตัง้ อุปกรณ์ เครื่ องใช้ ไฟฟ้า และบริภัณฑ์ ภายใน
บริเวณอันตรายและส่ วนต่ อเนื่องที่จาเป็ น และ
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
18
การนาไปปฏิบตั ิและสิ่ งที่ตอ้ งตรวจสอบ
แบบระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่ าต้ องแสดงรายละเอียดอย่ างน้ อย
ดังต่ อไปนี ้
- (1) แบบแผนผังแสดงบริเวณป้องกัน
- (2) แบบแสดงการติดตัง้ ตัวนาล่ อฟ้า
- (3) แบบแสดงการติดตัง้ ตัวนาลงดินพร้ อมจุดต่ อทดสอบ
- (4) แบบแสดงการติดตัง้ รากสายดิน
ต่ อกรมธุรกิจพลังงาน สานักงานพลังงานจังหวัด หรื อองค์ กรปกครองส่ วน
ท้ องถิ่น แล้ วแต่ กรณี ภายใน 2 ปี นับแต่ วันที่กฎกระทรวงนีใ้ ช้ บังคับ
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
19
การนาไปปฏิบตั ิและสิ่ งที่ตอ้ งตรวจสอบ
 28. อุปกรณ์ เครื่ องใช้ ไฟฟ้า และบริภัณฑ์ ท่ ีนามาใช้ ในบริเวณอันตราย
ของระบบไฟฟ้า ต้ องมีเอกสารรั บรองหรื อได้ รับการตรวจรั บรองจากผู้
ทดสอบและตรวจสอบตามกฎกระทรวงว่ าด้ วยการกาหนดคุณสมบัตขิ อง
ผู้ทดสอบและตรวจสอบนา้ มัน และผู้ปฏิบัตงิ านเกี่ยวกับการทดสอบและ
ตรวจสอบนา้ มันและหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการทดสอบและ
ตรวจสอบนา้ มัน
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
20
จบการนาเสนอ
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
21