งานวิศวกรรมควบคุม และขอบเขตความสามารถของผู้ประกอบ

Download Report

Transcript งานวิศวกรรมควบคุม และขอบเขตความสามารถของผู้ประกอบ

งานวิศวกรรมควบคุม และขอบเขต
ความสามารถของผู้ประกอบวิชาชีพ
วิศวกรรมควบคุม
โดย นายอภิชิต ลา้ เลิศพงศ์ พนา
อนุกรรมการฯ
ขอบเขตเนือ้ หาทีจ่ ะบรรยาย
Part I
งานวิศวกรรมควบคุม
Part II
ขอบเขตความสามารถของ
ผู้ได้ รับใบอนุญาต
Part I : งานวิศวกรรมควบคุม
วิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
มาตรา 4 แห่ งพระราชบัญญัติวศิ วกร พ.ศ. 2542
“วิชาชีพวิศวกรรมควบคุม” หมายความว่ า
วิชาชีพวิศวกรรมทีก่ าหนดในกฎกระทรวง
กฎกระทรวงกาหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและ
วิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ. 2550
วิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
วิชาชีพวิศวกรรมควบคุมมี 7 สาขา
(1) วิศวกรรมโยธา
(2) วิศวกรรมเหมืองแร่
(3) วิศวกรรมเครื่องกล
(4) วิศวกรรมไฟฟ้า
(5) วิศวกรรมอุตสาหการ
(6) วิศวกรรมสิ่ งแวดล้ อม
(7) วิศวกรรมเคมี
งานในวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
งานวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมแต่ ละสาขา มี 6 งาน ดังนี้
งานให้ คาปรึกษา
งานควบคุมการสร้ างหรือ
การผลิต
งานวางโครงการ
งานพิจารณาตรวจสอบ
งานออกแบบและ
คานวณ
งาน
งานอานวยการใช้
งานให้ คาปรึกษา
การให้ ข้อแนะนา
การตรวจวินิจฉัย
การตรวจรับรองงาน
ยกตัวอย่ างเช่ น
การวิเคราะห์ หาสาเหตุการ
วิบัติของหม้ อไอนา้ พร้ อมกับให้
ข้ อแนะนาเกี่ยวกับการปรั บปรุ ง
แก้ ไขและซ่ อมแซมหม้ อไอนา้
งานวางโครงการ
การศึกษา
การวางแผนโครงการ
การวิเคราะห์
หาทางเลือกทีเ่ หมาะสม
งานออกแบบและคานวณ
• การใช้ หลักวิชาและความชานาญเพือ่ ให้ ได้ มาซึ่งรายละเอียดใน
การสร้ าง
การผลิต
การประกอบและติดตั้ง
การวางผังโรงงานและเครื่องจักร
โดยมี ร ายการค านวณแสดงเป็ นรู ป แบบ ข้ อ ก าหนด หรื อ
ประมาณการ
งานควบคุมการสร้ างหรือการผลิต
การอานวยการควบคุม
การซ่ อม
การควบคุมเกีย่ วกับ
การก่อสร้ าง
การดัดแปลง
การสร้ าง
การผลิต
การติดตั้ง
การรื้อถอนงาน
การเคลือ่ นย้ ายงานให้
เป็ นไปโดยถูกต้ องตามรู ป
แบบ และข้ อกาหนดของ
หลักวิชาชีพวิศวกรรม
งานพิจารณาตรวจสอบ
เ พื่ อ ใ ช้ เ ป็ น ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ห รื อ
ประกอบการตรวจสอบวินิจฉั ยงาน
หรือในการสอบทาน
การค้ นคว้ า
การวิเคราะห์
การหาข้ อมูลหรือ
สถิติต่างๆ
การทดสอบ
งานอานวยการใช้
การอานวยการดูแลการใช้
การบารุงรักษางาน
การบารุงรักษาเครื่องจักร
ชิ้นงาน หรือ ระบบ
ให้ เป็ นไปโดยถูกต้ องตามรู ป
แบบ และข้ อกาหนดของ
หลักวิชาชีพวิศวกรรม
Part II : งานวิศวกรรมควบคุม
กฎกระทรวง
การประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
สาขาวิศวกรรมเครื่องกล
โดย นายอภิชิต ลา้ เลิศพงศ์ พนา
อนุกรรมการ
ประเภท และขนาดของงาน
วิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
เครื่องจักรกล
งานให้ คาปรึกษาและ
งานพิจารณาตรวจสอบ
ควบคุมทุกขนาด
เครื่องจักรกล (ต่ อ)
งานวางโครงการ
เครื่องจักรกลที่มมี ูลค่ าตั้งแต่ 10 ล้านบาท/เครื่องขึน้ ไป หรือ
เครื่องจักรทีม่ ีมูลค่ าตั้งแต่ 20 ล้านบาท/โครงการขึน้ ไป หรือ
เครื่องจักรกลที่มขี นาดระบบตั้งแต่ 100 กิโลวัตต์ รวมกันขึน้ ไป หรือ
เครื่ อ งจั ก รกลที่ ใ ช้ ง านในอาคารที่ มี พื้น ที่ ใ ช้ ส อยในอาคารตั้ ง แต่ 2,000
ตารางเมตรขึน้ ไป หรือ
เครื่องจักรกลที่ใช้ งานในอาคารทีม่ ีผู้ใช้ สอยพืน้ ทีต่ ้ังแต่ 200 คนขึน้ ไป
เครื่องจักรกล (ต่ อ)
งานออกแบบและ
คานวณ
เครื่ องจักรกลที่มี ขนาดรวมกัน
ตั้งแต่ 7.5 กิโลวัตต์ ต่อเครื่องขึน้
ไป
งานควบคุ ม การสร้ าง
หรือการผลิต
เครื่ องจักรที่มีขนาดรวมกัน
ตั้งแต่ 20 กิโลวัตต์ ต่อเครื่ อง
ขึน้ ไป
เครื่องจักรกล (ต่ อ)
งานอานวยการใช้
เครื่ องจักรกลที่มีขนาดรวมกัน
ตั้ ง แต่ 500 กิ โ ลวั ต ต์ ต่ อ ระบบ
ขึน้ ไป
เครื่องกาเนิดไอน้าหรือไออย่างอืน่ ภาชนะรับแรงดัน
หรือเตาอุตสาหกรรม
งานให้ คาปรึกษาและ
งานพิจารณาตรวจสอบ
ควบคุมทุกขนาด
เครื่องกาเนิดไอนา้ หรือไออย่ างอืน่ ภาชนะรับแรงดัน
หรือเตาอุตสาหกรรม (ต่ อ)
งานวางโครงการ
ที่มีมูลค่ าตั้งแต่ 10 ล้ านบาท/เครื่องขึน้ ไป หรือ
ที่มีมูลค่ าตั้งแต่ 20 ล้ านบาท/โครงการขึน้ ไป หรือ
ที่ใช้ ความร้ อนตั้งแต่ 20 ล้ านเมกะจูลต่ อปี ขึน้ ไป หรือ
ที่ใช้ งานในอาคารที่มีพื้นที่ใช้ สอยในอาคารตั้งแต่ 2,000 ตาราง
เมตรขึน้ ไป หรือ
ที่ใช้ งานในอาคารทีม่ ีผ้ ูใช้ สอยพืน้ ทีต่ ้งั แต่ 200 คนขึน้ ไป
เครื่องกาเนิดไอน้าหรือไออย่างอืน่ ภาชนะรับแรงดัน
หรือเตาอุตสาหกรรม (ต่ อ)
งานควบคุมการสร้ าง
หรือการผลิต
- มีความดันตั้งแต่ 500 กิโลปาสกาลขึน้ ไป หรือ
- มีปริมาตรตั้งแต่ 1 ลูกบาศก์ เมตรขึน้ ไป หรือ
- มี อั ต ราการผลิ ต ไอน้ า หรื อ ไออย่ า งอื่ น ตั้ ง แต่
500 กิโลกรัมต่ อชั่วโมงขึน้ ไป
งานออกแบบและ
คานวณ
ทุกขนาด
เครื่องกาเนิดไอน้าหรือไออย่างอืน่ ภาชนะรับแรงดัน
หรือเตาอุตสาหกรรม (ต่ อ)
งานอานวยการใช้
ที่มีอัตราการผลิตไอน้า หรื อ
ไออย่ า งอื่ น ตั้ ง แต่ 20,000
กิโลกรั มต่ อชั่ วโมงต่ อ เครื่ อง
ขึน้ ไป
หม้ ออัดอากาศหรือหม้ ออัดก๊ าซ
งานให้ คาปรึกษาและ
งานพิจารณาตรวจสอบ
งานอานวยการใช้
ควบคุมทุกขนาด
หม้ อ อัด อากาศ หรื อ หม้ อ
อัดก๊ าซ ที่มีความดันตั้งแต่
1,300 กิโ ลปาสกาลขึ้น ไป
แ ล ะ มี ป ริ ม า ต ร ตั้ ง แ ต่
10 ลูกบาศก์ เมตรขึน้ ไป
เครื่องปรับภาวะอากาศหรือเครื่องทาความเย็น
งานให้ คาปรึกษาและ
งานพิจารณาตรวจสอบ
ควบคุมทุกขนาด
เครื่องปรับภาวะอากาศหรือเครื่องทาความเย็น (ต่ อ)
งานวางโครงการ
มีมูลค่ าตั้งแต่ 10 ล้านบาท/เครื่องขึน้ ไป หรือ
มีมูลค่ าตั้งแต่ 20 ล้านบาท/โครงการขึน้ ไป หรือ
มีขนาดระบบตั้งแต่ 100 กิโลวัตต์ ขนึ้ ไป หรือ
ที่ใช้ งานในอาคารที่มีพืน้ ที่ใช้ สอยในอาคารตั้งแต่ 2,000 ตารางเมตร
ขึน้ ไป หรือ
ที่ใช้ งานในอาคารทีม่ ีผู้ใช้ สอยพืน้ ทีต่ ้งั แต่ 200 คนขึน้ ไป
เครื่องปรับภาวะอากาศหรือเครื่องทาความเย็น (ต่ อ)
งานออกแบบและคานวณ
-มีขนาดตั้งแต่ 7.5 กิโลวัตต์ ต่อ
เครื่องขึน้ ไป หรือ
- มี พื้ น ที่ ป รั บ อากาศหรื อ ท า
ความเย็ น ตั้ ง แต่ 400 ตาราง
เมตรขึน้ ไป
งานควบคุ ม การสร้ าง
หรือการผลิต
มี ข นาดตั้ ง แต่ 20 กิโ ลวั ต ต์
ขึน้ ไป
เครื่องปรับภาวะอากาศหรือเครื่องทาความเย็น (ต่ อ)
งานอานวยการใช้
มี ข น า ด ตั้ ง แ ต่
500 กิ โ ลวั ต ต์ ต่ อ
ระบบขึน้ ไป
ระบบของไหลในท่ อรับแรงดัน หรือสุ ญญากาศ
งานให้ คาปรึกษาและ
งานพิจารณาตรวจสอบ
ควบคุมทุกขนาด
ระบบของไหลในท่ อรับแรงดัน หรือสุ ญญากาศ (ต่ อ)
งานวางโครงการ
มีมูลค่ าตั้งแต่ 10 ล้านบาท/เครื่องขึน้ ไป หรือ
มีมูลค่ าตั้งแต่ 20 ล้านบาท/โครงการขึน้ ไป หรือ
มีขนาดระบบตั้งแต่ 100 กิโลวัตต์ ขนึ้ ไป หรือ
ที่ใช้ งานในอาคารที่มีพืน้ ที่ใช้ สอยในอาคารตั้งแต่ 2,000 ตารางเมตร
ขึน้ ไป หรือ
ที่ใช้ งานในอาคารทีม่ ีผู้ใช้ สอยพืน้ ทีต่ ้งั แต่ 200 คนขึน้ ไป
ระบบของไหลในท่ อรับแรงดัน หรือสุ ญญากาศ (ต่ อ)
งานออกแบบและคานวณ
 งานควบคุมการสร้ างหรือการผลิต
-มีความดันของไหลในท่ อตั้งแต่ 500
กิโลปาสกาลขึน้ ไป หรือ
-สุ ญญากาศตั้งแต่ ลบ 50 กิโลปาสกาลลงมา
งานอานวยการใช้
มีความดันของไหลในท่ อตั้งแต่ 500 กิโลปาสกาลต่ อระบบขึน้ ไป
การจัดการพลังงาน
งานให้ คาปรึกษา
งานพิจารณาตรวจสอบ
งานออกแบบ และ
คานวณ
ควบคุมทุกขนาด
งานวางโครงการ
-มีขนาดตั้งแต่ 1,000 กิโลวัตต์
ขึน้ ไป หรือ
-ใช้ ความร้ อนตั้ ง แต่ 20 ล้ า น
เมกะจูลต่ อปี ขึน้ ไป
ระบบดับเพลิงและป้องกันอัคคีภัย
งานให้ คาปรึกษาและ
งานพิจารณาตรวจสอบ
ควบคุมทุกขนาด
งานออกแบบและ
คานวณ
มีพนื้ ที่ป้องกันอัคคีภัยตั้งแต่
2,000 ตารางเมตรขึน้ ไป
งานวางโครงการ
- มีมูลค่ ารวมกันตั้งแต่ 3 ล้ าน
บาทต่ อระบบขึน้ ไป หรือ
- มีพืน้ ที่ป้องกันอัคคีภัยตั้งแต่
2,000 ตารางเมตรขึน้ ไป
ระบบดับเพลิงและป้ องกันอัคคีภัย
งานควบคุ มการสร้ างหรื อ
การผลิต
งานอานวยการใช้
มี พื้ น ที่ ป้ อ ง กั น
อัคคีภัยตั้งแต่ 5,000
ตารางเมตรขึน้ ไป
แนะนาวิธีการเขียนผลงาน
เพือ่ เลือ่ นระดับเป็ นสามัญวิศวกร
โดย นายมานิตย์ กู้ธนพัฒน์
อนุกรรมการ
คุณสมบัติและหลักฐาน
การขอเลือ่ นระดับ เป็ นสามัญวิศวกร
คุณสมบัตขิ องผู้ขอเลือ่ นระดับเป็ นสามัญวิศวกร
1. เป็ นภาคีวิศวกรไม่นอ้ ยกว่า 3 ปี
2. มีบญั ชีแสดงผลงานและปริมาณงานฯ
ในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
3. มีวศิ วกรระดับสามัญขึ้นไปในสาขาเดียวกันกับ
ผูย้ ่นื คาขอเป็ นผูล้ งนามรับรองผลงาน
หลักฐานที่ใช้ ประกอบการขอเลือ่ นระดับเป็ นสามัญวิศวกร
1. แบบคาขอรับใบอนุ ญาตฯ (เลือ่ นระดับ)
2. แบบประวัติการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
3. แบบบัญชีแสดงปริมาณและคุณภาพของผลงาน
(ต้องนำเสนอผลงำนไม่นอ้ ยกว่ำสำมปี ตัง้ แต่ได้รบั ใบอนุ ญำตระดับ
ภำคีวศิ วกร)
4. รูปถ่ายหน้าตรง ขนาด 1 นิ้ ว จานวน 2 รูป
หลักฐานที่ใช้ ประกอบการขอเลือ่ นระดับเป็ นสามัญวิศวกร(ต่ อ)
5. สาเนาใบอนุ ญาตของผูย้ ่นื คาขอ
6. สาเนาใบอนุ ญาตของผูร้ บั รองผลงาน
(ต้องเป็ นวิศวกรระดับสำมัญวิศวกรหรือระดับวุฒิวิ ศวกร ใน
สำขำเดียวกันกับ ผูย้ น่ื คำขอ พร้อมระบุทอ่ี ยู่ ปจั จุบนั สถำนที่
ท ำงำน หมำยเลขโทรศัพ ท์ท่ีส ำมำรถติด ต่ อ ได้ และควำม
เกี่ยวข้อง)
7. ยื่ น ผลงานที่ ใ ช้ค วามรู แ้ ละประสบการณ์ ท างด้า น
วิศวกรรมอย่างน้อย 2 ผลงาน
ตัวอย่ างหนังสื อผู้รับรองผลงาน
หนังสื อรับรองของ
ผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
เขียนที่ บริ ษทั ...............................................จำกัด
วันที่ 5 เดือนมีนำคม พ.ศ. 2554
โดยหนังสื อฉบับนี้ ข้ำพเจ้ำ นำยวิศวกร รักเครื่ องกล อำยุ 50 ปี เชื้อชำติ ไทย สัญชชำติ ไทย
อยูบ่ ำ้ นเลขที่ 50/6 ซอย รำมคำแหง 40 ถนน ถ.รำมคำแหง แขวง หัวหมำก เขต บำงกะปิ
จังหวัด กรุ งเทพมหำนคร ที่ทำงำน 999/6 ซอย รำมคำแหง 39 ถนน รำมคำแหง แขวง หัวหมำก
เขต บำงกะปิ จังหวัด กรุ งเทพมหำนคร โทรศัพท์ 02-935-6868 ได้รับอนุญชำตให้ประกอบวิชำชีพ
วิศวกรรมควบคุม ประเภทสำมัญชวิศวกร สำขำวิศวกรรมเครื่ องกล ตำมใบอนุญชำตเลขทะเบียน
สก...............
ขอรับรองแบบบัญชชีแสดงปริ มำณและคุณภำพผลงำนเพื่อประกอบกำรยืน่ ขอเลื่อนระดับเป็ นวุฒิ
วิศวกร ของนำยสภำ รักชำติ ระดับภำคี สำขำวิศวกรรมเครื่ องกล ตำมใบอนุญชำตเลขทะเบียน
ภก...............
เพื่อเป็ นหลักฐำน ข้ำพเจ้ำได้ลงลำยมือชื่อไว้เป็ นสำคัญช
ลงชื่อ ……………………………สำมัญชวิศวกร
( นำยวิศวกร รักเครื่ องกล) ผูร้ ับรอง
ข้ อแนะนาการจัดทารายงานผลงาน
ทีใ่ ช้ ความรู้ และประสบการณ์ ในสาขาวิศวกรรมเครื่องกล
เพือ่ ใช้ ประกอบการพิจารณา
วัตถุประสงค์ ในการจัดทารายงาน
1. รายงานจะต้องแสดงให้เห็นชัดเจนในการใช้ความรูท้ างด้าน
วิศวกรรมเครื่องกล ในการประกอบวิชาชีพ
2. รายงานจะต้องแสดงให้เห็นถึงปัญหาและอุปสรรค
ตลอดจนวิธีการ แก้ไขปัญหาที่ใช้ความรูท้ างด้าน
วิศวกรรมเครื่องกล
3. ปริมาณงานที่แสดงในรายงานนั้น ต้องบ่งชี้ถงึ ประสบการณ์
ที่เพียงพอต่อการพัฒนาตนเองในการปฏิบตั ิงานด้าน
วิศวกรรมเครื่องกล ในระดับที่สูงขึ้น
รู ปแบบของรายงานทีน่ าเสนอ
รายงานที่นาเสนอต้องจัดพิมพ์ลงบนกระดาษขนาด A 4
โดยมีองค์ประกอบของรายงานดังนี้
1. ชื่อโครงการ
2. บทสรุป/บทคัดย่อ
3. สารบัญ
4. วัตถุประสงค์โครงการ
รู ปแบบของรายงานทีน่ าเสนอ (ต่ อ)
4. ตาแหน่ งหน้าที่ และความรับผิดชอบทาง
วิศวกรรมเครื่องกล
5. รายละเอียดของงานและระยะเวลาที่รบั ผิดชอบ
6. รายละเอียดของการตรวจทานงานที่รบั ผิดชอบ
7. การแก้ปญั หาและอุปสรรค
8. สรุปผลสาเร็จและจุดเด่นของโครงการเชิงวิศวกรรม
9. รายงานการอ้างอิง เช่น แบบ ภาพถ่าย รายการคานวณ
ตัวอย่ าง
การกรอกแบบบัญชีแสดงผลงานและปริมาณ
งาน
การขอเลือ่ นระดับ
ตัวอย่ างการกรอกประวัติ
วัน เดือน ปี
ลาดับ ประกอบวิชาชีพ
1
1 ส.ค.38 30 ต.ค. 39
ตาแหน่ งหน้ าที่
และทีท่ างาน
วิศวกรเครื่ องกล 6
หัวหน้ำงำน
ตรวจสอบและ
กำหนดคุณลักษณะ
ฝ่ ำยวิศวกรรม
กอง
วิศวกรรมเครื่ องกล
ลักษณะงานทีท่ า
-ทำหน้ำที่ควบคุม ตรวจสอบ ติดตั้ง
ทดลอง เครื่ องจักรกลที่อยูใ่ นควำม
ควบคุม เช่น เครื่ องจักรกลสู บน้ ำ
ขนำดใหญช่ ระบบปรับอำกำศ
ตัวอย่ างการกรอกประวัติ (ต่ อ)
วัน เดือน ปี
ลาดับ ประกอบวิชาชีพ
2
ตาแหน่ งหน้ าที่
และทีท่ างาน
ลักษณะงานทีท่ า
1 พ.ย. 39-31 ธ.ค.40 วิศวกรเครื่ องกล - ตรวจสอบแบบติดตั้ง
ผูจ้ ดั กำรโรงงำน - งำนควบคุมกำรสร้ำงหรื อกำรผลิต
และอำนวยกำรใช้
บริ ษทั ข
- ออกแบบและคำนวณ
ตัวอย่ างการกรอกประวัติ (ต่ อ)
วัน เดือน ปี
ลาดับ ประกอบวิชาชีพ
3
ตาแหน่ งหน้ าที่
และทีท่ างาน
ลักษณะงานทีท่ า
1 ม.ค. 41-31 ส.ค. 41 วิศวกรเครื่ องกล 4 - ติดตั้งเครื่ องปรับอำกำศ
- บำรุ งรักษำเครื่ องปรับอำกำศ
- ตรวจสอบเครื่ องจักร
- ตรวจสอบหม้อไอน้ ำ
ตัวอย่ างการกรอกบัญชีแสดงปริมาณผลงาน
บัญชีแสดงปริมาณและคุณภาพผลงานในการ
ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมเพือ่ ขอเลือ่ นระดับ
ของนาย A เลขทีท่ ะเบียน ภก..................
ตัวอย่ างการกรอกบัญชีแสดงปริมาณผลงาน(ต่ อ)
(1)
ลาดับ
1
(2)
รายละเอียดงาน
งานติดตั้งระบบปรับอากาศ ระบายอากาศ ท่ อลมความดัน
ท่ อสุ ญญากาศ และห้ องสะอาด
ชื่อโครงการ.......................................................
สถานที่ต้งั ................................................
เงินลงทุน .............................
ประเภทและขนาดงาน
Water Cooler Chiller
ขนาด.........ตัน จานวน ......... เครื่อง
ตัวอย่ างการกรอกบัญชีแสดงปริมาณผลงาน(ต่ อ)
(1)
ลาดับ
1
(2)
รายละเอียดงาน
Cooling Tower
ขนาด..........ตัน จานวน..........เครื่อง
Outside Air Handling Unit
ขนาด.........ตัน จานวน.........เครื่อง
Chilled And Condenser Water Pump
ขนาด 37 KW จานวน ....... เครื่อง
ตัวอย่ างการกรอกบัญชีแสดงปริมาณผลงาน(ต่ อ)
(3)
(4)
(5)
ระยะเวลาปฏิบัตงิ าน
ลักษณะงานทีป่ ฏิบัติ ขอบเขตอานาจหน้ าที่
ตามกฎกระทรวง
เริ่ม
สาเร็จ
มกรำคม 46 ธันวำคม 46 - ออกแบบและ
- เป็ นผูร้ ับผิดชอบ
คำนวณ
ตำมสำยบังคับบัญชชำ
- งำนอำนวยกำรใช้
หรื อ
- เป็ นผูป้ ฏิบตั ิงำน
ด้วยตนเอง
* กรณีปฏิบัติงานเกินขอบเขตของระดับภาคีวศิ วกร ต้ องปฏิบัติภายใต้
การกากับดูแลของวิศวกรระดับสามัญหรือวุฒิวศิ วกร
ตัวอย่ างการกรอกบัญชีแสดงปริมาณผลงาน(ต่ อ)
(6)
ผลของงาน
(7)
บันทึกและลายมือชื่อ
ผู้รับรอง
สำเร็ จตำมวัตถุประสงค์ (
)
นำยวิศวกร รักเครื่ องกล
สก.........
หรื อ
วก..............
(8)
หมายเหตุ
ตัวอย่ างสาเนาผู้รับรองผลงาน
หลักเกณฑ์ การพิจารณาผลงาน
เลือ่ นระดับเป็ นสามัญวิศวกร และการสอบสั มภาษณ์
ตามระเบียบใหม่
โดย
นายเกชา ธีระโกเมน
ประธานคณะอนุกรรมการฯ ระดับสามัญวิศวกร สาขาเครื่องกล
ขั้นตอนการเลือ่ นระดับเป็ นสามัญวิศวกร ตามระเบียบใหม่
3
อบรมเฉพาะด้าน จัดทา
รายงานวิชาการ/สอบวัดผล
ความรู้
ขั้นตอนการสอบแก้ ตัว
คะแนนต่ากว่ า 70
คะแนน 60-69
คะแนน 50-59
ต่ากว่ า 50 คะแนน
อบรม
ทารายงาน
สอบข้ อเขียน
อบรม
คณะกรรมการ
สอบสัมภาษณ์
ผ่ าน
ไม่ ผ่าน
≥ 60 %
ผ่ าน
ไม่ ผ่าน
หลักเกณฑ์
การพิจารณาผลงาน
หลักเกณฑ์ การพิจารณาผลงาน
1. เป็ นงานตามกฎกระทรวงกาหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพ
วิศวกรรมควบคุม พ.ศ. 2550 ได้แก่
- งานให้คาปรึกษา
- งานวางโครงการ
- งานออกแบบและคานวณ- งานควบคุมการสร้างหรือการผลิต
- งานพิจารณาตรวจสอบ
- งานอานวยการใช้
หลักเกณฑ์ การพิจารณาผลงาน (ต่ อ)
2. ประเภท และขนาดของงานต้องเป็ นไปตามข้อบังคับสภาวิศวกรว่า
ด้วยหลักเกณฑ์และคุณสมบัตขิ องผู ้ ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
ควบคุมแต่ละระดับในแต่ละสาขา พ.ศ. 2551
หลักเกณฑ์ การพิจารณาผลงาน (ต่ อ)
3. ระยะเวลาของผลงาน
- คือระยะเวลาเริ่มต้นและแล้วเสร็จของแต่ละงาน ทัง้ นี้ งาน
หมายถึงงานในลักษณะใดก็ได้ในวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
สาขวิศวกรรมเครื่องกล ตามกฎกระทรวงกาหนดสาขาวิชาชีพ
วิศวกรรมและวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ. 2550
- เป็ นช่วงเวลาที่ได้รบั ใบอนุ ญาตและใบอนุ ญาตไม่หมดอายุ
หมายเหตุ : การแล้วเสร็จของแต่ละงาน หมายถึง งานที่ผูข้ อฯ
ปฏิบตั งิ านในความรับผิดชอบแล้วเสร็จ
หลักเกณฑ์ การพิจารณาผลงาน (ต่ อ)
4. ปริมาณผลงานที่นาเสนอ
- สอดคล้องตามประเภท และขนาดของงานในแต่ละสาขาตาม
ข้อบังคับสภาวิศวกรว่าด้วยหลักเกณฑ์และคุณสมบัตขิ องผู ้
ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมแต่ละระดับในสาขา
วิศวกรรมเครื่องกล พ.ศ. 2551
- ในกรณี ท่ขี นาดของงานเกินกว่างานในระดับภาคีวศิ วกร ต้อง
ปฏิบตั งิ านภายใต้การกากับดูแลของวิศวกรในระดับที่สูงขึ้น
ไป
หลักเกณฑ์ การพิจารณาผลงาน (ต่ อ)
ปริมาณผลงานที่นาเสนอ(ต่อ)
- มีปริมาณงานที่แสดงถึงการได้รบั การเสริมสร้าง
ประสบการณ์ในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมในบัญชี
แสดงผลงานและปริมาณงาน
- ให้เสนองานที่ใช้ความรูแ้ ละประสบการณ์ทางด้าน
วิศวกรรม อย่างน้อย 2 ผลงาน
หลักเกณฑ์ และ
วิธีการสอบสั มภาษณ์
หลักเกณฑ์ และวิธีการสอบสั มภาษณ์
หลักเกณฑ์การพิจารณาคะแนนการสอบสัมภาษณ์
จานวน 100 คะแนน เป็ นดังนี้
1. ข้อมูลส่วนตัว10 คะแนน
ได้แก่ บุคลิกภำพ วุฒภิ ำวะ และ ภำวะผูน้ ำ
2. ความรูค้ วามชานาญในสาขาอาชีพ จานวน 40 คะแนน
ได้แก่ ทักษะในกำรทำงำน, ควำมสำมำรถในกำรพัฒนำงำน และ
ควำมรูค้ วำมเชี่ยวชำญในสำขำของงำนทีข่ อเลือ่ นระดับ
หลักเกณฑ์ และวิธีการสอบสั มภาษณ์ (ต่ อ)
3. การประกอบวิชาชีพ จานวน 50 คะแนน
ได้แก่ วิสยั ทัศน์ มำตรฐำนในกำรทำงำนควำมสำมำรถในกำร
ถ่ำยทอดควำมรูใ้ ห้บคุ คลอืน่ ควำมสำมำรถในกำรแก้ไขปัญหำ,
ควำมสำมำรถในกำรให้คำแนะนำหรือควบคุมในกำรประกอบ
วิชำชีพเป็ นไปอย่ำงปลอดภัย และควำมรอบรูใ้ นเรื่องของ
จรรยำบรรณ และกฎหมำยทีเ่ กี่ยวข้อง
หลักเกณฑ์ และวิธีการสอบแก้ตัว
หลักเกณฑ์ในการสอบแก้ตวั เมื่อคะแนนไม่ผ่านเกณฑ์ 70 คะแนนมีดงั นี้
1. การฝึ กอบรมเฉพาะด้าน สาหรับผูข้ อรับใบอนุ ญาตที่ได้คะแนนการสอบ
สัมภาษณ์ตง้ั แต่ 60-69 คะแนน
2. การจัดทารายงานทางวิชาการ สาหรับผูข้ อรับใบอนุ ญาตที่ได้คะแนนการสอบ
สัมภาษณ์ตง้ั แต่ 50-59 คะแนน
3. การสอบข้อเขียนวัดผลความรู ้ สาหรับผูข้ อรับใบอนุ ญาตที่ได้คะแนนการสอบ
สัมภาษณ์นอ้ ยกว่า 50 คะแนน
(ผูข้ อรับใบอนุ ญาตซึ่งมีสิทธิสอบแก้ตวั ตามวิธีการใดที่กาหนดไว้ในวรรคหนึ่ ง อาจขอเลือกใช้สิทธิตา่
กว่าที่กาหนด ไว้ได้ โดยให้อยู่ในดุลพินิจของคณะอนุ กรรมการที่จะอนุ ญาตตามที่เห็นควร
เพื่อประโยชน์ของผูข้ อรับใบอนุ ญาต)
การสอบแก้ตัวโดยวิธีการเข้ าฝึ กอบรม
การเข้าฝึ กอบรมเฉพาะด้าน มีหลักเกณฑ์ ดังนี้
1. หลักสูตรการฝึ กอบรมต้องมีวตั ถุประสงค์และเนื้ อหาสาระเกี่ยวกับความรูใ้ นการ
ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมของผูข้ อรับใบอนุ ญาต
2. หน่ วยงานที่จดั การฝึ กอบรมต้องเป็ นองค์กรแม่ข่ายหรือองค์กรลูกข่ายที่ได้รบั การ
รับรองจารสภาวิศวกร
3. มีหนังสือรับรองการได้รบั หน่ วยความรู ้ ( PDU) รวมกันไม่นอ้ ยกว่า 18 หน่ วย
4. ต้องดาเนิ นการให้แล้วเสร็จ ภายในระยะเวลาที่คณะอนุ กรรมการกาหนดไว้
หมายเหตุ : ผูข้ อรับใบอนุ ญาตซึ่งได้ดาเนิ นการครบถ้วนตามวรรคหนึ่ ง ให้ย่นื คาร้องและเอกสาร
หลักฐานประกอบ เพื่อขอนาเสนอความรูท้ ่ไี ด้รบั จากการฝึ กอบรม พร้อมตอบคาถามของ
คณะอนุ กรรมการ ทัง้ นี้ ให้คณะอนุ กรรมการวินิจฉัยแต่เพียงว่า การสอบแก้ตวั ของผูข้ อรับ
ใบอนุ ญาตผ่านหรือไม่ผ่านเท่านั้น
การสอบแก้ ตัว ด้ วยวิธีทารายงานเชิงวิชาการ
การจัดทารายงานทางวิชาการ มีหลักเกณฑ์และวิธกี าร ดังนี้
1. รายงานทางวิชาการ ต้องมีวตั ถุประสงค์และเนื้ อหาสาระเกี่ยวกับความรูใ้ นการ
ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ตามที่คณะอนุ กรรมการกาหนดให้แก่ผูข้ อรับ
ใบอนุ ญาตเป็ นรายกรณี ไป
2. ต้องดาเนิ นการให้แล้วเสร็จ ภายในระยะเวลาที่คณะอนุ กรรมการกาหนดไว้
หมายเหตุ : ผูข้ อรับใบอนุ ญาตซึ่งได้ดาเนิ นการควบถ้วนตามวรรคหนึ่ ง ให้ย่นื คาร้องและจัดส่ง
รายงานทางวิชาการพร้อมด้วยสาเนาตามจานวนคณะอนุ กรรมการ เพื่อขอนาเสนอรายงาน
ทางวิชาการ พร้อมตอบคาถามของคณะอนุ กรรมการ ทัง้ นี้ ให้คณะอนุ กรรมการวินิจฉัยแต่
เพียงว่า การสอบแก้ตวั ของผูข้ อรับใบอนุ ญาตผ่าน หรือไม่ผ่านเท่านั้น
การสอบแก้ตัว ด้ วยวิธีการสอบข้ อเขียน
การสอบข้อเขียนวัดผลความรู ้ มีหลักเกณฑ์และวิธีการดังนี้
รายวิชาที่ใช้ในการสอบข้อเขียนวัดผลความรูใ้ น สาขาวิศวกรรม
เครื่องกล มีดงั นี้
1. Air conditioning and Refrigeration
2. Power Plant / Gas Turbine
3. Machine Design
การสอบแก้ ตัว ด้ วยวิธีการสอบข้ อเขียน(ต่ อ)
4. Automotive / ICE
5. Pump / Fan / Compressor
6. Boiler / Pressure Vessel / Piping
* ผูข้ อรับใบอนุ ญาตต้องได้คะแนนในแต่ละรายวิชา ที่สอบไม่นอ้ ย
กว่าร้อยละ 60 จึงจะถือว่าสอบแก้ตวั ผ่าน*
 คณะกรรมการสภาวิศวกรพิจารณาอนุ มตั ิออก
ใบอนุ ญาต หรือปฏิเสธ
 หากอนุ มตั ิออกใบอนุ ญาต ชาระเงินค่าใบอนุ ญาตระดับ
สามัญ 3,500 บาท ต่อ 5 ปี และค่าสมาชิกตามอายุ
ใบอนุ ญาต (ภายใน 90 วัน หลังจากคณะกรรมการสภา
วิศวกรมีมติอนุ มตั ิ)