กรมการบินพลเรือน นำเสนอเรื่อง

Download Report

Transcript กรมการบินพลเรือน นำเสนอเรื่อง

โครงการปรับปรุงเขตปลอดภัยในการเดินอากาศให้เป็ นระบบดิจิตอล
กลุม่ สนามบินและสิง่ แวดล้อม สานักมาตรฐานสนามบิน กรมการบินพลเรือน
1
Agenda
ความเป็ นมาของโครงการ
วัตถุประสงค์ของโครงการ
ขอบเขตการดาเนินงาน
ผลลัพธ์และประโยชน์ ที่ได้รบั จาก
โครงการ
2
ความเป็ นมาของโครงการ
3
Department of Civil Aviation
กรมการบินพลเรือน ในฐานะเป็ นตัวแทนของประเทศไทยซึ่งเป็ นรัฐภาคีของ
อนุสญ
ั ญาว่าด้วยการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ซึ่งมีหน้ าที่ต้องปฏิบตั ิ ตาม
อนุสญ
ั ญาฯ
ทาให้ต้องมีกฏหมายเพื่อความปลอดภัยในการเดินอากาศ
ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสนามบิน ต้องควบคุมสิ่งปลูกสร้างบริเวณใกล้เคียง
สนามบิน
Department of Civil Aviation
• เขตบริเวณใกล้เคียงสนามบินอุบลราชธานี ในท้องที่อาเภอ
เมืองอุบลราชธานี และอาเภอวารินชาราบ ถูกกาหนดให้เป็ น
เขตปลอดภัยในการเดินอากาศ เมื่อ พ.ศ. 2535
Department of Civil Aviation
• เขตบริเวณใกล้เคียงสนามบินพิษณุโลก ถูกประกาศให้เป็ น
เขตปลอดภัยในการเดินอากาศ จานวน 2 ครัง้ ได้แก่
• ครัง้ ที่ 1 พ.ศ. 2517 (ยกเลิกไปแล้ว)
• ครัง้ ที่ 2 พ.ศ. 2535 (ใช้จนถึงปัจจุบนั )
• ในท้องที่อาเภอพรหมพิราม อาเภอเมืองพิษณุโลก อาเภอวังทอง และ
อาเภอบางกระทุ่ม
Department of Civil Aviation
• เขตบริเวณใกล้เคียงสนามบินอุดรธานี ถูกประกาศให้เป็ น
เขตปลอดภัยในการเดินอากาศ จานวน 3 ครัง้ ได้แก่
• ครัง้ ที่ 1 พ.ศ. 2501 (ยกเลิกไปแล้ว)
• ครัง้ ที่ 2 พ.ศ. 2524 (ยกเลิกไปแล้ว)
• ครัง้ ที่ 3 พ.ศ. 2535 (ใช้จนถึงปัจจุบนั )
• ในท้องที่อาเภอบ้านผือ และอาเภอเมืองอุดรธานี
Department of Civil Aviation
• พระราชบัญญัติการเดินอากาศเพื่อควบคุมสิ่งปลูกสร้างและเพื่อความปลอดภัยในการ
เดินอากาศ ซึ่งเป็ นไปตามอนุสญ
ั ญา ได้แก่
• มาตรา 58 ให้รฐั มนตรีมีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากาหนดเขตบริเวณ
ใกล้เคียงสนามบิน หรือสถานที่ตงั ้ เครื่องอานวยความสะดวกในการเดินอากาศเป็ น
เขตปลอดภัยในการเดินอากาศ
• มาตรา 59 ภายในเขตปลอดภัยในการเดินอากาศตามมาตรา 58 ห้ามมิให้บคุ คลใด
ก่อสร้างหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น หรือปลูกต้นไม้ยืน
ต้น เว้นแต่จะได้รบั อนุญาตเป็ นหนังสือจากพนักงานเจ้าหน้ าที่
• มาตรา 60 ถ้าปรากฏว่ามีการฝ่ าฝื นต่อมาตรา 59 วรรคหนึ่ ง หรือฝ่ าฝื นเงื่อนไขตาม
มาตรา 59 วรรคสอง ให้พนักงานเจ้าหน้ าที่มีอานาจสังเป็
่ นหนังสือให้ผฝ้ ู ่ าฝื นจัดการรือ้
ถอนอาคาร หรือสิ่งปลูกสร้าง หรือตัด หรือย้ายต้นไม้นัน้ ภายในเวลาที่กาหนด
Annex 15 Objective
• ในปัจจุบนั อนุสญ
ั ญาฯ ได้เพิ่มเติมข้อกาหนดให้รฐั ภาคีต้องมี
ข้อมูลสิ่งกีดขวางและข้อมูลความสูงภูมิประเทศเชิงเลข
(ETOD) เพื่อใช้ในการจัดการเกี่ยวกับความปลอดภัยด้าน
การบิน
วัตถุประสงค์ของโครงการ
10
วัตถุประสงค์ของโครงการ ระยะที ่ 1
1
• เพื่อจัดทาข้อมูลความสูงภูมิประเทศเชิงเลข และข้อมูลความสูงสิ่งกีดขวาง
(ETOD) รอบบริเวณสนามบินอุบลราชธานี ในขอบเขตพืน้ ที่ที่ 1, 2, 3 และ 4 (Area
1, 2, 3 and 4) ตามข้อกาหนด ICAO, Annex 15
2
• เพื่อจัดทาข้อมูลความสูงภูมิประเทศเชิงเลข และข้อมูลความสูงสิ่งกีดขวาง
(ETOD) รอบบริเวณสนามบินเพื่อใช้ในการวิเคราะห์พนื้ ที่เสี่ยงจากงานการ
เดินอากาศ
3
• เพื่อสนับสนุนระบบตรวจสอบความสูงสิ่งกีดขวางสาหรับงานด้านความปลอดภัย
ในงานการเดินอากาศ ตาม ICAO, Annex 14 และประกาศเขตปลอดภัยในการ
เดินอากาศ บริเวณใกล้เคียงสนามบินอุบลราชธานี
วัตถุประสงค์ของโครงการ ระยะที ่ 1
4
• เพื่อจัดทาแผนที่ออโธโฟโตเพื่อใช้เป็ นข้อมูลภาพในการตรวจสอบด้านความ
ปลอดภัยโดยรอบสนามบิน
5
• เพื่อจัดทาแผนที่ พืน้ ที่เสี่ยงที่ได้รบั ผลกระทบด้านความปลอดภัยสาหรับงานการ
เดินอากาศจากขอบเขตพืน้ ผิว เพื่อใช้ในการระบุสิ่งกีดขวาง (OIS – Obstruction
and Identification Surface) เพื่อความปลอดภัยต่อการเดินอากาศยาน
6
• เพื่อจัดทาระบบที่สามารถตรวจสอบความปลอดภัยสาหรับงานการเดินอากาศ
โดยวิเคราะห์หาขอบเขตพืน้ ผิว เพื่อใช้ในการระบุสิ่งกีดขวาง (OIS – Obstruction
and Identification Surface) เพื่อความปลอดภัยต่อการเดินอากาศยาน
วัตถุประสงค์ของโครงการ ระยะที ่ 2
1
• เพื่อจัดทาข้อมูลความสูงภูมิประเทศเชิงเลขและข้อมูลความสูงสิ่งกีดขวาง (ETOD)
รอบบริเวณสนามบินพิษณุโลกและอุดรธานี ที่อยู่ในความควบคุมของกรมการบิน
พลเรือน ในขอบเขตพืน้ ที่ 2, 3 และ 4 (Area 2, 3 and 4) ตามข้อกาหนด ICAO
2
• เพื่อจัดทาข้อมูลความสูงภูมิประเทศเชิงเลขและข้อมูลความสูงสิ่งกีดขวาง (ETOD)
รอบบริเวณสนามบินพิษณุโลกและอุดรธานี เพื่อใช้ในการวิเคราะห์พืน้ ที่เสี่ยงจาก
งานการเดินอากาศ และสนับสนุนระบบตรวจสอบความสูงสิ่งกีดขวางสาหรับงาน
ด้านความปลอดภัยในงานการเดินอากาศ
13
วัตถุประสงค์ของโครงการ ระยะที ่ 2
3
• เพื่อจัดทาแผนที่ออโธโฟโตเพื่อใช้เป็ นข้อมูลภาพในการตรวจสอบด้านความ
ปลอดภัยโดยรอบสนามบินพิษณุโลกและอุดรธานี
4
• เพื่อจัดทาระบบที่สามารถตรวจสอบความปลอดภัยสาหรับงานการเดินอากาศ โดย
วิเคราะห์หาขอบเขตพืน้ ผิว เพื่อใช้ในการระบุสิ่งกีดขวาง (OIS - Obstruction and
Identification Surface) เพื่อความปลอดภัยต่อการเดินอากาศยาน
5
• เพื่อจัดทาแผนที่ พืน้ ที่เสี่ยงที่ได้รบั ผลกระทบด้านความปลอดภัยสาหรับงานการ
เดินอากาศ จากขอบเขตพืน้ ผิว เพื่อใช้ในการระบุสิ่งกีดขวาง (OIS - Obstruction
and Identification Surface) เพื่อความปลอดภัยต่อการเดินอากาศยาน ของ
สนามบินพิษณุโลกและอุดรธานี
14
พืน้ ที่ดาเนินการ
โครงการฯ ระยะที่ 2
• สนามบินพิษณุโลก
• สนามบินอุดรธานี
โครงการฯ ระยะที่ 1
• สนามบินอุบลราชธานี
15
พืน้ ที่ดาเนินการ
• ETOD พืน้ ที่ 1 (เฉพาะ
โครงการฯ ระยะที่ 1)
• Area 1 shall cover the
entire territory of state
including AD/HP
16
พืน้ ที่ดาเนินการ
• ETOD พืน้ ที่ 2
• พืน้ ที่ครอบคลุมรัศมี 45
กิโลเมตร จากสนามบิน
สาหรับการจัดทาข้อมูล
ETOD พืน้ ที่ 2
17
พืน้ ที่ดาเนินการ
• ETOD พืน้ ที่ 3
• พืน้ ที่บริเวณสนามบิน
ครอบคลุมพืน้ ที่แนว
Runway และ Taxiway โดย
มีระยะแนวล้อมระยะ 90
เมตร สาหรับการจัดทา
ข้อมูล ETOD พืน้ ที่ 3
18
พืน้ ที่ดาเนินการ
• ETOD พืน้ ที่ 4
• พืน้ ที่บริเวณสนามบิน
ครอบคลุมพืน้ ที่แนว Runway
และ Taxiway โดยมีระยะแนว
ล้อมระยะ 900 เมตร บริเวณ
แนวหัวและท้าย Runway และ
แนวล้อม 60 เมตร ด้านข้างของ
Runway สาหรับการจัดทา
ข้อมูล ETOD พืน้ ที่ 4
19
พืน้ ที่ดาเนินการ
• พืน้ ที่โดยรอบสนามบิน ขนาด
ประมาณ 8x12 ตารางกิโลเมตร
หรือภายในขอบเขต Inner
Horizontal Surface สาหรับการ
จัดทาข้อมูลความสูงภูมิประเทศ
ด้วยไลดาร์ ข้อมูลภาพออโทสี
ดิจิตอล ข้อมูลอาคารและสิ่งกีด
ขวาง และข้อมูลจากการสารวจเสา
สูง
20
ขอบเขตการดาเนินงาน
21
ระยะเวลาดาเนินงานโครงการฯ ระยะที่ 1
สนามบินอุบลราชธานี
เริ่ม
ปฏิบตั งาน
29 พ.ค. 2552
ระยะเวลา
ดาเนินงาน
180 วัน
สิ้นสุดโครงการฯ
24 พ.ย. 2552
ระยะเวลาดาเนินงานโครงการฯ ระยะที่ 2
สนามบินพิษณุ โลก
สนามบินอุดรธานี
เริ่ม
ปฏิบตั ิ งาน
20 ส.ค. 2553
ระยะเวลา
ดาเนินงาน
270 วัน
สิ้นสุดโครงการฯ
16 พ.ค. 2554
23
ผลลัพธ์และประโยชน์ ที่ได้รบั จากโครงการ
24
จุดเก็บความสูงด้วยระบบไลดาร์
(LIDAR, Light Detection and Ranging)
ข้อมูลความสูงพืน้ ผิว
(DSM, Digital Surface Model)
ภาพถ่ายทางอากาศสีรายละเอียดสูง
(Orthophoto)
การสกัดบ้านเรือนและสิ่งปลูกสร้างต่างๆ
Obstruction Identification Surface (OIS)
• Identifying Obstructions
• Designing approach procedures
Obstruction Identification Surface Model
(OIS Model)
OIS Model – Risk Map
The building box placement
with coordinated and height
referenced process on
Aerodrome Chart
OIS Model and Identify Risk Object
Risk Building in
Controlled Area
OIS Model – Detected Risk Pole
OIS Model: Identify and
Detect Risk Pole that over
controlled area and Surface
ประโยชน์ ที่มีต่อท้องถิ่น
มีความรวดเร็วในการขออนุญาตก่อสร้างอาคารหรือเสาสูงภายในเขตปลอดภัยใน
การเดินอากาศ
สามารถรู้ความสูงของอาคารภายในเขตปลอดภัยฯ ที่จะมีการก่อสร้างโดยไม่
ทาการสารวจ
ประหยัดค่าใช้จ่ายในการสารวจ
ประชาชนสามารถปฏิบตั ิ ตามกฏหมายได้ถกู ต้องและสะดวกยิ่งขึน้
สามารถใช้ข้อมูลในการพัฒนาพืน้ ที่ในบริเวณใกล้เคียงสนามบิน
ประโยชน์ ที่มีต่อกรมการบินพลเรือน
กรมฯ มีความรวดเร็วในการอนุญาตก่อสร้างอาคาร หรือเสาสูง ภายในเขตปลอดภัย
ในการเดินอากาศ
สามารถออกใบอนุญาตปลูกสร้างภายในเขตปลอดภัยในการเดินอากาศ ได้ที่
สนามบิน
สามารถนาข้อมูลไปวิเคราะห์ความปลอดภัยในการขึน้ – ลงของเครื่องบิน
กรมฯ มีข้อมูลการขออนุญาต และข้อมูลสิ่งปลูกสร้างในเขตปลอดภัยครบถ้วน
ซึ่งจะเป็ นประโยชน์ ต่อผูข้ ออนุญาต กรณี ได้รบั ผลกระทบจากการดาเนินงานของ
สนามบิน
สามารถนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ ในการเดินอากาศในด้านอื่นๆ
ติดต่อขอข้อมูลเพิ่มเติม
• สานักมาตรฐานสนามบิน กลุ่มสนามบินและสิ่งแวดล้อม
กรมการบินพลเรือน
• โทร. 0-2287-0320-9 ต่อ 1191, 1284, 1308 และ 1396
• แฟกซ์ 0-2286-1013
• อีเมล์ [email protected]
36
คาถามและข้อเสนอแนะ