โหลดเอกสาร 1 ได้ที่นี่.

Download Report

Transcript โหลดเอกสาร 1 ได้ที่นี่.

Home Health Care
ิ ร พืชน์ไพบูลย์
พญ.ศศก
ประวัติศาสตร์ การเยีย่ มบ้ าน
ยุคดั้งเดิม 50ปี ก่อน เป็ น
หน้ าที่หลักของแพทย์
สถานพยาบาลขนาดเล็ก
ในพืน้ ที่ห่างไกล หมอไม่ พอ
ส่ งพยาบาลเยีย่ มบ้ าน
ยุคพัฒนาเทคโนโลยีการแพทย์
แพทย์ อยู่ประจา ร.พ.
สถานพยาบาลขนาดใหญ่ ขนึ้
ผู้ป่วยอายุยนื ขึน้
ผู้ป่วยล้ น ร.พ.
สถานพยาบาลขนาดใหญ่ มาก
ลดจานวนผู้ป่วย
ลดระยะเวลาอยู่ ร.พ.
Day Surgery Technique
ส่ งพยาบาลเยีย่ มบ้ านฟื้ นฟู
ยุดปัจจุบันเน้ นส่ งเสริมป้ องกันมากกว่ าตั้งรับ
จึงกลับไปเยีย่ มบ้ านเชิงรุ ก
ดูแลผู้ป่วยทีค่ ลีนิกหรือร.พ.ดีกว่ าที่บ้านจริงหรือ ?
Home Health Care
การดูแลสุ ขภาพผูป้ ่ วยที่บา้ น
“ระบบการให้บริ การด้านสุ ขภาพ โดยบุคลากร
สหวิชาชีพที่บา้ นของผูป้ ่ วย”
Home visit
การเยีย่ มบ้าน
“วิธีการในการให้การบริ การดูแลสุ ขภาพที่บา้ น ซึ่งมี
รู ปแบบและวิธีการเพื่อให้เกิดผลคุม้ ค่ามากที่สุด”
House call
• การรับปรึ กษาปัญหาสุ ขภาพทางโทรศัพท์ : รู ปแบบการ
บริ การที่เป็ นส่ วนหนึ่งของการบริ การดูแลสุ ขภาพที่บา้ น
และการเยีย่ มบ้าน โดยเปิ ดโอกาสให้ผปู้ ่ วยและญาติมี
ช่องทางที่จะรับบริ การด้วยการโทรศัพท์มาปรึ กษา และ/
หรื อโทรศัพท์มาเพื่อขอความช่วยเหลือจากแพทย์และ
ทีมงานที่รู้จกั กันให้ไปเยีย่ มบ้านในบางโอกาส
Home Health Care
เริ่ มตั้งแต่
• 1. การประเมินสภาพผูป้ ่ วยที่บา้ น
• 2. การประสานงานกับทีมรักษาว่าจะรักษาที่บา้ น ที่โรงพยาบาล หรื อส่ งต่อ
• 3. การมอบหมายให้หน่วยงานรับผิดชอบหน้าที่ใดบ้างเพื่อการดูแลผูป้ ่ วย
รายนั้นๆร่ วมกัน
• 4. การประเมินความต้องการด้านต่างๆของผูป้ ่ วยที่จะสามารถปฏิบตั ิภารกิจ
ประจาวันได้ตามปกติ
Home Health Care Team
Home Care Services
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
Professionals:
Physician
Nurse
Dentist
Podiatrist
Optometrist
Rehabilitation therapists
Psychologist
Dietitian
Pharmacist
Social worker
Levine SA. Home care. JAMA 2003;290(9):1203-7
Home Care Team
Patient’s health problems
MD
Nurse
SW
Bio.
Psy.
Soc.
Types : Home Visits (HV)
1.
2.
3.
4.
เยีย่ มบ้ านคนป่ วย
เยีย่ มบ้ านคนใกล้ ตาย
เยีย่ มบ้ านเพือ่ ประเมินสภาวะสุ ขภาพ
เยีย่ มบ้ านเพือ่ ติดตามผู้ป่วยหลังออกจากโรงพยาบาล
1.
เยีย่ มบ้ านคนป่ วย
• กรณีฉุกเฉิน
• โรคเฉียบพลัน
• โรคเรื้อรัง
2.
เยีย่ มบ้ านผ้ ูป่วยใกล้ เสี ยชีวติ
• ดูแลอาการระยะสุ ดท้ ายของโรค
• ประกาศการเสี ยชีวติ
• ประคับประคองภาวะโศกเศร้ าของญาติ
3.
เยีย่ มบ้ านเพือ่ ประเมินสภาวะสุ ขภาพ
• ประเมินสภาพแวดล้อมทีบ่ ้ านทีม่ ีผลต่ อผู้ป่วย
• ประเมินการใช้ ยา เช่ น ใช้ ยาหลายขนาน กินยาผิดขนาด
• ประเมินสาเหตุทผี่ ู้ป่วยบางคนใช้ บริการทางสุ ขภาพทีเ่ กิน
จาเป็ น
• ประเมินความเสี่ ยงของสมาชิกในบ้ านทีอ่ าจถูกทาร้ ายจาก
สมาชิกในครอบครัว (abused/neglect)
• ประเมินความสามารถของสมาชิกในครอบครัวทีจ่ ะดูแล
ผู้ป่วย
• ประเมินผู้ป่วยทีข่ าดนัด
4. เยีย่ มบ้ านเพือ
่ ติดตามผู้ป่วย
หลังออกจากโรงพยาบาล
• นอนโรงพยาบาลจากการรักษาโรคต่ างๆ
• หลังคลอดบุตร
ครอบครัวที่ “ควร” ติดตามเยีย่ มบ้ าน
• มีสมาชิกในครอบครัวที่ตอ้ งการการดูแลอย่างต่อเนื่อง เช่น มี
แผลเรื้ อรัง ต้องให้อาหารทางสายยาง ใส่ สายสวนปั สสาวะคาไว้
รวมทั้งผูพ้ ิการที่ตอ้ งกายภาพบาบัดเพื่อฟื้ นฟูสภาพ
• มีสมาชิกในครอบครัวที่ป่วยด้วยโรคเรื้ อรัง และมีปัญหาใน
การเดินทางมาตรวจที่โรงพยาบาล ไม่วา่ ปัญหาทางกาย หรื อ
ปัญหาทางเศรษฐกิจ
ครอบครัวที่ “ควร” ติดตามเยีย่ มบ้ าน
• มีสมาชิกในครอบครัวที่ป่วยด้วยโรคระยะสุ ดท้าย หรื อภาวะ
วิกฤตต่างๆ ที่ไม่ตอ้ งการการรักษาเพิม่ เติมในโรงพยาบาล
• ครอบครัวที่มีปัญหาทางร่ างกาย จิตใจ สังคม หรื อเศรษฐกิจ ที่
มีผลต่อสภาวะสุ ขภาพ
• ผูป้ ่ วยหรื อสมาชิกในครอบครัวที่ขอให้ติดตามเยี่ยมที่บา้ น
แนวทางการเยีย่ มบ้ าน
1.
2.
3.
4.
การประเมินปัญหาสุ ขภาพและความต้องการของครอบครัว
การวางแผนเพื่อช่วยเหลือครอบครัว
การปฏิบตั ิตามแผน
การประเมินผลการให้บริ การ
การประเมินปัญหาสุ ขภาพและความต้ องการ
ของครอบครัว
• การเก็บรวบรวมข้อมูล
• การทดสอบความแม่นยาของข้อมูล
• การแปลความหมาย และการวิเคราะห์ขอ้ มูล
–กรณี ทราบปัญหาแล้ว
–กรณี ขอ้ มูลไม่เพียงพอในการสรุ ปปัญหา
–การวินิจฉัยปัญหาครอบครัว
การวางแผนเพือ่ ช่ วยเหลือครอบครัว
• กาหนดเป้ าหมายที่ตอ้ งการ
– เป้ าหมายระยะสั้น
– เป้ าหมายระยะยาว
• กาหนดเกณฑ์ในการประเมินผล
การปฏิบัติตามแผน
• ก่อนเยีย่ มบ้าน
• ขณะเยีย่ มบ้าน
• หลังเยีย่ มบ้าน
ก่อนเยีย่ มบ้าน
อุปกรณ์ ในการเยีย่ มบ้ าน
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
แผนทีบ่ ้ าน
แฟ้มบันทึกประวัติครอบครัว
ใบสั่ งยา
ปรอทวัดไข้
หูฟัง (Stethoscope)
เครื่องวัดความดัน
ไฟฉาย
ไม้ กดลิน้
เครื่องตรวจหูและตา
อุปกรณ์ พเิ ศษ ในกรณีทาแผล/เปลีย่ นสายยางต่ างๆ
ขณะเยีย่ มบ้าน
Home Visit Assessment:
IN HOME SSS
•
•
•
•
•
•
•
•
•
I
N
H
O
M
E
S
S
S
Immobility
Nutrition
Home environment
Other people
Medications
Examination
Safety
Spiritual health
Services
Immobility
Nutrition
Home Environment
Housing
Other people
Medication
Examination
Safety
Spiritual health
Services
หลังเยีย่ มบ้าน
• สรุ ปปัญหาครอบครัว
• บันทึกข้อมูล
• ประวัติที่ผปู ้ ่ วยเล่า (Subjective)
• สิ่ งที่ตรวจพบ (Objective)
• การประเมินปัญหา (assessment)
• การวางแผนดูแลขั้นต่อไป (plan)
การประเมินผลการให้ บริการ
•
•
•
•
•
เปรี ยบเทียบกับเกณฑ์การประเมินผลที่กาหนดไว้
การสังเกตพฤติกรรมของสมาชิกในครอบครัว
การประเมินทัศนคติและความรู้
ผลการตรวจร่ างกายหรื อผลการตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ
ประเมินทีมผูเ้ ยีย่ มบ้านว่าสามารถทางานได้สาเร็ จลุล่วงตาม
วัตถุประสงค์หรื อไม่
What about
home ward??
“Home Hospital”
ในการทดลองที่สถาบันการศึกษาในอังกฤษและสหรัฐอเมริ กา ผูป้ ่ วยจะ
ได้รับการดูแลแบบ home hospital ถ้า
• อายุ > 65 ปี
• อาศัยอยูภ่ ายในเขตการรักษาที่กาหนด
• ต้องการการรักษาด้วยเรื่ อง
– Community acquired pneumonia
– Cellulitis
– Chronic Heart Failure
– COPD
“Home Hospital”
• การดูแล เช่น
– IV medications
– IV Antibiotics/diuretics
– Nebulizers
• พยาบาลมาเยีย่ มอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง
• แพทย์มาเยีย่ มอย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
• ญาติสามารถตามหรื อปรึ กษาแพทย์/พยาบาลทางโทรศัพท์ได้
Indications for Hospital assessment or
admission for COPD exacerbation
• อาการรุ นแรง
• มีอาการมากขึ้นเฉียบพลัน
• Severe underlying COPD
• ตรวจร่ างกายพบ signs ใหม่ เช่น อาการเขียว อาการบวม
• การรักษาเบื้องต้นล้มเหลว
• ผูป้ ่ วยมีโรคร่ วมอื่นที่สาคัญร่ วมด้วย
Indications for Hospital assessment or
admission for COPD exacerbation
•
•
•
•
•
อาการกาเริ บบ่อยมากกว่าปกติ
มีอาการสับสนหรื อซึมลง
ไม่แน่ใจในการวินิจฉัย
จาเป็ นต้องใช้เครื่ องช่วยหายใจ
ไม่สามารถดูแลที่บา้ นได้
Indications for Hospital admission for
Cellulitis
• signs of septicaemia (hypotension, tachycardia,,
confusion, tachypnoea or vomiting) are an
absolute indication for admission
• อาการแย่ลงเรื่ อยๆ (systemic/local signs) หลังจากให้ยาฆ่าเชื้อไป
มากกว่า 48 ชัว่ โมงแล้ว
• unresolving or deteriorating local signs, with or
without systemic signs.
คาถาม ?