คำสั่งในการเคลื่อนที่แนวเส้นตรง

Download Report

Transcript คำสั่งในการเคลื่อนที่แนวเส้นตรง

หน่ วยที่ 6
องค ์ประกอบและโครงสร ้างของ
โปรแกรมซีเอ็นซี
*****************************
******
สาระสาคัญ
่ ใช้
่ ในองค ์ประกอบและหลัก
ภาษาหรือคาสังที
โครงสร ้างของเอ็นซีโปรแกรม (NC Program) คือ
อนุ กรม (Series) ของคาสัง่ (Code Instructions)
่ าเป็ นจะต้องใช้ในการผลิตชินงานโดยจะท
้
ต่างๆ ทีจ
า
่
่
่
่
ของทู
ลกบ
ั เครืองซี
มการเคลือนที
หน้าทีควบคุ
เอ็นซี
หรือเปิ ด – ปิ ดน้ าหล่อเย็น การหมุนของเพลางาน
่ วยอืนๆโปรแกรมเอ็
่
และหน้าทีช่
นซีจะมีลก
ั ษณะ
่
่
ซึงจะ
เหมือนก ับโปรแกรมของคอมพิวเตอร ์ทัวไป
ประกอบไปด้วยหลายๆ บรรทัด และในแต่ละบรรทัด
่ างๆ ซึงจะมี
่
จะประกอบด้วยคาสังต่
ศ ัพท ์เรียกเฉพาะ
หรือแต่ละบรรทัดหรือบล็อคจะประกอบไปด้วยหลายๆ
สาระการเรียนรู ้
1. องค ์ประกอบและโครงสร ้างของโปรแกรมซีเอ็นซี
2. สัญลักษณ์ทใช
ี่ ้ในการโปรแกรมซีเอ็นซี
่ ใช
่ ้ในการโปรแกรมซีเอ็นซี
3. ภาษาหรือคาสังที
จุดประสงค ์เชิงพฤติกรรม
1. บอกลักษณะองค ์ประกอบและโครงสร ้างของ
โปรแกรมซีเอ็นซีได ้
2. บอกสัญลักษณ์ทใช
ี่ ้ในการเขียนโปรแกรมซีเอ็นซี
ได ้
่ ใช
่ ้ในการเขียน
3. บอกความหมายของคาสังที
โปรแกรมซีเอ็นซีได ้
6.1 องค ์ประกอบและโครงสร ้างของ
โปรแกรมซีเอ็นซี
โปรแกรม (Program) หมายถึง การรวมก ัน
่ ยนตามลาดับขันตอน
้
ของบล็อคหลายๆ บล็อคทีเขี
่ าหนดไว้ ในตัวโปรแกรมจะ
ในการทางานตามทีก
่ เกี
่ ยวก
่
่ ่
ประกอบด้วยคาสังที
บ
ั การทางานและคาสังที
่
่
่ ว
ช่วยในการทางาน เช่น คาสังการเคลื
อนที
เร็
่
่
่
(G00) คาสังในการเคลื
อนที
แนวเส้
นตรง (G01) เป็ น
่ วยในการทางานประกอบด้วย คาสัง่
ต้น ส่วนคาสังช่
่ าให้เพลาสปิ นเดิลหมุนคาสังการเคลื
่
่
่
ทีท
อนที
ของ
่
ชุดเครืองมื
อเป็ นต้น โปรแกรมเอ็นซีจะมีลก
ั ษณะ
ตารางที่ 1 ตารางเปรียบเทียบระหว่างภาษาคอมพิวเตอร ์
ก ับ ภาษาของเอ็นซีโปรแกรม
่
ภาษาคอมพิวเตอร ์ทัวไป
NC โปรแกรม
บรรทัด (Line)
คาสัง่
บล็อก (Block)
คา (Word)
บล็อค (block) หมายถึง คามาประกอบกันเป็ น
่
่
คาสังควบคุ
มการทางานของเครืองซี
เอ็นซี
คา (word) หมายถึง กลุ่มของตัวอ ักษรหรือ
้
่ าหนดเงื่อนไขในการ
สัญลักษณ์ทประกอบก
ี่
น
ั ขึนมาเพื
อก
่
่
ทางานของเครืองซี
เอ็นซี โดยทีในแต่
ละบล็อค
ประกอบด้วยหลายคา ในแต่ละคาประกอบด้วยหนึ่ ง
่ นคาสังให้
่
ตัวอ ักษรภาษาอ ังกฤษหรือเรียกว่า โค้ด ซึงเป็
่
่ องการแล้วตามด้วย
เครืองซี
เอ็นซี ทางานในลักษณะทีต้
่
้
ตัวเลข สาหร ับประกอบการสังการหรื
อการทางานนันๆ
ตัวอย่างที่ 1 เอ็นซีโปรแกรม (NC Program)
N1 G90 F0.5 S 300 T1 M3
N2 G00 X50 Z 2
จะเห็นว่าเอ็นซีโปรแกรมจะประกอบด้วยหลายๆ
บล็อค (หรือบรรทัด) แต่ละบล็อคจะประกอบด้วยหลาย
่ างๆ ดังนันตั
้ วอย่างนี เป็
้ นการแสดง
คา หรือคาสังต่
โปรแกรมเพียง 3 บล็อค
โดยบล็อคที่ 1 คือ
: N1 G90 F0.5
S300 T1 M3
้ 6 คา ได้แก่ : N1 , G90 , F0.5 ,
ในบล็อคที่ 1 นี มี
S300 , T1 และ M3
ในแต่ละคาประกอบด้วย
: 1. โค้ด หรือ เป็ น
ตัวอ ักษร
: 2. ตัวเลข
่
่
6.1.1 คาสังของโปรแกรมซี
เอ็นซี
่
คาสังของโปรแกรมซี
เอ็นซี หรือภาษา
่
โปรแกรมซีเอ็นซีของระบบควบคุมจะเป็ นกฎทีใช้
่
สาหร ับการกาหนดว่าโปรแกรมบล็อคใดทีจะต้
อง
้ าหร ับสังให้
่ เครืองท
่
เขียนขึนส
างานอย่างไร
โปรแกรมซีเอ็นซีโดยปกติแล้วในโปรแกรมจะมีคาสัง่
่ งได้เป็ น 4 ประเภท
ทีแบ่
่
1.) โค้ดคาสังการควบคุ
มโปรแกรม
(Program Control Instructions) ยังแบ่งออกเป็ น
3 ลักษณะ
- หมายเลขโปรแกรม เช่น O 48512
- หมายเลขบล็อค เช่น N5 ,
่
2.) โค้ดคาสังทางเรขาคณิ
ต (Geometric
Instructions) เป็ นการบอกตาแหน่ งของการ
่
่
่
เคลือนที
ของเครื
องมื
อตัด เช่น G00 , G01 , G02
, G03
่
3.) โค้ดคาสังทางเทคนิ
ค (Technical
่ เกี
่ ยวก
่
่
่
Instructions) เป็ นคาสังที
ับการเคลือนที
เช่น
F = อ ัตราป้ อน (มม./นาที)
S = ความเร็วรอบ (รอบ/นาที)
่
T = เครืองมื
อตัด
่ วย เป็ นคาสังที
่ ใช้
่ ชว
4.) โค้ดคาสังช่
่ ยในการ
่
N1
N2
G90
G01 X50
Z2
G01 Z-1
F0.5 S200 T1
M3
่
โค้ดคาสังทางเรขาคณิ
ต
่
่
โค้ดคาสังทางเทคนิ
คและโค้ด
โค้ดคาสังการควบคุ
มโปรแกรม
่
รู ปที่ 6.1 ลักษณะของโค้ดคาสังประเภท
ต่างๆ ในโปรแกรมซีเอ็นซี
6.1.2 ชนิ ดของคา
่
คาเป็ นกลุ่มของตัวอ ักษรทีตามด้
วยตัวเลข
้ั
่
่
(บางครงอาจมี
เครืองหมายด้
วย) ซึงการเรี
ยงคาต่างๆ
่ นอน
ในแต่ละบรรทัดจะมีรูปแบบทีแน่
่ 2 แสดงชนิ ดของคาในโปรแกรมซี
ตารางที
เตัอ็วน
ชนิ ดของคา
หน้าที่
อย่ซี
าง
1. คาบอกบรรทัด
2. คาบอกขนาด
3. คาบอกจุดศู นย ์กลางของ
ส่วนโค้ง
้ น
กาหนดว่าเป็ นการขึนต้
บรรทัด
กาหนดโคออร ์ดิเนทของ
่
ทางเดินของเครืองมื
อตัด
N5 , N10
กาหนดโคออร ์ดิเนทของจุด
ศู นย ์กลางของส่วนโค้ง
I3 J12 , I-3 K0 หรือ R12
X-5 , Z-10
ชนิ ดของคา
หน้าที่
ตัวอย่าง
4. คาบอกการป้ อน
กาหนดอ ัตราป้ อนในการต ัดเฉื อน
F100
5. คาบอกลักษณะการทางาน
่ งจะแสดงว่
่
จะกาหนดโหมดคาสังซึ
า
้
ต้องการจะทาอะไรในบรรทัดนัน
G90 , G91 , G01, G00 , G02
, G03
่ น
่ ๆ
6. คาบอกหน้าทีอื
จะกาหนดโหมดในการควบคุม เช่น
หยุดโปรแกรม , จบโปรแกรม
M00 , M30
7. คาบอกเพลางาน
กาหนดความเร็วของเพลางาน
S2500
่
8. คาบอกเครืองมื
อต ัด
่
กาหนดหมายเลขของเครืองมื
อต ัดที่
จะเลือกใช้
T5 , 10
6.2 สัญลักษณ์ทใช้
ี่ ในการ
โปรแกรมซีเอ็นซี
่ ก ับเครืองซี
่
สัญลักษณ์ตา
่ งๆ ทีใช้
เอ็นซีทง้ั
่
่
้ ใ้ ช้ควร
เครืองกลึ
งและเครืองก
ัดมีอยู ่มากมาย ดังนันผู
่
่
ทีจะศึ
กษาจากคู ม
่ อ
ื ของแต่ละรุน
่ ของเครืองซี
เอ็นซี
้
้
นันเพราะว่
าจะใช้ไม่เหมือนก ันทุกรุน
่ (ขึนอยู
่ก ับ
่
่ ใช้กม
บริษท
ั ผู ผ
้ ลิตเครืองซี
เอ็นซี) คอลโทรลเลอร ์ทีมี
็ ี
หลากหลายมากเช่น DECKEL , HIDENHAIN ,
MAHO , FANUC เป็ นต้น
ตารางที่ 3 สัญลักษณ์ทใช้
ี่ ในโปรแกรมซีเอ็นซี
สัญลักษณ์ /
ตัวอ ักษร
A
B
C
D
E
F
G
ลักษณะสาคัญ
การหมุนรอบแกน X
การหมุนรอบแกน Y
การหมุนรอบแกน Z
หมายเลขการชดเชยขนาดของทู ล
อ ัตราป้ อนรอง
อ ัตราป้ อน
่
่
่
คาสังการเคลื
อนที
ตารางที่ 3 สัญลักษณ์ทใช้
ี ่ ใน
โปรแกรมซี
เอ็/นซี (ต่อ)
สัญลักษณ์
ลักษณะสาค ัญ
ต ัวอ ักษร
H
I
การชดเชยความยาวของทู ล
จุดศูนย ์กลางของโคออร ์ดิเนทวงกลม/โพลาร ์โคออร ์ดิเนทใน
แกน X
J
จุดศูนย ์กลางของโคออร ์ดิเนทวงกลม/โพลาร ์โคออร ์ดิเนทใน
แกน Y
K
จุดศูนย ์กลางของโคออร ์ดิเนทวงกลม/โพลาร ์โคออร ์ดิเนทใน
แกน Z
่ าๆ
้
ใช้ในการวนลู ป (Loop) สาหร ับทางานทีซ
L
M
N
การทางานเสริม
หมายเลขบล็อค
ตารางที่ 3 สัญลักษณ์ทใช้
ี่ ในโปรแกรม
ซีเอ็
นซี (ต่อ)
สัญลักษณ์ /
ลักษณะสาคัญ
ตัวอ ักษร
O
P
(ไม่มก
ี าหนด)
่
่
การเคลือนที
ขนานก
ับแกน X แนวแกนที่ 3
Q
่
่
การเคลือนที
ขนานก
ับแกน Y แนวแกนที่ 3
R
่
่
การเคลือนที
ขนานก
ับแกน Y แนวแกนที่ 3
S
T
U
ความเร็วของเพลางาน
่
เครืองมื
อตัด
่
่
การเคลือนที
ขนานก
ับแกน X แนวแกนที่ 2
ตารางที่ 3 สัญลักษณ์ทใช้
ี่ ในโปรแกรม
ซีเอ็นซี (ต่อ)
สัญลักษณ์ /
ต ัวอ ักษร
ลักษณะสาค ัญ
V
่
่
ไม่การเคลือนที
ขนานก
ับแกน Y แนวแกนที่ 2
W
่
่
การเคลือนที
ขนานก
ับแกน Z แนวแกนที่ 2
X
Y
Z
%
*
่
่
การเคลือนที
ในแนวแกน
X
่
่
การเคลือนที
ในแนวแกน
Y
่
่
การเคลือนที
ในแนวแกน
Z
่ นโปรแกรม
การเริมต้
้ ดบรรทัด
สินสุ
ตารางที่ 3 สัญลักษณ์ทใช้
ี่ ในโปรแกรม
ซีเอ็นซี (ต่อ)
สัญลักษณ์ /
ตัวอ ักษร
;
+
/
:,( )
ลักษณะสาคญ
ั
้ ดบรรทัด
สินสุ
(ไม่มก
ี าหนด)
้ เช่น Z-10.0 คือ
ถ้าอยู ่หน้าตวั เลขนัน
่
่ ลไปทีต
่ าแหน่ งแกน Z – 10.0
เคลือนที
ทู
(ไม่มก
ี าหนด)
(ไม่มก
ี าหนด)
่ ใช้
่ ใน
6.3 ภาษาหรือคาสังที
การโปรแกรมซีเอ็นซี
่ ในโปรแกรมเอ็นซี คือ โค้ดจี หรือ จี
กลุ่มโค้ดหลักทีใช้
โค้ด และโค้ดเอ็ม หรือ เอ็มโค้ด
6.3.1 จีโค้ด (G Code)
่ ท
่ าให้ระบบควบคุมหรือ
จีโค้ด เป็ นคาสังที
่
่
่ าการแม
คอนโทรลเลอร ์สังการให้
เครืองซี
เอ็นซี เพือท
ชชีน (Machine)ให้เป็ นรู ปทรงเรขาคณิ ตตามความ
ต้องการ โดยในการแมชชีนใดๆ คอลโทรลเลอร ์ต้อง
่
่
ทราบทิศทางและตาแหน่ งของการเคลือนที
ของทู
ล
่
่ นเส้นตรงหรือเส้นโค้งวงกลม
ลักษณะการเคลือนที
เป็
่
่
่
จีโค้ด มีมาตรฐานอุตสาหกรรม เช่น
มาตรฐาน ISO6983/BS 3635 มาตรฐาน
ANSI/EIA RS-274D , (ประเทศสหร ัฐอเมริกา) ,
BS3635 (ประเทศอ ังกฤษ) และมาตรฐาน DIN 66
025 (ประเทศเยอรมัน) เป็ นต้น โดยทุกมาตรฐาน
้
่
ดังกล่าวมีจโี ค้ดพืนฐานที
เหมื
อนก ันเอ็นซีโปรแกรม
่ มาตรฐานเหล่านี นิ
้ ยมเรียกว่าโปรแกรมจีโค้ด
ทีใช้
(G Code Program)
้
ตารางที่ 4 จีโค้ด โค้ดพืนฐาน
้
จีโค้ด โค้ดพืนฐาน
โค้ด
G00
G01
G02
คาสัง่
่
่
การเคลือนที
แนวเส้
นตรงจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง
ด้วยความเร็ว
้
่
่
ฟี ดสู งสุด โดยไม่โดนชินงาน
หรือการเคลือนที
แบบ
“แรพพิด” (Rapid)
่
่
้
้
การเคลือนที
แนวเส้
นตรงลึกเข้าไปในเนื อของชิ
นงาน
่ าหนด
ด้วยความเร็วฟี ดทีก
่
่
้
การเคลือนที
แนวเส้
นโค้งวงกลมลึกเข้าในเนื อของ
้
ิ า
ชินงานในทิ
ศตามเข็มนาฬก
้
ตารางที่ 4 จีโค้ด โค้ดพืนฐาน
(ต่อ)
คาสัง่
โค้ด
G17
่
่
้
การเคลือนที
แนวเส้
นโค้งวงกลมลึกเข้าในเนื อ
้
ิ า
ของชินงานในทิ
ศทวนเข็มนาฬก
่
่
่ าหนดหรือ
หยุดการเคลือนที
ในระยะเวลาที
ก
ดะเวลล ์ (Dwel)
กาหนดใช้ระนาบ XY
G18
กาหนดใช้ระนาบ XZ
G19
กาหนดใช้ระนาบ YZ
G03
G04
้
ตารางที่ 4 จีโค้ด โค้ดพืนฐาน
(ต่อ)
คาสัง่
โค้ด
G20/G70
G21/G71
G80
้ (inch)
กาหนดหน่ วยความยาวเป็ นนิ ว
กาหนดหน่ วยความยาวเป็ นมิลลิเมตร (mm)
ยกเลิกไซเคิล (Cycle) ต่างๆ
G81 ถึง 83 ไซเคิลการเจาะรู (Driling Cycle) ต่างๆ
G84
ไซเคิลการทาเกลียว
G85 ถึง 88 ไซเคิลการคว้านรู (Boring Cycle) ต่างๆ
้
ตารางที่ 4 จีโค้ด โค้ดพืนฐาน
(ต่อ)
โค้ด
คาสัง่
G90
กาหนดการโปรแกรมให้เป็ นแบบสัมบู รณ์
G91
กาหนดการโปรแกรมให้เป็ นแบบสัมพัทธ ์
G94
้
ให้คา
่ ฟี ดเป็ น มม./นาที (mm/min) หรือ นิ ว/นาที
(inch/min)
้
ให้คา
่ ฟี ดเป็ น มม./รอบ (mm/rev) หรือ นิ ว/รอบ
(inch/rev)
่ น เมตร/
ให้ความเร็วผิว (Surface Speed) คงทีเป็
นาที (m/min)
G95
G96
้
ตารางที่ 4 จีโค้ด โค้ดพืนฐาน
(ต่อ)
โค้ด
คาสัง่
่ น รอบ/
ให้สปิ นเดิลหมุนด้วยความเร็วรอบคงทีเป็
นาที (rpm)
G98 ถึง 99 ไม่ได้ใช้ใน ISO6983 และ RS-274D
G97
่ นๆ
่ ที่
นอกเหนื อจากจีโค้ดแล้วจะต้องมีคาสังอื
่
เครืองซี
เอ็นซีตอ
้ งใช้ในกระบวนการแมชชีนต่างๆ เช่น
่ องการ การเปลียน
่
การให้
ส
ปิ
นเดิ
ล
หมุ
น
ในทิ
ศ
ที
ต้
6.3.2่ เอ็มโค้ด (M้ Code)
เครืองมือ การใช้นาหล่อเย็น การหยุดสปิ นเดิล และ
่
้ าหนดให้
การหยุดโปรแกรม เป็ นต้น โดยคาสังเหล่
านี ก
ใช้เป็ นเอ็มโค้ด
้
่ นๆ
่ ทีเกี
่ ยวข้
่
ด ังนันเอ็
มโค้ด คือ คาสังอื
องกับการ
่
่
ควบคุมกลไกการทางานของเครืองซี
เอ็นซี ทีไม่
่
่
่
่
เกียวข้
องก ับการเคลือนที
ของเครื
องมื
อทัง้ จีโค้ด และ
่
เอ็มโค้ด โดยทัวไปจะตามด้
วยต ัวเลข 2 ตัว แต่ในคอล
่
่ าสัง่
โทรลเลอร ์บางรุน
่ อาจมีต ัวเลข 3 ต ัวได้ เพือเพิ
มค
้
ให้หลากหลายมากขึนโค้
ดบางช่วง เช่น G22 ถึง G32
และ G98 ถึง G99 มาตรฐานEIA (Electronic
Industries Association) และมาตรฐานโค้ดASC
(American Standard Code For Information
Interchange) จึงทาให้ผูผ
้ ลิตชุดคอลโทรลเลอร ์
้
ตารางที่ 5 เอ็มโค้ด โค้ดพืนฐาน
้
เอ็มโค้ด โค้ดพืนฐาน
โค้ด
M00
M01
M03
คาสัง่
่ั
่
หยุดโปรแกรมชวคราว
แล้วจะทางานต่อเมือกด
สวิทซ ์สัง่
่ องการ (Optional Stop)
หยุดโปรแกรมเมือต้
่
่
โดยเมือจะให้
หยุดต้องกดปุ่ มหยุดโปรแกรมทีแผง
ควบคุมของคอลโทรลเลอร ์
ิ า
ให้สปิ นเดิลหมุนตามเข็มนาฬก
้
ตารางที่ 5 เอ็มโค้ด โค้ดพืนฐาน
(ต่อ)
โค้ด
คาสัง่
M04
ิ า
ให้สปิ นเดิลหมุนทวนเข็มนาฬก
M05
M06
หยุดหมุนสปิ นเดิล
่
่
สลับเปลียนเครื
องมื
อตัด
เปิ ดให้น้ าหล่อเย็นให้ไหลเป็ นละออง
M07
M08
่
เปิ ดให้น้ าหล่อเย็นให้ไหลท่วมเครืองมื
อ
ตัด
้
ตารางที่ 5 เอ็มโค้ด โค้ดพืนฐาน
(ต่อ)
โค้ด
คาสัง่
M09
ปิ ดการไหลของน้ าหล่อเย็น
M13
ิ าและเปิ ดน้ าหล่อเย็น
ให้สปิ นเดิลหมุนตามเข็มนาฬก
M14
ิ าและเปิ ดน้ าหล่อเย็น
ให้สปิ นเดิลหมุนทวนเข็มนาฬก
M30
่ มต้
่ น
จบโปรแกรมแล้วกลับไปบล็อคแรกหรือทีเริ
โปรแกรม
่ ในคา (Word)
6.3.3 โค้ดอืนๆ
โค้ดในแต่ละคา นอกเหนื อจาก จีโค้ด และ เอ็มโค้ด
่
แล้วสามารถยังประกอบด้วยโค้ดอืนๆ
อีก 7 ประเภท คือ
่ อค (เลขทีบรรทั
่
1) เลขทีบล็
ด)
: N
2) ตาแหน่ งหรือระยะทางความยาว : X , Y และ Z
3) ตาแหน่ งจุดศู นย ์กลางวงกลม
: I, J
และ K
4) ความเร็วสปิ นเดิลและความเร็วตัด
: S
และ V
5) ความเร็วฟี ด
: F
่ องมื
่
6) เลขทีเครื
อ
: T
่ ๆ
7) อืน
: B , D และ
O เป็ นต้น
่ อค (Block Number , Sequence Number) :
1. เลขทีบล็
N
่ น ด้ว ย
เลขที่บล็ อ คหรือ ล าดับ ค าสั่งต่ า งๆ จะเริมต้
ตัวอก
ั ษร N ตามด้วยตัวเลข (0 ถึง 9) จานวนตัวเลขอาจมี
เพียง 3 ตัว (3 หลัก) หรือสู งสุด 999 บล็อค (N001 ถึง
่
N999)
ซึงใช้
ใ นคอลโทรลเลอร ์ยุ ค แรกๆ เนื่ องจาก
่ ในยุคนั้นมีหน่ วยความจา (Memory)
คอมพิวเตอร ์ทีใช้
น้อย
ในปั จ จุ บ น
ั เลขที่บล็ อ คในคอลโทรลเลอร ์สามารถ
กาหนดได้ถงึ 5 หลัก (N00001 ถึง N99999) หรือ
มากกว่ า ท าให้ส ามารองร บ
ั โปรแกรมขนาดใหญ่ ข อง
้
่ บ
่ าจากซอฟท แ์ วร ์ของงานแคดแคม
ชินงานที
ซ
ั ซอ
้ นทีท
(Computer
Aided
Design/Computer
Aided
การส่งโปรแกรมอาจใช้วธ
ิ ก
ี ารดีเอ็นซี(DNC) ส่ง
จากคอมพิวเตอร ์บุคคลผ่าน RS232 เข้า
่
่ าการแมชชีน
คอนโทรลเลอร ์ของเครืองซี
เอ็นซี เพือท
บล็อคตรงจากคอมพิวเตอร ์บุคคลได้ การกาหนดเลขที่
่
่
บล็อคสามารถเริมจากเลข1
, 2 , 3 , 4….หรือเพิมไป
้ั
่ งซึงมี
่ ขอ
ยังบล็อคถ ัดไปครงละหนึ
้ เสีย คือทาให้ลาบาก
ต่อการแก้ไขโปรแกรมโดยเฉพาะในการแทรกบล็อค
้ าดับทีใช้
่ จงึ นิ ยมให้เพิมคร
่
้ั
ดังนันล
งละ
5 เช่น N0005 ,
่
้ั
N0015 , N0020 ,….หรือเพิมคร
งละ10
เช่น N0010
, N0020 , N0030 , N0040…. คอลโทรลเลอร ์บาง
รุน
่ ต้องพิมพ ์ N0005 ต้องมีเลขศู นย ์สามตัวแทน N5
้
2. ตาแหน่ ง หรือ ระยะทางความยาว : X Y Z
่
่
่
การเคลือนที
ของเครื
องมื
อจากตาแหน่ ง
่ องการในแนวเส้นตรง
ปั จจุบน
ั ไปยังตาแหน่ งทีต้
หรือเส้นโค้งวงกลมสามารถระบุได้โดยใช้ตวั เลข
(0 ถึง 9) ตามท้ายแกน X Y และ Z (หรือโค้ด X Y
่
และ Z) โดยมีเครืองหมายบวก
(+) และ ลบ (-)
่
้
นาหน้าตัวเลขเพือบอกทิ
ศทางตามแกนนันๆ
โค้ด
่ องกาหนดค่า X Y และ Z ได้แก่ G00 , G01 ,
ทีต้
G02 และ G03 เป็ นต้น
3. ตาแหน่ งจุดศู นย ์กลางของวงกลม
ตาแหน่ งจุดศู นย ์กลางของวงกลมและของ
ส่วนโค้งของวงกลม ใช้โคออร ์ดิเนท I , J และ K
การบอกตาแหน่ งใช้ตวั เลขตามท้ายโคออร ์ดิเนท
เช่นโคออร ์ดิเนท X , Y และ Z โดยมีโคออร ์ดิเนท I
่
เป็ นแกนทีขนานก
บ
ั แกน X , J ขนานก ับแกน Y
่ คอ
และ K ขนานกับแกน Z จีโค้ดทีใช้
ื G02 และ
G03
4. ความเร็วสปิ นเดิล (spindle speed) : S
ความเร็วสปิ นเดิล คือความเร็วของสปิ นเดิล
ใช้ตวั อ ักษร S ตามด้วยเลข เช่น S1500 หมายถึง
ความเร็วสปิ นเดิลเป็ น 1500 รอบต่อนาที (rpm
5. ความเร็วฟี ด : F
ความเร็วฟี ด คือ ความเร็วของการ
้
่
่ องมื
่
อตัดในขณะแมชชีนชินงาน
เครื
เคลือนที
่
่ งลงในชืนงานเพื
้
่ ัดหรือกลึง
หรือเคลือนที
กลึ
อก
้ นงานออก
้
เอาเนื อชื
หน่ วยของความเร็วฟี ด
สามารถกาหนดได้เป็ น
้
ก) มม./นาที (mm/min) หรือ นิ ว/นาที
(inch/min)ใช้สาหร ับการก ัดและการเจาะคาสัง่
่ คอ
ทีใช้
ื G94
้
ข) มม./รอบ (mm/rev) หรือ นิ ว/รอบ
่ ใช้
่ คอ
(inch/min) สาหร ับการกลึงคาสังที
ื G95
ก.
ตัวอย่างที่ 2 การกาหนดค่าฟี ด
่ ้
่ ้
บล็อกทีใช
ค่าฟี ดทีได
G94
G71
F50
50 mm/min
ข.
G95
G70
F0.01
0.01 inch/min
ค.
G95
G71
F0.5
0.5 mm/rev
ง.
G94
G71
G1 X20 Y30
X50 F200
F180
180.Mm/min
200 mm/min
่ องมื
่
6. เลขทีเครื
อตัด : T
่
่
เลขทีของเครื
องมื
อตัดสาหร ับการ
่
่
เลือกใช้งานของเครืองมื
อตัดในเครืองแมชชี
น
่
นิ่ งเซนเตอร ์และเครืองกลึ
งซีเอ็นซี จะใช้
่ องมื
่
ตัวอ ักษร T แล้วตามด้วยตัวเลขทีเครื
อตัด
่
่
โดยทัวไปจะใช้
รว่ มก ับโค้ดการเปลียน
่
เครืองมื
อตัด (M06) ตัวอย่างเช่น T0102 และ
T101 เป็ นต้น
่
7. อืนๆ
่
ตัวอ ักษรอืนๆ
แล้วแต่ผูผ
้ ลิตคอลโทรล
้
่
มขึนเอง
เลอร ์จะกาหนดเพิมเติ
้
6.3.4 โครงสร ้างพืนฐาน
้
จะเห็นว่าเอ็นซีโปรแกรมมีโครงสร ้างพืนฐานแยกได้
เป็ น 3 ส่วน คือ
1) ส่วนหัวโปรแกรม
่
่
ได้แก่ เครืองหมาย
% และชือโปรแกรม
่
หมายเลขเครืองหมาย
% เป็ นสัญลักษณ์ของ
่
โปรแกรมมาตรฐาน ISO โดยเมือคอลโทรลเลอร
์อ่าน
่ องหมาย
่
โปรแกรมทีเครื
% คอลโทรลเลอร ์จะทาการ
เปิ ดหรือปิ ดหน่ วยจัดเก็บข้อมู ล ในการเขียนโปรแกรม
หรือการใช้คอมพิวเตอร ์ส่วนบุคคลพิมพ ์โปรแกรมโดย
่
้ ต้
่ น
ใช้ซอฟต ์แวร ์พิมพ ์ใดๆ ต้องใส่เครืองหมาย
% นี ที
และปลายโปรแกรมก่อนส่งเข้าคอลโทรลเลอร ์ หรือ
2) ตัวโปรแกรม หรือ ตัวเอ็นซีโปรแกรม
ในบล็อคลาดับต ้นๆ ของตัวโปรแกรมจะเป็ นการกาหนด
่
เงือนไขต่
างๆ เช่น
1) การเลือกหน่ วยเป็ น มม. หรือนิ ว้
2) การกาหนดให ้การโปรแกรมเป็ นแบบสัมบูรณ์ หรือ แบบ
สัมพัทธ ์
่
3) การกาหนดเงือนไขการกั
ด เช่น ความเร็วสปิ นเดิล และ
่ ลทีต
่ ้องใช ้
เลขทีทู
4) การควบคุมทิศทางการหมุนของสปิ นเดิล และเปิ ด/ปิ ดนา้
หล่อเย็น
่
3) ส่วนท ้ายโปรแกรม ประกอบด ้วย M30 และเครืองหมาย
%
ตัวอย่างที่ 3 ของเอ็นซีโปรแกรมในรูปของเท็กไฟลล ์ (Text File)
่
สาหร ับเครืองกลึ
งซีเอ็นซี ได ้แสดงในตารางแถวซ ้ายของตารางที่ 6
ตารางที่ 6 ตัวอย่างโครงสร ้างของเอ็น
ซีNC
โปรแกรม
โปรแกรม
คาอธิบายตัวโปรแกรม
%
0208475
N1 G90 G71
่ นและสินสุ
้ ดโปรแกรม
สัญลักษณ์เริมต้
(ISO Code)
่
ชือโปรแกรมเป็
นตัวเลข (208475)
ตามหลังอ ักษรโอ (O)
บล็อคที่ 1 คาสัง่ แบบสัมบู รณ์ (G90)
และใช้หน่ วยเป็ น มม. (G71)
ตารางที่ 6 ตัวอย่างโครงสร ้างของเอ็นซี
โปรแกรม (ต่อ)
่
N2 G97
บล็อคที 2 ให้สปิ นเดิลหมุนด้วยความเร็วคงที่
N3 (FACING)
บล็อคที่ 3 ข้อความอธิบายกระบวนการหรือ
หมายเหตุ
บล็อคที่ 4 ให้ความเร็วสปิ นเดิลเป็ น 2000 Rpm
และใช้ทูลเลขที่ 203
N4 S1 = 2000 T0203
N5 M3
ิ า
บล็อคที่ 5 ให้สปิ นเดิลหมุนตามเข็มนาฬก
N6 G0 X0 Z0.1
่ พพิด (Rapid) จากตาแหน่ ง
บล็อคที่ 6 วิงแร็
ปั จจุบน
ั เป็ นเส้นตรงไปตาแหน่ ง X = 0 , Z = 0.1
ตารางที่ 6 ตัวอย่างโครงสร ้างของเอ็นซี
โปรแกรม
(ต่
อ
)
N7 M8
บล็อคที่ 7 เปิ ดน้ าหล่อเย็น (Coolant)
N8 G95
บล็อคที่ 8 กาหนดให้ใช้คา
่ ฟี ดเป็ น mm/rev
G1 X0 Z-0.5 F0.1
แมชชีนเป็ นเส้นตรงไปถึงตาแหน่ ง X = 0 , Z =
- 0.5 ด้วยค่าฟี ด 0.1 mm/rev
X20
แมชชีนเป็ นเส้นตรงต่อไปถึงตาแหน่ ง X = 20 (Z
ยังคงเท่ากับ - 0.5)
Z-25
แมชชีนเป็ นเส้นตรงต่อไปถึงตาแหน่ ง Z = -25 (X
= 20 เหมือนเดิม)
ตารางที่ 6 ตัวอย่างโครงสร ้างของเอ็นซี
โปรแกรม
N22 M09 (ต่อ)
บล็อคที่ 22 ปิ ดน้ าหล่อเย็น (Coolant)
N23 G26
่
่
บล็อคที่ 23 วิงกลั
บไปตาแหน่ งเปลียนทู
ล
N24 (EXTERNAL)
บล็อคที่ 24 ข้อความอธิบายกระบวนการ
G96
กาหนดให้ความเร็วตัดคงที่ (m/min)
V150 T0303
ให้ความเร็วตัดเป็ น 150 m/min และใช้ทูล
เลขที่ 303
่
วิงแรพพิ
ดไปตาแหน่ ง X = 60 , Z = 0 และเปิ ด
น้ าหล่อเย็น (M08)
G0 X60 Z0 M8
ตารางที่ 6 ตัวอย่างโครงสร ้างของ
เอ็G1นซี
โปรแกรม
(ต่อ) แมชชีนเป็ นเส้นตรงไปถึงตาแหน่ ง X = 60, Z
Z-100
F0.2
= -100 ด้วยค่าฟี ด 0.2 mm/rev
X62
แมชชีนเป็ นเส้นตรงต่อไปถึงตาแหน่ ง X = 62
(Z ยังคงเท่ากับ -100)
N27 M9 M5
บล็อคที่ 27 ปิ ดน้ าหล่อเย็น (M09) และ
หยุดสปิ นเดิล (M5)
G26
่
่
่
วิงกลั
บไปตาแหน่ งเปลียนเครื
องมื
อต ด
ั
M30
จบโปรแกรม
่ อค (N) ทุก
1) ไม่จาเป็ นต้องกาหนดเลขทีบล็
่ าอธิบายลาดับที่ 11 ถึง 13 และ
บรรทัด เช่น ทีค
17 ถึง 24ตั(ในตารางแถวขวา)
่ อค
วอย่างที่ 4 การป้ อนเลขทีบล็
เดิม
N6 G0 X0 Z0.1
N7 M8
N8 G95
N9 G1 X0 Z0.1
N10 X20
หรือ
G0 X0 Z0.1
M8
G95
G1 X0 Z0.1
X20
2) โค้ดบางตัวจะเรียกว่าเป็ นโมดเดิล (Modal)
้
โค้ดเหล่านี จะยั
งคงมีผลต่อเนื่ องต่อๆ ไปใน
้
โปรแกรม โดยไม่ตอ
้ งเรียกหรือเขียนซาจนกว่
าจะ
่
่ โค้ดเหล่านี จะระบุ
้
มีการเปลียนแปลงเป็
นอย่างอืน
อยู ่ในคู ม
่ อ
ื การเขียนโปรแกรม ของแต่ละคอลโทรล
้ แก่ S , F , M3 ,
เลอร ์ ตัวอย่างของโค้ดเหล่านี ได้
M4 , M5 , G0 , G 1, G20 , G21 , G90 , G91
ฯลฯ
้
3) ไม่จาเป็ นต้องให้คา
่ X , Y , Z ทังหมด
่
่
สามารถใช้เฉพาะโคออร ์ดิเนททีเปลี
ยนค่
าไปจาก
้
เดิมได้และไม่ตอ
้ งใส่ จีโค้ด (G1) ซาเช่
นใน
่ อค
ต ัวอย่างที่ 4 การป้ อนเลขทีบล็
เดิม
N9 G1 X0 Z-0.5
N10 G1 X20 Z-0.5
หรือ
G1 X0 Z-0.5
X20
N11 G1 X20 Z-25
N12 G1 X28 Z-25
N13 G1 X32 Z40
Z-25
X28
X32 Z40
4) สามารถเขียนคาสัง่ G และ M บล็อคเดียวกันได้
เช่นในคาอธิบายลาดับที่ 19 และ 22 แต่จะมี
จานวนจาก ัด เช่น ในหนึ่ งบล็อคจะได้โค้ดเอ็ม
สู งสุดจานวน 3 ตัว และโค้ดจีจานวน 2 ตัว เป็ นต้น
ตัวอย่างที่ 6 การป้ อนเอ็มโค้ด
เดิม
N5 M3
N10 M8
หรือ
N5 M3 M8
ต ัวอย่างที่ 7 การป้ อนโค้ดต่างๆ
เดิม
หรือ
N10 G97
N20 G0 X0
Z2
N30 F0.1
N40 S1400
N13 T9
N60 M3
N10 G97 G0 X0 Z2 F0.1
N70 M7
S1400 T9 M3 M7
้
่ มโปรแกรม
่
5) โค้ดบางตัวจะถู กกาหนดขึนเองเมื
อเริ
หรือเป็ น ดิฟอลท ์ (Default หรือ Self Start) เช่น
่
G90 , G71 และ G95 สาหร ับเครืองกลึ
ง และ G90 ,
่
้ ถ้าใช้
G71 และ G94 สาหร ับเครืองก
ัด ดังนัน
้ จาเป็ นต้องป้ อนก็
เงื่อนไขตามดิฟอลท ์ โค้ดเหล่านี ไม่
ได้โดยในคู ม
่ อ
ื การโปรแกรม ของแต่และคอลโทรล
้
เลอร ์จะมีระบุโค้ดประเภทนี ไว้
่ นดิฟอลท ์ของเครืองกั
่ ด
ตัวอย่างที่ 8 การป้ อนทีเป็
เดิม
N10 G90
N20 G71
N30 G94
N40 G0 X20 Y10 Z10
N50 G1 X20 Y10 Z-1
F100
หรือ
N10 G0 X20 Y10
Z10
N20 G1 Z-1 F100