วิธีการบำรุงรักษาเครื่องมือแพทย์

Download Report

Transcript วิธีการบำรุงรักษาเครื่องมือแพทย์

วิธีการบารุงรักษาเครื่องมือแพทย์
รายละเอียดของการทาการบารุ งรักษาจะประกอบด้วยการทา 4 อย่างคือ
1. การตรวจตราหรื อตรวจพินิจ วิธีการนี้เพื่อที่จะทราบว่ามีความผิดปกติ
ใดๆ ที่สามาถมองเห็นได้ดว้ ยนัยน์ตา ซึ่งต้องอาศัยการตรวจตราให้
ทัว่ ถึงโดยละเอียด ทั้งภายนอกและภายในเครื่ อง การฟังเสี ยงการ
ทางานของเครื่ องว่าผิดไปจากเดิมหรื อไม่ การได้กลิ่นที่ผดิ ปกติของ
เครื่ อง
2. การทาความสะอาด จะเป็ นการทาความสะอาดหลังจากที่มีการตรวจตรา
แล้ว การทาความสะอาดเครื่ องอาจใช้วิธีการเป่ าหรื อดูดฝุ่ นที่จบั อยู่
ภายในเครื่ อง รวมไปถึงการทาความสะอาดหน้าสัมผัสต่างๆ ของ
สวิตช์ต่างๆ ที่ทาหน้าที่เป็ นสะพานเชื่อมทางไฟฟ้ า
3. การทดสอบหน้าที่
การทดสอบหน้าที่แบ่งได้เป็ น 3 อย่าง
3.1 การทดสอบการทางานของเครื่ อง
3.2 การสอบเทียบค่า
3.3 การตรวจสอบสมรรถภาพของเครื่ อง
4. การตรวจสอบความปลอดภัยทางไฟฟ้ า ส่ วนใหญ่เครื่ องมือแพทย์ต่างๆที่
เป็ นเครื่ องไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ตอ้ งมีการตรวจสอบความ
ปลอดภัยทางไฟฟ้ า แต่ถา้ เป็ นเครื่ องทางรังสี กต็ อ้ งตรวจสอบความ
ปลอดภัยทางรังสี ดว้ ย ความปลอดภัยทางไฟฟ้ าของเครื่ องที่ใช้
ตรวจสอบกันก็เพื่อตรวจวัดความต้านทานของสายดิน และการ
ตรวจวัดกระแสไฟฟ้ ารั่วไหล
วิธีการบารุ งรักษาที่จะยกตัวอย่างก็จะมีเครื่ อง Anesthesia Machine,
Defibrillator, Infant Incubator, Bed side Monitor, และ Ventilator ตาม
มาตรฐาน Emergency Care Research Institute, ECRI ซึ่งจะเห็นว่า
วิธีการบารุ งรักษาของเครื่ องมือแพทย์ จะไม่ได้ระบุวา่ เป็ นของยีห่ อ้ อะไร
รุ่ นไหน แต่จะระบุเป็ นแนวทางกลางๆ ในการให้ทาการบารุ งรักษา ซึ่ง
สามารถปรับเปลี่ยนหรื อพัฒนาวิธีการให้เหมาะสมได้ ไม่มีรายละเอียด
ในวิธีการบารุ งรักษาใดที่ถือได้วา่ เป็ นมาตรฐานตายตัว ในทางตรงกัน
ข้ามรายละเอียดจะสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามสภาพของหน่วยงาน ตาม
สภาพการใช้งานของเครื่ องมือ ตามความรู ้ความสามารถของบุคลากร
ตลอดจนตามความต้องการเฉพาะ
เครื่อง Anesthesia Machine
1. โครงสร้าง/ฝาครอบของเครื่ อง: ตรวจสอบความสะอาดและ
สภาวะทัว่ ๆไปภายนอกเครื่ อง โดยสังเกตว่าโครงหุม้ ห้อไม่มี
การเปลี่ยนแปลง ที่สาคัญคือส่ วนประกอบต่างๆยังคงสภาพ
เดิมและแน่นหนาไม่มีคราบของเหลวรั่วหรื อมีการกระแทก
อย่างรุ นแรง
2. สภาพ Carbon Dioxide Absorber: ตรวจสอบกระบอกบรรจุ
โซดาราม /โอริ ง /ซิลยางต่าง ๆ /ลักษณะสี โซดาราม
3. ป้ ายแสดงรายละเอียดของเครื่ อง: ตรวจสอบป้ ายต่างๆที่อยูใ่ น
เครื่ องว่าชัดเจนดีหรื อไม่
4. ความมัน่ คง/แข็งแรงของที่ติดตั้ง: ให้ตรวจสอบสภาพของการ
ติดตั้ง ตรวจสกรู น้อต สลักตั้งแน่นพอดี
5. ล้อ/ล้อคล้อ: ตรวจดูวา่ เคลื่อนที่ได้สะดวก หรื อล๊อคให้อยูก่ บั ที่ได้
ดี ตรวจลูกล้ออย่าให้มีเศษด้าย ผ้า เทป หรื ออื่นๆ
6. สภาพของสาย AC และปลัก๊ /ที่เก็บสาย: ตรวจดูวา่ ปลัก๊ อยูใ่ น
สภาพดีไม่แตกร้าว/หลุด บางครั้งต้องเขย่าแล้วฟังเสี ยง การ
หลุด/หลวม เต้าเสี ยบไฟฟ้ าต้องตรวจสภาพทุกจุด แล้วลอง
เสี ยบปลัก๊ ดูวา่ การสัมผัสมัน่ คงดี สาย AC จะต้องอยูใ่ นสภาพดี
ที่เก็บสายจะต้องไม่หกั หรื อชารุ ด
7. สภาพของสายไฟที่เชื่อมต่อจุดต่างๆ: ตรวจดูวา่ ไม่มีการเสี ยหาย
ขาด แตก รอยไหม้ หากตาแหน่งที่ชารุ ดอยูท่ ี่ปลายด้านใดด้าน
หนึ่งอาจใช้วธิ ีตดั ส่ วนนั้นทิ้ง แต่หากตาแหน่งที่ชารุ ดอยูก่ ลาง
สายควรเปลี่ยนเส้นใหม่ ทั้งนี้ตอ้ งแน่ใจว่าต่อขั้วไฟฟ้ าถูกต้อง
นอกจากนั้นตรวจสายต่อสาหรับการชาร์จแบตเตอรี่
8. ความยึดหยุน่ ของสายไฟและสายสัญญาณ: ตรวจสอบตัวที่ยดึ
สายที่ปลายสายทั้งสองด้านของสาย และมัน่ ใจว่า ตัวยึดมี
ความแน่นหนาพอ ไม่หลวมหรื อหลุดออกง่าย
9. สะพานไฟ/ฟิ วส์: หากเครื่ องมีสวิทซ์เปิ ด-ปิ ดเครื่ อง ตรวจดูและ
โยกสวิทซ์ดูวา่ ไม่หลวมและไม่ฝืดมาก ตรวจดูฟิวส์ที่ใช้อยูว่ า่
ถูกต้องตามขนาดและชนิดที่ระบุ
10. ท่อยางและท่อลมต่างๆภายในเครื่ อง: ตรวจดูวา่ ไม่มีรอยแตก
ร้าว พับงอ หรื อสกปรก ตรวจช่องทางออกของก๊าซอกกซิ เจน
ต้องโล่ง สะอาด ไม่มีสิ่งแปลกปลอม
11. สายภาพของสายต่างๆ/สายเคเบิล: ตรวจดูสายต่างๆ เช่น
เซนเซอร์ ว่าไม่มีแรงเค้น การยึดมีตวั สวมป้ องกันการหมุน
ของสาย ดูวา่ แน่นหนาดีไม่มีการดึงรั้ง วัดความต่อเนื่องของ
สายนาสัญญาณข้างในโดยใช้เครื่ องโอห์มมิเตอร์
12. ข้อต่อ/จุดต่อ ต่างๆ: ตรวจข้อต่อสายไฟทุกจุดขาเสี ยบ ต้องตรง
สะอาดเป็ นมันวาว
13. แผ่นกรอง: ตรวจดูวา่ ตัวกรองอากาศว่าไม่มีการอุดกั้น หากเห็นว่าสกปรก
มากต้องเปลี่ยนใหม่(อย่าลืมบันทึกด้วย)
14. ปุ่ มควบคุม/สวิทซ์:ก่อนเริ่ มงานควรสังเกตดูค่าต่างๆ บนหน้าปัดว่าอยูใ่ น
สภาพใด ค่าที่ต้ งั อยูถ่ ูกต้องหรื อไม่ เพราะมีความเป็ นไปได้ที่การใช้ที่ไม่
ถูกต้องทาให้การทางานของเครื่ องล้มเหลว บันทึกค่าต่างๆเหล่านั้นก่อน
เริ่ มทางาน ตรวจสอบตั้งค่าต่างๆตามคู่มือของเครื่ อง ต้องตรวจสอบปุ่ ม
ควบคุมสวิทซ์ต่างๆ ด้านสภาพทัว่ ไป ความมัน่ คง การหมุน การสัมผัส
ตรวจค่าการปรับตั้งสัญญาณเตือน มีจุดที่ตรึ งไว้(พิกดั ) การหยุด ตรง
ตาแหน่ง หากเป็ นเมมแบรนสวิทซ์ ( Membrane switch ) ผิวของเมมแบ
รนต้องไม่แตก ร้าว ทะลุ (จากปลายเล็บหรื อปลายปากกา) ตลอดจนการ
ตรวจเช็คต้องแน่ใจว่า แต่ละปุ่ มและสวิทซ์ ทาหน้าที่ได้ถูกต้อง
15. ตัวชี้วดั /จอแสดงผล: ตรวจสอบการทางานของไฟทุกดวง ตัวบ่งชี้ มีเตอร์
เกจ และตัวแสดงผลด้วยแสง ทั้งการทางานของเครื่ องและการชาร์จ
แบตเตอรี่ รวมถึงการแสดงผลที่เป็ นแบบดิจิตอล
16. สภาพ Flow meter : ตรวจสอบ แท่งแก้ว /สเกล /ลูกลอย/ ปุ่ มควบคุม
17. แบตเตอรี่ /ชุดชาร์ทไฟ: ตรวจดูสภาพทัว่ ไปทั้งแบตเตอรี่ และข้อต่อการ
ใช้งานแบตเตอรี่ ( มีหมายเลขกากับ ) ควรระบุได้ถึงอายุการใช้งาน
ตรวจสอบการทางานของเครื่ องขณะใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ หาก
พลังงานเหลือน้อยต้องมีการเตือน ดูการชาร์จ ตรวจสอบ
ความสามารถของแบตเตอรี่ โดยทดสอบหน้าที่การทางาน หาก
จาเป็ นต้องเปลี่ยนลูกใหม่ตอ้ งทาการบันทึก
18. สัญญาณเสี ยง/ภาพเตือน/ตัวล็อคอัตโนมัติ: ตรวจสอบการทาหน้าที่ ให้
สัญญาณเตือนทางาน( จากการปรับตั้งค่าพิกดั การเตือน ) ทั้งระบบ
เสี ยงและแสง ตรวจสอบการปรับตั้งอื่นๆ ที่สมั พันธ์กนั สังเกตการณ์
เตือนเมื่อมีการปลดสายออก หรื อ ตรวจสอบเสี ยงเตือนตามที่ระบุใน
คู่มือ
19. สัญญาณเสี ยงต่างๆ: การทาหน้าที่ ให้สญ
ั ญาณเสี ยงเตือนทางาน
จัดการเรื่ องความดังของเสี ยง และการปรับความดังเสี ยงเตือน
เสี ยงเตือนจะต้องได้ยนิ ชัดเจน
20. Fail-Safe Oxygen Valves :ตรวจสอบโดยการเปิ ด Flow
ประมาณ 0.5 ลิตร แล้วถอดสายออกชิเจนออก ฟังเสี ยง Alarm
ว่ามีหรื อไม่
21. Directional Valves: เป็ นการตรวจสอบ Valves
Inpiratory/Expiratory (สี ฟ้าเป็ นแผ่น) ว่าอยูใ่ นสภาพดีหรื อ
เปล่า
22. Common Outlet Back-Pressure Check Valves :วิธีการ
ตรวจสอบ ให้ต่อ pressure gage (cmH2O)เข้าที่ Commongas
outlet โดยมีที่พกั ลม (อาจใช้ Cuff พันกับท่อ ) แล้วเปิ ด Flow
ให้เกจขึ้นที่ 30 cmH2O เปิ ด Vapor ที่ละเครื่ องประมาณหนึ่ง
เปอร์เซ็นต์ สังเกตที่ pressure Gage ต้องไม่ตก
23. ส่ วนประกอบต่างๆ:ดูที่ ส่ วนประกอบ Vapor /ven / gas tank
การตรวจวัดคุณสมบัตเิ ครื่อง
1. Ground Resistance (< 0.5 Ohms) คือ ให้ใช้เครื่ องมือวัด Safety
Analyzer วัดค่าความต้านทานรวมของสายและฉนวนต้องกไม่
เกิน 0.5 โอห์ม แล้วบันทึกผลค่าที่วดั ได้
2. Chassis Leakage Current (< 300 µA) คือ ให้ใช้เครื่ องมือวัด
Safety Analyzer วัดค่ากระแสรั่วไหลของเครื่ องต้องไม่เกิน
300 ไมโครโวลต์ หรื อตามที่บริ ษทั กาหนด แล้วบันทึกผลค่าที่
วัดได้
หมายเหตุ : ถ้าไม่สามารถวัดได้ให้ทาการขีดละ หรื อบันทึกหมายเหตุ
ของปัญหาที่ทาให้วดั ไม่ได้ลงใน Form ช่องค่าที่วดั ได้ เช่นปลัก๊ ไม่มี
Ground ตัวอาคารไม่มี Ground หรื อถ้าไม่มี Function ให้ทดสอบให้
เขียนว่า N/A (not applicable น็อท แอพ’พลิคะเบิล) ไม่มี, ไม่เกี่ยว, ไม่
เหมาะสม
3. O2 Flush Valve (35-75 lpm; O2 flow meter drop <1 lpm at 2 lpm; return to 2 lpm
< 2 sec) คือเป็ นการทดสอบ O2 Flush Valve ว่ าทางานถูกต้ องหรือไม่ (โดยใช้
เครื่องวัด Flow Meter วัดความเทีย่ งตรงโดยการต่ อเข้ าที่ Common Outlet ) เปิ ด
O2 Flow ไว้ ที่ 2 ลิตร และกด Flush ค้ างโดยดูค่าทีเ่ ครื่องวัดว่ าได้ ที่ 35-75 l/m และทา
การบันทึกค่ า และสั งเกตลูกลอยตกลงมาเกิน 1 ลิตรหรือไม่ ถ้ าเกินสาเหตุอาจเกิด
จาก O2 จ่ ายไม่ พอ Filter สกปรก ทาการปล่อย Flush ลูกลอยต้ องกลับไปที่ 2 ลิตร
ภายในเวลา 2 sec และบันทึกค่ าที่ได้ จาก Flow meter และค่ าเวลา
4. High-Pressure Leaks (negligible pressure drop > 30 sec)
คือปิ ดเครื่ องปิ ด Flow Meter ถอด pipe line ออก เปิ ด
ถังแก็สทั้งหมดดูเข็มวัด เกย์วดั ปริ มาณของถังว่ามีค่า
เท่าไรแล้วปิ ดถังทั้งหมดแล้วจับเวลา 30 วินาทีดูเกย์วดั
อีกทีวา่ เข็มวัดตกหรื อไม่ ถ้าเข็มตกแสดงว่า รั่ว ให้
บันทึกเป็ น Leak ถ้าเข็มไม่ตกแสดงว่าไม่รั่ว ให้บนั ทึก
เป็ น No Leak
5. Intermediate Pressure Leaks (no leakage) คือต่อ ชุด pipe line
ปิ ดเครื่ อง ทดสอบการ leak โดยใช้น้ าสบู่ตามข้อต่อจากหัวปลาย
6. Low-Pressure Leaks (< 30 ml/min at 30 cmH2O)คือปิ ดเครื่ อง
เปิ ดFlow meter ครึ่ งรอบเปิ ด valve vaporizer ที่ 0.1 % ต่อ
Pressure Gauge และลูกบีบเข้าที่ Common Gas out let และ
บีบลูกบีบให้ Pressure Gauge ขึ้นไปที่ 30 cmH2Oโดยวงจรลูก
บีบจะต้องมีที่พกั ลมอาจจะใช้ Cuff พันกับท่อก็ได้แล้วจับเวลา
30 วินาที รอดูวา่ เข็ม Pressure Gauge ตกลงมาที่ ต่ากว่า 25
cmH2Oหรื อไม่ ถ้าต่ากว่า 25 cmH2O ภายในเวลา 30 วินาที
ถือว่า leak แล้วบันทึกค่า
7. Breathing System (>30 cmH2O, 30 sec) ปรับไปที่ 50 cmH2O คือปิ ด
เครื่ องต่อ Pressure Gauge ทางด้านชุด Breathing System แล้วต่อ ชุด
ลูกบีบ เข้าทางด้าน bag สับสวิตซ์ ไปที่ bag ปิ ด APL Valve บีบลูกบีบ
ให้ถึง 50 cmH2O จับเวลา 30 วินาที สังเกตเข็มที่ Pressure Gauge
จะต้องไม่ต่ากว่า 30 cmH2Oแล้วบันทึกค่า
8. Adjustable Pressure Limiting (APL) Valve ( ~ 1 to >30 cmH2O )
setting 10,20,30 cmH20 คือปิ ดเครื่ องต่อชุด Breathing Systemต่อ
Pressure Gauge ต่อ bag เข้าที่ ท่อชุด bag จากนั้น กดFlush ขึ้นไป
ประมาณ 40 cmH2O แล้วหมุน APL valve ให้เข็มตกลงมา 30
cmH2O จากนั้นกดFlushเข็มจะต้องขึ้นไม่เกิน30 cmH2O อ่านค่าที่
Pressure Gauge บันทึกค่า ทาเหมือนกัน ลดลงมาเป็ น 20 , 10 cmH2O
9. Scavenging System(Max Suction -0.5-0 cmH2O;< 10 lpm O2, near
ambient; APL occluded <10 cmH2O) คือต่อ Pressure Gauge ระหว่าง
ทางออกของ APL valve กับสายของ Scavenging Breathing System
ต่อ test lung ปิ ด APL valve ปรับแรงดูดของระบบ Scavenging (ที่
ผนัง) ให้ Max และปรับที่ตวั เครื่ องให้ปรับแรงดูดสูงสุ ดอ่านค่าที่
Pressure Gauge จะต้องอยูร่ ะหว่าง -0.5 -0 cmH2o บันทึกค่า จากนั้น
เปิ ด APL valve สุ ด เปิ ดเครื่ องปรับ O2 flow meter ที่ 10 ลิตร ปรับ
ระบบ Scavenging ที่ตวั เครื่ องให้ต่าสุ ด จากนั้น สังเกตเข็มที่ Pressure
Gauge จะต้องได้ 2 cmH2O ถ้าไม่ได้ให้ปรับ O2 flow meter จนกระ
ทั้ง Pressure Gauge ได้ 2 cmH2O(หรื อตามคู่มือเครื่ อง) บันทึกค่าที่
อ่านได้จาก O2 flow meter จากนั้น อุด APL valve out let กด Flush
Valve เป็ นเวลา 5 วินาที ดูเข็มที่ Pressure Gauge บันทึกค่า จะต้องได้
น้อยกว่าหรื อเท่ากับ 10 cmH2O
10. Flow Meter (+ 10%) คือทดสอบที่ค่า1 ลิตร, 2 ลิตร, 4 ลิตรโดยต่อเครื่ อง
test Flow ที่ Common Gas out let แล้วบันทึกค่า
11. Minimum O2 Flow and Percentage (100-250 ml/min or manufacturer's
specifications) คือ เปิ ดเครื่ องต่อเครื่ อง Test Flow ที่ Common Gas out
let ปิ ด O2 Valve อ่านค่าที่เครื่ อง Test Flow บันทึกค่า
12. PEEP Valve (+ 1.5 cmH2O) test 5, 10 cmH2O คือ ปรับ O2 Flow
Meter 4 ลิตร และ APL valve 30 cmH20 set peep ที่ 0 cmH2O ต่อ
สาย Breathing circuit บีบ test lung อ่านค่าที่ Pressure Gauge จะต้อง
ได้นอ้ ยกว่า 1 cmH2O Set peep 5 cmH2O บีบ test lung อ่านค่าที่
Pressure Gauge จะต้องได้± 1.5 cmH2O ทาเหมือนเดิม Set peep 10
cmH2O บีบ test lung อ่านค่าที่ Pressure Gauge จะต้องได้± 1.5
cmH2O
13. Exhaled volume Monitor (+ 15%, set value; 3 L (3000
ml) +15%, minute volume)คือต่อ Spirometer เข้า
ระหว่าง ทาง Expir ต่อ Test lung เข้า T way ของ
circuit Set Test lung Bag ให้ได้ Volume 500 ml โดย
การเปิ ด O2 Flow meter 500 ml จากนั้นทาการบีบ test
lung จนกระทั้ง แฟบสนิท ก่อนที่บีบครั้งต่อไป รอ
ประมาณ 10 วินาที จากนั้นทาการบีบทั้งหมด 6 ครั้ง
จะต้องอ่านค่าที่ spirometer ได้ 3,000 ml
เครื่อง Defibrillator
1. โครงสร้าง/ฝาครอบของเครื่ อง: ตรวจสอบความสะอาดและสภาวะ
ทัว่ ๆไปภายนอกเครื่ อง โดยสังเกตว่าโครงหุม้ ห้อไม่มีการเปลี่ยนแปลง
ที่สาคัญคือส่ วนประกอบต่างๆยังคงสภาพเดิมและแน่นหนาไม่มีคราบ
ของเหลวรั่วหรื อมีการกระแทกอย่างรุ นแรง
2. ความมัน่ คง/แข็งแรงของที่ติดตั้ง: ให้ตรวจสอบสภาพของการติดตั้ง
ตรวจสกรู น้อต สลักตั้งแน่นพอดีหรื อไม่
3. ล้อ/ล้อคล้อ: ตรวจดูวา่ เคลื่อนที่ได้สะดวก หรื อล๊อคให้อยูก่ บั ที่ได้ดี ตรวจ
ลูกล้ออย่าให้มีเศษด้าย ผ้า เทป หรื ออื่นๆ
4. สภาพของสาย AC และปลัก๊ /ที่เก็บสาย: ตรวจดูวา่ ปลัก๊ อยูใ่ นสภาพดีไม่
แตกร้าว/หลุด บางครั้งต้องเขย่าแล้วฟังเสี ยง การหลุด/หลวม เต้าเสี ยบ
ไฟฟ้ าต้องตรวจสภาพทุกจุด แล้วสองเสี ยบปลัก๊ ดูวา่ การสัมผัสมัน่ คงดี
สาย AC จะต้องอยูใ่ นสภาพดี ที่เก็บสายจะต้องไม่หกั หรื อชารุ ด
5. ฐานรองอุปกรณ์เสริ มต่างๆ (ถ้ามี) : ตรวจสอบความมัน่ คงของฐานรอง
อุปกรณ์
6. สภาพของสายไฟที่เชื่อมต่อจุดต่างๆ: ตรวจดูวา่ ไม่มีการเสี ยหาย ขาด แตก
รอยไหม้ หากตาแหน่งที่ชารุ ดอยูท่ ี่ปลายด้านใดด้านหนึ่งอาจใช้วิธีตดั
ส่ วนนั้นทิ้ง แต่หากตาแหน่งที่ชารุ ดอยูก่ ลางสายควรเปลี่ยนเส้นใหม่
ทั้งนี้ตอ้ งแน่ใจว่าต่อขั้วไฟฟ้ าถูกต้อง นอกจากนั้นตรวจสายต่อสาหรับ
การชาร์จแบตเตอรี่
7. ความยึดหยุน่ ของสายไฟและสายสัญญาณ: ตรวจสอบตัวที่ยดึ สายที่ปลาย
สายทั้งสองด้านของสาย และมัน่ ใจว่า ตัวยึดมีความแน่นหนาพอ ไม่
หลวมหรื อหลุดออกง่าย
8. สายภาพของสายต่างๆ/สายเคเบิล: ตรวจดูสายต่างๆ เช่น เซนเซอร์ ว่าไม่
มีแรงเค้น การยึดมีตวั สวมป้ องกันการหมุนของสาย ดูวา่ แน่นหนาดีไม่
มีการดึงรั้ง วัดความต่อเนื่องของสายนาสัญญาณข้างในโดยใช้เครื่ อง
โอห์มมิเตอร์
9. ข้อต่อ/จุดต่อ ต่างๆ: ตรวจข้อต่อสายไฟทุกจุดขาเสี ยบ ต้องตรง สะอาด
เป็ นมันวาว
10. แพตเดิ้ล/อิเล็คโทรด: ตรวจสอบว่าแพตเดิ้ล/อิเล็คโทรด /จุดต่อต่างๆ /ทา
ความสะอาด
11. ปุ่ มควบคุม/สวิทซ์:ก่อนเริ่ มงานควรสังเกตดูค่าต่างๆ บนหน้าปัดว่าอยูใ่ น
สภาพใด ค่าที่ต้ งั อยูถ่ ูกต้องหรื อไม่ เพราะมีความเป็ นไปได้ที่การใช้ที่ไม่
ถูกต้องทาให้การทางานของเครื่ องล้มเหลว บันทึกค่าต่างๆเหล่านั้นก่อน
เริ่ มทางาน ตรวจสอบตั้งค่าต่างๆตามคู่มือของเครื่ อง ต้องตรวจสอบปุ่ ม
ควบคุมสวิทซ์ต่างๆ ด้านสภาพทัว่ ไป ความมัน่ คง การหมุน การสัมผัส
ตรวจค่าการปรับตั้งสัญญาณเตือน มีจุดที่ตรึ งไว้(พิกดั ) การหยุด ตรง
ตาแหน่ง หากเป็ นเมมแบรนสวิทซ์ ( Membrane switch ) ผิวของเมมแบ
รนต้องไม่แตก ร้าว ทะลุ (จากปลายเล็บหรื อปลายปากกา) ตลอดจนการ
ตรวจเช็คต้องแน่ใจว่า แต่ละปุ่ มและสวิทซ์ ทาหน้าที่ได้ถูกต้อง
12. แบตเตอรี่ /ชุดชาร์ทไฟ: ตรวจดูสภาพทัว่ ไปทั้งแบตเตอรี่ และข้อต่อการ
ใช้งานแบตเตอรี่ ( มีหมายเลขกากับ ) ควรระบุได้ถึงอายุการใช้งาน
ตรวจสอบการทางานของเครื่ องขณะใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ หาก
พลังงานเหลือน้อยต้องมีการเตือน ดูการชาร์จ ตรวจสอบ
ความสามารถของแบตเตอรี่ โดยทดสอบหน้าที่การทางาน หาก
จาเป็ นต้องเปลี่ยนลูกใหม่ตอ้ งทาการบันทึก
13. ตัวชี้วดั /จอแสดงผล: ตรวจสอบการทางานของไฟทุกดวง ตัวบ่งชี้ ตัว
แสดงผลด้วยแสง ทั้งการทางานของเครื่ องและการชาร์จแบตเตอรี่
รวมถึงการแสดงผลที่เป็ นแบบดิจิตอล
14. การตอบสนองสัญญาณ 1 mV : ถ้าเครื่ องที่มีปุ่มทดสอบ 1 mV ให้ทา
การทดสอบ จะได้รูปเวฟพอร์มที่เป็ น Square Wave ที่ สามช่อง
(กระดาษ Print) หรื อดูจากรู ปกราฟลูกแรก ที่เป็ นรู ป Square Wave
15. พลังงานที่สะสมไว้เมื่อปล่อยภายในเครื่ อง : ดูการคายประจุ
หลังจากทาการชาร์ตทิ้งไว้ภายในช่วงเวลาที่บริ ษทั ผูผ้ ลิต
กาหนด เพื่อเป็ นการป้ องกันไม่ให้เกิดอันตรายจากผูใ้ ช้หรื อ
ผูป้ ่ วยที่ไม่ทราบว่ามีการเก็บประจุอยู่
16. Mode Synchronizer : ทาการตรวจสอบการช๊อคเมื่อต่อสัญญาณ
EKG simulator เมื่อถึงยอดของสัญญาว่าสามารถทาการ
Shock ได้หรื อไม่ เมื่อกดปุ่ ม Sync
17. การบันทึกค่าสัญญาณต่างๆ :ดูการบันทึกว่าผลที่ได้มีความ
สมบูรณ์หรื อไม่ การ Feed เป็ นอย่างไร Paper speed ทางาน
สมบูรณ์หรื อไม่ จาก Printer Test Mode
18. สัญญาณเสี ยง/ภาพเตือน: ตรวจสอบการทาหน้าที่ ให้สญ
ั ญาณ
เตือนทางาน( จากการปรับตั้งค่าพิกดั การเตือน ) ทั้งระบบเสี ยง
และแสง ตรวจสอบการปรับตั้งอื่นๆ หรื อ ตรวจสอบเสี ยง
เตือนตามที่ระบุในคู่มือ
19. ป้ ายแสดงรายละเอียดของเครื่ อง: ตรวจสอบป้ ายต่างๆที่อยูใ่ น
เครื่ องว่าชัดเจนดีหรื อไม่
20. ส่ วนประกอบต่างๆ ( gel,pads, or electrodes)
การตรวจวัดคุณสมบัตเิ ครื่อง
1. Ground Resistance (<0.5Ω) คือให้ใช้เครื่ องมือวัด Safety Analyzer วัด
ค่าแล้วบันทึกผลค่าที่วดั ได้
2. Chassis Leakage Current (<300 µA) คือให้ใช้เครื่ องมือวัด Safety
Analyzer วัดค่าแล้วบันทึกผลค่าที่วดั ได้
หมายเหตุ : ถ้าไม่สามารถวัดได้ให้ทาการขีดละ หรื อบันทึกหมายเหตุของ
ปัญหาที่ทาให้วดั ไม่ได้ลงใน Form ช่องค่าที่วดั ได้ เช่นปลัก๊ ไม่มี
Ground, ตัวอาคารไม่มี Groundหรื อถ้าไม่มี Function ให้ทดสอบให้
เขียนว่า N/A (not applicable น็อท แอพ’พลิคะเบิล) ไม่มี, ไม่เกี่ยว, ไม่
เหมาะสม
3. Peddle Continuity (<0.15โอห์ม) คือเป็ นการวัดค่าความต้านทานเพื่อหา
ความสามารถในการนาไฟฟ้ าของตัว Paddle โดยการวัดจากตัวแผ่น
Paddle จนถึงตัว Connect โดยการใช้ Multimeter เป็ นตัววัดค่าความ
ต้านทางโดยตั้ง Range 1 Ω และดูวา่ ค่าที่ได้ต่ากว่า ≤ 0.15 Ω ก่อน
การวัดต้องทาความสะอาด Paddle และทาการเช็ดให้แห้งก่อน การ
บันทึกค่า เช่น 0.05 Ω เป็ นต้น
4. Rate Caribration (±5% or 5 bpm at 60 and 120 bpm ) คือทาการ Test
โดยการใช้เครื่ องวัด Simulator ต่อเข้ากับเครื่ องวัด Defibrillator แล้ว
ปรับ Rate ของ Simulator ไปที่ 60 และ 120 bpm โดยดูวา่ ค่าที่ได้
ออกมาทาง Monitor มีค่าอยูร่ ะหว่าง ± 5 % หรื อไม่แล้วถ้าอยูใ่ นค่าที่
กาหนดให้ดูค่าที่เครื่ องอ่านได้ ทาการบันทึกค่าที่ได้ตามเครื่ องที่
ทดสอบลงบนช่องค่าที่วดั ได้ เช่น 65,120 bmp
5. Rate Alarm (±5% or 5 bpm at 40 and 120 bpm ) คือทาการ Test
โดยการใช้เครื่ องวัด Simulator ต่อเข้ากับเครื่ องวัด Defibrillator
แล้วปรับ Rate Low Alarm ที่ 40 bpm High Alarm ที่ 120 bpm
ปรับRate Simulator ไปที่ 60 และลดค่าลงมาที่ต่าสุ ดของเครื่ อง
Simulater และดูวา่ มีการ Alarm ที่ Low Alarm หรื อไม่ ปรับRate
Simulator ไปที่ 120 และเพิม่ ค่าลงมาที่สุงสู ดของเครื่ อง Simulater
และดูวา่ มีการ Alarm ที่ High Alarm หรื อไม่ แล้วบันทึกผลค่าที่
วัดได้ เช่น 35,124 bmp
6. หมายเหตุ: หรื อค่า Alarm ตามที่บริ ษทั ผูผ้ ลิตกาหนดโดยบันทึกใน
ช่องกาหนดค่าใน Form
7. Internal Paddle Energy Limit (<50 J) คือต่อ Internal Paddle เข้ากับ
เครื่ อง Defibrillator และ ปรับไปที่ค่าสูงสุ ด (ไม่เกิน 50 J) โดยวาง
Paddle ไว้ที่เครื่ องวิเคราะห์ (Def Analyzer)และทาการทดสอบค่าจุล (
J ) ที่ได้วา่ ต้องไม่เกิน 50 J หรื อตามที่บริ ษทั กาหนด การบันทึกค่าใน
Form เช่น 45 J
หมายเหตุ : ถ้าไม่มีตวั Paddle ดังกล่าวให้ทาการขีดเส้นละ
8. Output Energy ( ± 4J or ±15%, max ≥ 250 J )คือ ให้ทาการวัดค่า J สาม
ค่าคือ ค่าต่าสุ ด Minimum /ค่ากลาง Intermedia และ ค่าสูงสุ ด
Maximum เช่น ถ้าค่าต่าสุ ดต่ากว่า 25 J ให้ใช้ ±4 J ถ้าค่าที่มากกว่า 25
J ให้ใช้ค่าผิดพลาดที่ ±15 % ถ้าค่าสูงสุ ดไม่ถึง 250 J ให้ลงค่าให้ใหม่
9. Energy after 60 sec (≥85% or manufacturer specifications) คือให้ทา
การ Test โดยปรับพลังงานไปที่ Max J หรื อตามคู่มือเครื่ องว่าจะให้
Set เท่าไรแล้วทาการ charge พลังงานแล้วจับเวลาให้ได้ 1 นาทีหรื อ
60 sec (หรื อตามที่ผผู ้ ลิตกาหนด) แล้วทาการ Discharge พลังงานผ่าน
เครื่ อง Def Analyzer และทาการบันทึกค่าที่วดั ได้
10. Charge Time and Max Energy ( 10th Charge ) ( ≤ 15 sec,output ± 4 J
or ± 15% ) คือ ให้ใช้ Battery เท่านั้นในการมดสอบ และก่อนทาการ
ทดสอบให้ Charge Battery ให้เต็มก่อน การทดสอบโดยปรับพลังงาน
ไปที่ค่า Max แล้วทาการ Chargeและ discharge 10 ครั้ง จับเวลาใน
การ Charge ประจุให้เต็มว่าใช้เวลาไปเท่าไรทุกครั้ง ไม่ควรเกิน 15 sec
ถ้าครั้งไหนเกิน 15 sec ให้ถือว่าครั้งนั้นเป็ นการทดสอบครั้งสุ ดท้าย
บันทึกผลระยะเวลาในการ Charge ,พลังงานและจานวนครั้ง ที่วดั ได้
(ถ้าไม่ถึง 10 ครั้งไม่ให้ผา่ น)
11. Paper Speed (±2% at 25 and 50 mm/Sec)คือ ตั้ง Sim ที่ 60 bpm ตั้ง
ความเร็ วที่ 25 mm/sec และช่วงสัญญาณเป็ น 1000 msec(60 bpm จาก
เครื่ อง sim) ระยะห่างระหว่างกราฟลูกที่ 1 ถึง 5 ควรมี 100 ช่องเล็ก
±2mm ความเร็ วที่ 50 mm/sec ระยะห่างระหว่างกราฟลูกที่ 1 ถึง 5
ควรมี 200 ช่องเล็ก ±4mm
หมายเหตุ ถ้าไม่มี Function ให้ทดสอบ ให้ลงค่าที่วดั ได้วา่ N/A
12. หมายเหตุ :จาก Rate Alarm (+ 5% หรื อ 5 bpm ที่ 40 และ 120 bpm)
หมายถึง ถ้าค่าผิดพลาดที่เกิดขึ้นมีค่าที่ต่ากว่า 5 % ให้ยดึ ถือค่าที่มี
ผลกระทบมากที่สุดเป็ นหลักเพื่อมาบันทึกผล เช่น ที่ 40 bpm ค่า
ผิดพลาด 5 % = 2 ถือว่าเป็ นค่าน้อยให้ยดึ ถือเอาค่าที่สูงกว่าคือ 5 bpm
มาบันทึกค่าผิดพลาดแทน เป็ นค่าที่ยอมรับได้ คือ 35 ถึง 45 เป็ นต้น
เครื่อง Infant Incubator
โครงสร้าง/ฝาครอบของเครื่ อง: ตรวจดูภายนอกทัว่ ๆไป ตรวจหน่วยควบคุม
ต้องสะอาดฉลากตัวหนังสื อต้องชัดเจน ไม่มีเทปหรื อพลาสเตอร์ปิด
อยู(่ เอาออก)ตรวจพวกยางหรื อขอบพลาสติคไม่มีรอยแตก ส่ วนที่เป็ น
ห้องเด็ก (hood) มีความสาคัญต่อการจัดสิ่ งแวดล้อม ต้องไม่มีรอย
แตกร้าว การบิดเบี้ยวของฝาครอบ พลาสติกที่เป็ นวัสดุตอ้ งไม่ลดทอน
แสงสว่างลง หรื อเปลี่ยนสี ของแสงไฟฟ้ าจะทาให้สงั เกตสี ผวิ หนัง
ทารกผิดไป สังเกตว่ามีส่วนใดขาดหาย หรื อติดตั้งผิดที่ ในห้องนี้ควร
จะยกอุปกรณ์ออกให้หมดก่อนเพื่อดูสภาพภายในโดยทัว่ ไป(ดูคู่มือ
ประกอบไปด้วย) ดูการติดตั้งอุปกรณ์ กาจัดสิ่ งแปลกปลอม มีอะไร
ขาดหายไปบ้าง ดูระบบทางเดินอากาศและความชื้น ว่ามีการอุดกั้น
หรื อปนเปื้ อนบ้างหรื อไม่ ตลอดจนตาแหน่งการวางถังเก็บหรื อถาด
ความชื้น
2. ความมัน่ คง/แข็งแรงของที่ติดตั้ง : ให้ตรวจสอบสภาพของการติดตั้ง
ตรวจสกรู น้อต สลักตั้งแน่นพอดีหรื อไม่ ช่องหน้าต่างต้องเปิ ดได้
คล่องและปิ ดได้สนิทเพื่อรักษาอุณหภูมิ
3. ล้อ/ล้อคล้อ: ตรวจดูวา่ เคลื่อนที่ได้สะดวก หรื อล๊อคให้อยูก่ บั ที่ได้ดี ตรวจ
ลูกล้ออย่าให้มีเศษด้าย ผ้า เทป หรื ออื่นๆ
4. สภาพของสาย AC และปลัก๊ /ที่เก็บสาย: ตรวจดูวา่ ปลัก๊ อยูใ่ นสภาพดีไม่
แตกร้าว/หลุด บางครั้งต้องเขย่าแล้วฟังเสี ยง การหลุด/หลวม เต้าเสี ยบ
ไฟฟ้ าต้องตรวจสภาพทุกจุด แล้วสองเสี ยบปลัก๊ ดูวา่ การสัมผัสมัน่ คงดี
สาย AC จะต้องอยูใ่ นสภาพดี ที่เก็บสายจะต้องไม่หกั หรื อชารุ ด
5. สภาพของสายไฟที่เชื่อมต่อจุดต่างๆ: ตรวจดูวา่ ไม่มีการเสี ยหาย ขาด แตก
รอยไหม้ หากตาแหน่งที่ชารุ ดอยูท่ ี่ปลายด้านใดด้านหนึ่งอาจใช้วิธีตดั
ส่ วนนั้นทิ้ง แต่หากตาแหน่งที่ชารุ ดอยูก่ ลางสายควรเปลี่ยนเส้นใหม่
ทั้งนี้ตอ้ งแน่ใจว่าต่อขั้วไฟฟ้ าถูกต้อง นอกจากนั้นตรวจสายต่อสาหรับ
การชาร์จแบตเตอรี่
6. ความยึดหยุน่ ของสายไฟและสายสัญญาณ: ตรวจสอบตัวที่ยดึ สายที่ปลาย
สายทั้งสองด้านของสาย และมัน่ ใจว่า ตัวยึดมีความแน่นหนาพอ ไม่
หลวมหรื อหลุดออกง่าย
7. สะพานไฟ/ฟิ วส์: หากเครื่ องมีสวิทซ์เปิ ด-ปิ ดเครื่ อง ตรวจดูและโยกสวิทซ์
ดูวา่ ไม่หลวมและไม่ฝืดมาก ตรวจดูฟิวส์ที่ใช้อยูว่ า่ ถูกต้องตามขนาด
และชนิดที่ระบุ
8. ท่อยางและท่อลมต่างๆภายในเครื่ อง: ตรวจดูวา่ ไม่มีรอยแตก ร้าว พับงอ
หรื อสกปรก ตรวจช่องทางออกของก๊าซออกซิเจนต้องโล่ง สะอาด ไม่
มีสิ่งแปลกปลอม
9. สายภาพของสายต่างๆ/สายเคเบิล: ตรวจดูสายต่างๆ เช่น เซนเซอร์ ว่าไม่
มีแรงเค้น การยึดมีตวั สวมป้ องกันการหมุนของสาย ดูวา่ แน่นหนาดีไม่
มีการดึงรั้ง วัดความต่อเนื่องของสายนาสัญญาณข้างในโดยใช้เครื่ อง
โอห์มมิเตอร์
10. ข้อต่อ/จุดต่อ ต่างๆ: ตรวจข้อต่อสายไฟทุกจุดขาเสี ยบ ต้องตรง สะอาด
เป็ นมันวาว
11. โพรบตรวจจับอุณหถูมิ: ตรวจดูให้แน่ใจว่าโพรบสะอาด ไม่มีการ
แตกร้าวหรื อเสื่ อมสภาพ หากมีเครื่ องตูอ้ บเด็กมีรุ่นหรื อผลิตจาก
บริ ษทั ต่างกัน ที่โพรบต้องมีการเขียนระบุวา่ ใช้กบั เครื่ องใด
12. แผ่นกรองอากาศ : ตรวจดูวา่ ตัวกรองอากาศว่าไม่มีการอุดกั้น หากเห็นว่า
สกปรกมากต้องเปลี่ยนใหม่( อย่าลืมบันทึกด้วย ) ดูวา่ การติดตั้งและ
ลักษณะการติดตั้งถูกต้อง ตัวกรองควรได้รับการเปลี่ยนตามรอบที่
บริ ษทั ผูผ้ ลิตแนะนา
13. ปุ่ มควบคุม/สวิทซ์:ก่อนเริ่ มงานควรสังเกตดูค่าต่างๆ บนหน้าปัดว่าอยูใ่ น
สภาพใด ค่าที่ต้ งั อยูถ่ ูกต้องหรื อไม่ เพราะมีความเป็ นไปได้ที่การใช้ที่ไม่
ถูกต้องทาให้การทางานของเครื่ องล้มเหลว บันทึกค่าต่างๆเหล่านั้นก่อน
เริ่ มทางาน ตรวจสอบตั้งค่าต่างๆตามคู่มือของเครื่ อง ต้องตรวจสอบปุ่ ม
ควบคุมสวิทซ์ต่างๆ ด้านสภาพทัว่ ไป ความมัน่ คง การหมุน การสัมผัส
ตรวจค่าการปรับตั้งสัญญาณเตือน มีจุดที่ตรึ งไว้(พิกดั ) การหยุด ตรง
ตาแหน่ง หากเป็ นเมมแบรนสวิทซ์ ( Membrane switch ) ผิวของเมมแบรน
ต้องไม่แตก ร้าว ทะลุ (จากปลายเล็บหรื อปลายปากกา) ตลอดจนการ
ตรวจเช็คต้องแน่ใจว่า แต่ละปุ่ มและสวิทซ์ ทาหน้าที่ได้ถูกต้อง
14. ตัวทาความร้อน : ตรวจดูสีของ ฮีทเตอร์ซ่ ึงอาจเปลี่ยนเป็ นสี คล้ าลงได้
แต่ไม่ได้ด่างเฉพาะจุด เพราะอาจเนื่องจากมีฝนผงอื
ุ่
่น ติดที่ผวิ ซึ่งอาจ
มีไอหรื อไฟจากการเผาไหม้ได้ ปรับการใช้งานของฮีทเตอร์วา่ เปิ ด/ปิ ด
ได้ตามค่าที่ต้ งั
15. มอเตอร์/พัดลม : ตรวจดูใบพัดว่ามีครบทุกใบ สภาพดี ไม่แตก หัก บิ่น
งอ ไม่มีดา้ ยไปพัน ก่อนทาการหล่อลื่นด้วยสารไดๆให้เช็คกับคู่มือ
ของเครื่ องก่อน หากทาการหล่อลื่นต้องบันทึกด้วย ตรวจระดับความ
ดังของเสี ยงในห้องใช้งาน ส่ วนใหญ่ตน้ ตอของเสี ยงมาจากการทางาน
ของใบพัด/การติดตั้งไม่มนั่ คง ปิ ดเครื่ องก่อนแล้วใช้มือหมุนพัดลมดู
ต้องแน่ใจว่าหมุนราบรื่ นดี
16. ตัวบอกระดับน้ า : ตรวจดูระดับน้ าในถังเก็บเพื่อให้ความชื้น
17. แบตเตอรี่ /ชุดชาร์ทไฟ: ตรวจดูสภาพทัว่ ไปทั้งแบตเตอรี่ และข้อต่อการ
ใช้งานแบตเตอรี่ ( มีหมายเลขกากับ ) ควรระบุได้ถึงอายุการใช้งาน
ตรวจสอบการทางานของเครื่ องขณะใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ หาก
พลังงานเหลือน้อยต้องมีการเตือน ดูการชาร์จ ตรวจสอบ
ความสามารถของแบตเตอรี่ โดยทดสอบหน้าที่การทางาน หาก
จาเป็ นต้องเปลี่ยนลูกใหม่ตอ้ งทาการบันทึก
18. ตัวชี้วดั /จอแสดงผล: ตรวจสอบการทางานของไฟทุกดวง ตัวบ่งชี้ ตัว
แสดงผลด้วยแสง ทั้งการทางานของเครื่ องและการชาร์จแบตเตอรี่
รวมถึงการแสดงผลที่เป็ นแบบดิจิตอล
19. การตรวจสอบระบบเครื่ องก่อนการใช้งาน : เป็ นการตรวจการทางาน
การปรับตั้งเครื่ องโดยผูใ้ ช้( Self Test ) หรื อเมื่อกดปุ่ มทดสอบเครื่ อง
ด้วยตัวเครื่ องเอง
20. สัญญาณเสี ยง/ภาพเตือน: ตรวจสอบการทาหน้าที่ ให้สัญญาณเตือน
ทางาน( จากการปรับตั้งค่าพิกดั การเตือน ) ทั้งระบบเสี ยงและแสง
ตรวจสอบการปรับตั้งอื่นๆที่สมั พันธ์กนั สังเกตการณ์เตือนเมื่อมีการ
ปลดสายโพรบออก การปิ ด-เปิ ดวงจรโพรบวัดอุณหภูมิของผูป้ ่ วย การ
เสี ยบหรื อไม่เสี ยบโพรบ หรื อ ตรวจสอบเสี ยงเตือนตามที่ระบุในคู่มือ
21. สัญญาณเสี ยงต่างๆ: การทาหน้าที่ ให้สัญญาณเสี ยงเตือนทางาน จัดการ
เรื่ องความดังของเสี ยง และการปรับความดังเสี ยงเตือน เสี ยงเตือน
จะต้องได้ยนิ ชัดเจน
22. เทอร์โมมิเตอร์ : ทาการทดสอบเทอร์โมมิเตอร์ที่เป็ นแท่งแก้วบรรจุดว้ ย
ปรอท เพราะอาจมีการแตกร้าวที่มองไม่เห็น โดยปลดออกมาทดสอบ
วัดในน้ าอุ่น/เย็น ระวังอย่าใช้น้ าร้อนเกินสเกลที่จะวัดได้หรื ออุณหภูมิ
เปลี่ยนเร็ วเกินไป หากทางานบกพร่ องต้องเปลี่ยน
23. เบาะ/ที่นอนทารก : หากที่นอนสามารถปรับท่าได้ ให้ทดสอบการปรับ
ท่าและการล็อคให้อยูก่ บั ที่เบาะที่นอนต้องสะอาด หากตูอ้ บเด็กถูก
นามาใช้ในบริ เวณที่ง่ายต่อการติดไฟไหม้จากก๊าซยาสลบ ต้องแน่ใจ
ว่าวัสดุของเบาะต้องไม่สามารถนากระแสได้
24. ป้ ายแสดงรายละเอียดของเครื่ อง: ตัวหนังสื อที่เขียนต้องชัดเจนและ
ระบุความเฉพาะของการทาหน้าที่ของการควบคุมต่างๆสวิทซ์ ตัว
ต่อเชื่อม เนื่องด้วยการใช้ตอู ้ บเด็กมักมีการให้ออกซิเจนเพิ่ม ดังนั้นจึง
อันตรายหากมีการติดไฟขึ้น หรื อแม้แต่ทาให้เด็กตาบอดได้จากการให้
ออกซิเจนที่มีความเข้มข้นสูง จึงควรมีการเขียนเตือนให้ระวังเรื่ องการ
ให้เด็กสัมผัสกับออกซิเจนที่มีความเข้มข้นสูง
การตรวจวัดคุณสมบัตเิ ครื่อง
1. Ground Resistance (<0.5Ω) คือให้ใช้เครื่ องมือวัด Safety Analyzer วัด
ค่าแล้วบันทึกผลค่าที่วดั ได้
2. Chassis Leakage Current (<300 µA) คือให้ใช้เครื่ องมือวัด Safety
Analyzer วัดค่าแล้วบันทึกผลค่าที่วดั ได้
หมายเหตุ : ถ้าไม่สามารถวัดได้ให้ทาการขีดละ หรื อบันทึกหมายเหตุของ
ปัญหาที่ทาให้วดั ไม่ได้ลงใน Form ช่องค่าที่วดั ได้ เช่นปลัก๊ ไม่มี
Ground, ตัวอาคารไม่มี Ground
3. Temperature Control (±1º C) คือเป็ นการตรวจสอบการทางานของตัวทา
อุณหภูมิ
1.ทดสอบแบบ Manual Mode โดยการนาเทอร์โมมิเตอร์ที่สอบเทียบมา
แขวนตรงกึ่งกลางห้องใช้งานเหนือเบาะ 10 ซม.(4 นิ้ว) ปิ ดช่องเปิ ดทุก
ช่อง ปรับอุณหภูมิให้อยูช่ ่วงกลางๆ(ของการใช้งาน) รอให้อุณหภูมิ
สมดุล อ่านค่าอุณหภูมิที่เทอร์โมมิเตอร์ของเครื่ องแสดง และที่วดั ได้
จากเทอร์โมมิเตอร์ทีแขวนอยู่ ต่อมาปรับอุณหภูมิให้เพิ่ม/ลดลง สังเกต
การทางานของฮิตเตอร์จะเปิ ด/ปิ ด ตามลาดับ
4. ทดสอบแบบ Automatic Mode เริ่ มโดยการทดสอบความแม่นยาของโป
รบอุณหภูมิผปู ้ ่ วยที่เป็ นตัวบ่งชี้ นาโปรบและเทอร์โมมิเตอร์ที่สอบ
เทียบมาแช่ในน้ าที่มีอุณหภูมิ 35º C สังเกตค่าที่วดั ได้จากโปรบและ
จากเทอร์โมมิเตอร์ที่สอบเทียบ ค่าไม่ควรต่างกันเกิน 0.3 º C บันทึก
ค่าที่วดั ได้
5. Skin Temperature Alarm (±0.3º C) คือ ปรับอุณหภูมิของผิวหนังที่จุดที่ต้ งั
(Set point) ไปที่ 36 º C วางเซนเซอร์ไว้ในห้องใช้งาน (hoot) เมื่อมี
อุณหภูมิคงที่แล้ว ให้ยา้ ยเซนเซอร์ออกมาจากห้องใช้งาน การเตือนด้านต่า
ต้องทางาน ส่ วนการเตือนด้านสู งทาได้โดยแซ่เซนเซอร์ในแก้วน้ าที่มี
อุณหภูมิ 36 º C แล้วค่อยๆเพิ่มความร้อน สังเกตดูวา่ เมื่อค่าที่วดั ได้ถึงค่าที่
ปรับตั้งการเตือนด้านสู งไว้เครื่ องต้องเตือน แล้วบันทึกค่าที่วดั ได้
6. Safety Thermostat (≤40 º C) Setอุณหภูมิไว้ที่ 37.0 องศา ทาการเพิ่มอุณหภูมิ
โดยใช้ เครื่ องทาอุณหภูมิ และรอให้มีการ Alarm ด้านสู งปิ ดเครื่ องทา
อุณหภูมิเพื่อให้อุณหภูมิคงที่ สังเกตว่าอุณหภูมิภายใน Hood ยังสู งขึ้น
หรื อไม่ ถ้าอุณหภูมิยงั คงที่แสดงว่าตัว Primary Thermostat ทางานได้อยู่
จากนั้นเพิ่มอุณหภูมิภายในตูใ้ ห้สูงขึ้น โดยใช้เครื่ องทาอุณหภูมิ จนกระทัง่
มีการแสดง Alarm High Temp ( Safety Thermostat ) ทาการบันทึกค่า
อุณหภูมิที่ได้จาก Display ของเครื่ องตอนที่ Thermostat ทางาน
7. Air Temperature Alarm (≤39 º C or manufacturer specifications) คือ
ปรับอุณหภูมิของอากาศที่จุดที่ต้ งั (Set point) ไปที่ 36 º C รอจน
อุณหภูมิในห้องคงที่ การเตือนด้านต่าต้องทางานเมื่อเปิ ดประตูหอ้ งใช้
งาน ส่ วนการเตือนด้านสูงทางานได้โดย เพิ่มอุณหภูมิในห้องขึ้นด้วย
เครื่ องทาอุณหภูมิ สังเกตการเตือนจะต้องเตือนก่อนอุณหภูมิหอ้ งใช้
งานถึง 39 º C แล้วบันทึกผลค่าที่วดั ได้
8. Hood Air Temperature (±1º C) คือ ดูค่าอุณหภูมิของเทอร์โมมิเตอร์ที่
แขวนกึ่งกลางห้องใช้งานและแท่งเทอร์โมมิเตอร์ของเครื่ อง ควร
ต่างกันไม่เกิน 1 º C จากค่าที่ต้ งั ควบคุมไว้ แล้วบันทึกผลค่าที่วดั ได้
9. Patient Probe (+ 0.3OC) คือทดสอบค่ากับอุณหภูมิน้ าและห้อง
ใช้งาน ยอมให้ผดิ พลาดได้ไม่เกิน0.3 ºCแล้วบันทึกผลค่าที่วดั
ได้
10. Portable power Supply (transport incubators only) ( ≤10%
voltage decrease ) ให้ตรวจสอบพลังงาน Battery ว่าจะต้องลด
น้อยลงไม่ต่าว่า 10% โดยทาการเปิ ดเครื่ องทาการวัดในครั้ง
แรกและรออีก 15 นาที ให้ทาการวัดอีกครั้ง เปรี ยบเทียบกับ
การวัดครั้งแรกว่า Battery ลดลง จะต้องน้อยกว่า 10 % แล้ว
บันทึกผลการวัด
เครื่อง Bed side Monitor
1. โครงสร้าง/ฝาครอบของเครื่ อง: ตรวจสอบความสะอาดและสภาวะ
ทัว่ ๆไปภายนอกเครื่ อง โดยสังเกตว่าโครงหุม้ ห้อไม่มีการเปลี่ยนแปลง
ที่สาคัญคือส่ วนประกอบต่างๆยังคงสภาพเดิมและแน่นหนาไม่มีคราบ
ของเหลวรั่วหรื อมีการกระแทกอย่างรุ นแรง
2. ความมัน่ คง/แข็งแรงของที่ติดตั้ง: ให้ตรวจสอบสภาพของการติดตั้ง
ตรวจสกรู น้อต สลักตั้งแน่นพอดีหรื อไม่
3. ล้อ/ล้อคล้อ: ตรวจดูวา่ เคลื่อนที่ได้สะดวก หรื อล๊อคให้อยูก่ บั ที่ได้ดี ตรวจ
ลูกล้ออย่าให้มีเศษด้าย ผ้า เทป หรื ออื่นๆ
4. สภาพของสาย AC และปลัก๊ /ที่เก็บสาย: ตรวจดูวา่ ปลัก๊ อยูใ่ นสภาพดีไม่
แตกร้าว/หลุด บางครั้งต้องเขย่าแล้วฟังเสี ยง การหลุด/หลวม เต้าเสี ยบ
ไฟฟ้ าต้องตรวจสภาพทุกจุด แล้วสองเสี ยบปลัก๊ ดูวา่ การสัมผัสมัน่ คงดี
สาย AC จะต้องอยูใ่ นสภาพดี ที่เก็บสายจะต้องไม่หกั หรื อชารุ ด
5. สภาพของสายไฟที่เชื่อมต่อจุดต่างๆ: ตรวจดูวา่ ไม่มีการเสี ยหาย ขาด แตก
รอยไหม้ หากตาแหน่งที่ชารุ ดอยูท่ ี่ปลายด้านใดด้านหนึ่งอาจใช้วิธีตดั
ส่ วนนั้นทิ้ง แต่หากตาแหน่งที่ชารุ ดอยูก่ ลางสายควรเปลี่ยนเส้นใหม่
ทั้งนี้ตอ้ งแน่ใจว่าต่อขั้วไฟฟ้ าถูกต้อง นอกจากนั้นตรวจสายต่อสาหรับ
การชาร์จแบตเตอรี่
6. ความยึดหยุน่ ของสายไฟและสายสัญญาณ: ตรวจสอบตัวที่ยดึ สายที่ปลาย
สายทั้งสองด้านของสาย และมัน่ ใจว่า ตัวยึดมีความแน่นหนาพอ ไม่
หลวมหรื อหลุดออกง่าย
7. สะพานไฟ/ฟิ วส์: หากเครื่ องมีสวิทซ์เปิ ด-ปิ ดเครื่ อง ตรวจดูและโยกสวิทซ์
ดูวา่ ไม่หลวมและไม่ฝืดมาก ตรวจดูฟิวส์ที่ใช้อยูว่ า่ ถูกต้องตามขนาด
และชนิดที่ระบุ
8. สายภาพของสายต่างๆ/สายเคเบิล: ตรวจดูสายต่างๆ เช่น เซนเซอร์, สาย
lead ว่าไม่มีแรงเค้น การยึดมีตวั สวมป้ องกันการหมุนของสาย ดูวา่
แน่นหนาดีไม่มีการดึงรั้ง วัดความต่อเนื่องของสายนาสัญญาณข้างใน
โดยใช้เครื่ องโอห์มมิเตอร์
9. ข้อต่อ/จุดต่อ ต่างๆ: ตรวจข้อต่อสายไฟทุกจุดขาเสี ยบ ต้องตรง สะอาด
เป็ นมันวาว
10. อิเล็กโทรด : สะอาดไม่มีรอยแตกร้าว หรื อเสื่ อมสภาพ
11. ปุ่ มควบคุม/สวิทซ์:ก่อนเริ่ มงานควรสังเกตดูค่าต่างๆ บนหน้าปั ดว่าอยูใ่ น
สภาพใด ค่าที่ต้ งั อยูถ่ ูกต้องหรื อไม่ เพราะมีความเป็ นไปได้ที่การใช้ที่ไม่
ถูกต้องทาให้การทางานของเครื่ องล้มเหลว บันทึกค่าต่างๆเหล่านั้นก่อน
เริ่ มทางาน ตรวจสอบตั้งค่าต่างๆตามคู่มือของเครื่ อง ต้องตรวจสอบปุ่ ม
ควบคุมสวิทซ์ต่างๆ ด้านสภาพทัว่ ไป ความมัน่ คง การหมุน การสัมผัส
ตรวจค่าการปรับตั้งสัญญาณเตือน มีจุดที่ตรึ งไว้(พิกดั ) การหยุด ตรง
ตาแหน่ง หากเป็ นเมมแบรนสวิทซ์ ( Membrane switch ) ผิวของเมมแบ
รนต้องไม่แตก ร้าว ทะลุ (จากปลายเล็บหรื อปลายปากกา) ตลอดจนการ
ตรวจเช็คต้องแน่ใจว่า แต่ละปุ่ มและสวิทซ์ ทาหน้าที่ได้ถูกต้อง
12. แบตเตอรี่ /ชุดชาร์ทไฟ: ตรวจดูสภาพทัว่ ไปทั้งแบตเตอรี่ และข้อต่อการใช้
งานแบตเตอรี่ ( มีหมายเลขกากับ ) ควรระบุได้ถึงอายุการใช้งาน
ตรวจสอบการทางานของเครื่ องขณะใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ หาก
พลังงานเหลือน้อยต้องมีการเตือน ดูการชาร์จ ตรวจสอบความสามารถ
ของแบตเตอรี่ โดยทดสอบหน้าที่การทางาน หากจาเป็ นต้องเปลี่ยนลูก
ใหม่ตอ้ งทาการบันทึก
13. ตัวชี้วดั /จอแสดงผล: ตรวจสอบการทางานของไฟทุกดวง ตัว
บ่งชี้ ตัวแสดงผลด้วยแสง ทั้งการทางานของเครื่ องและการ
ชาร์จแบตเตอรี่ รวมถึงการแสดงผลที่เป็ นแบบดิจิตอล
14. การตอบสนองสัญญาณ Square Wave : การกดปุ่ มปรับเทียบ 1
mV หรื อให้สญ
ั ญาณรู ปสี่ เหลี่ยมขนาด 1 mV แล้วสังเกตกราฟ
ที่ได้ตอ้ งเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยม
15. การบันทึกค่าสัญญาณต่างๆ :ดูการบันทึกว่าผลที่ได้มีความ
สมบูรณ์หรื อไม่ การ Feed เป็ นอย่างไร Paper speed ทางาน
สมบูรณ์หรื อไม่ จาก Printer Test Mode
16. สัญญาณเสี ยง/ภาพเตือน: ตรวจสอบการทาหน้าที่ ให้สัญญาณเตือน
ทางาน( จากการปรับตั้งค่าพิกดั การเตือน ) ทั้งระบบเสี ยงและแสง
ตรวจสอบการปรับตั้งอื่นๆ หรื อ ตรวจสอบเสี ยงเตือนตามที่ระบุใน
คู่มือ
17. สัญญาณเสี ยงต่างๆ: การทาหน้าที่ ให้สัญญาณเสี ยงเตือนทางาน จัดการ
เรื่ องความดังของเสี ยง และการปรับความดังเสี ยงเตือน เสี ยงเตือน
จะต้องได้ยนิ ชัดเจน
18. ป้ ายแสดงรายละเอียดของเครื่ อง: ตรวจสอบป้ ายต่างๆที่อยูใ่ นเครื่ องว่า
ชัดเจนดีหรื อไม่
19. ส่ วนประกอบต่างๆ(Accessories) : ตรวจเช็คความสมบูรณ์ครบถ้วนของ
อุปกรณ์ประกอบ
การตรวจวัดคุณสมบัตเิ ครื่อง
1. Ground Resistanec( <0.5Ω ) คือ ให้ใช้เครื่ องมือวัด Safety Analyzer วัด
ค่าแล้วบันทึกผลค่าที่วดั ได้
2. Chassis Leakage Current ( <300 µA ) คือให้ใช้เครื่ องมือวัด Safety
Analyzer วัดค่าแล้วบันทึกผลค่าที่วดั ได้
หมายเหตุ : ถ้าไม่สามารถวัดได้ให้ทาการขีดละ หรื อบันทึกหมายเหตุของ
ปัญหาที่ทาให้วดั ไม่ได้ลงใน Form ช่องค่าที่วดั ได้ เช่นปลัก๊ ไม่มี
Ground, ตัวอาคารไม่มี Ground
3. Rate Caribration (±5% or 5 bpm at 60 and 120 bpm ) คือ ทาการ Test โดย
การใช้เครื่ องวัด Simulator ต่อเข้ากับเครื่ องวัด Defibrillator แล้วปรับ Rate
ของ Simulator ไปที่ 60 และ 120 bpm โดยดูวา่ ค่าที่ได้ออกมาทาง Monitor
มีค่าอยูร่ ะหว่าง ± 5 % หรื อไม่แล้วถ้าอยูใ่ นค่าที่กาหนดให้ดูค่าที่เครื่ องอ่าน
ได้ ทาการบันทึกค่าที่ได้ตามเครื่ องที่ทดสอบลงบนช่องค่าที่วดั ได้ เช่น
65,120 bmp
4. Rate Alarm (±5% or 5 bpm at 40 and 120 bpm ) คือทาการ Test โดยการใช้
เครื่ องวัด Simulator ต่อเข้ากับเครื่ องวัด Bed Side Monitor แล้วปรับ Rate
Low Alarm ที่ 40 bpm High Alarm ที่ 120 bpm ปรับRate Simulator ไปที่
60 และลดค่าลงมาที่ต่าสุ ดของเครื่ อง Simulater และดูวา่ มีการ Alarm ที่
Low Alarm หรื อไม่ ปรับRate Simulator ไปที่ 120 และเพิ่มค่าลงมาที่สุ
งสู ดของเครื่ อง Simulater และดูวา่ มีการ Alarm ที่ High Alarm หรื อไม่
แล้วบันทึกผลค่าที่วดั ได้ เช่น 35,124 bmp
5. % Oxygen Saturated (±2% at 80, 90 and 97%) ทาการ Test โดยใช้เครื่ องวัด
Pulse oximetry Analyzer แล้วทาการ Set ค่าตามใบรายงานผลการ
บารุ งรักษา แล้วบันทึกผลค่าที่วดั ได้
6. Static Pressure (±3 mmHg at 80 and 120 mmHg )or( Systoric 120 , Diastoric
80) ทาการ Test โดยใช้เครื่ องวัด Fluke Pressure แล้วทาการ Set ค่าตามใบ
รายงานผลการบารุ งรักษา แล้วบันทึกผลค่าที่วดั ได้
7. Paper Speed (±2% at 25 and 50 mm/Sec) Paper Speed (±2% at 25 and 50
mm/Sec)คือ ตั้ง Sim ที่ 60 bpm ตั้งความเร็ วที่ 25 mm/sec และช่วงสัญญาณ
เป็ น 1000 msec(60 bpm จากเครื่ อง sim) ระยะห่างระหว่างกราฟลูกที่ 1 ถึง
5 ควรมี 100 ช่องเล็ก ±2mm ความเร็ วที่ 50 mm/sec ระยะห่างระหว่างกราฟ
ลูกที่ 1 ถึง 5 ควรมี 200 ช่องเล็ก ±4mm แล้วบันทึกผลค่าที่วดั ได้
หมายเหตุ ถ้าไม่มี Function ให้ทดสอบ ให้ลงค่าที่วดั ได้วา่ N/A
เครื่อง Ventilator
1. โครงสร้าง/ฝาครอบของเครื่ อง: ตรวจสอบความสะอาดและสภาวะ
ทัว่ ๆไปภายนอกเครื่ อง โดยสังเกตว่าโครงหุม้ ห้อไม่มีการเปลี่ยนแปลง
ที่สาคัญคือส่ วนประกอบต่างๆยังคงสภาพเดิมและแน่นหนาไม่มีคราบ
ของเหลวรั่วหรื อมีการกระแทกอย่างรุ นแรง
2. ความมัน่ คง/แข็งแรงของที่ติดตั้ง: ให้ตรวจสอบสภาพของการติดตั้ง
ตรวจสกรู น้อต สลักตั้งแน่นพอดีหรื อไม่
3. ล้อ/ล้อคล้อ: ตรวจดูวา่ เคลื่อนที่ได้สะดวก หรื อล๊อคให้อยูก่ บั ที่ได้ดี ตรวจ
ลูกล้ออย่าให้มีเศษด้าย ผ้า เทป หรื ออื่นๆ
4. สภาพของสาย AC และปลัก๊ /ที่เก็บสาย: ตรวจดูวา่ ปลัก๊ อยูใ่ นสภาพดีไม่
แตกร้าว/หลุด บางครั้งต้องเขย่าแล้วฟังเสี ยง การหลุด/หลวม เต้าเสี ยบ
ไฟฟ้ าต้องตรวจสภาพทุกจุด แล้วสองเสี ยบปลัก๊ ดูวา่ การสัมผัสมัน่ คงดี สาย
AC จะต้องอยูใ่ นสภาพดี ที่เก็บสายจะต้องไม่หกั หรื อชารุ ด
5. สภาพของสายไฟที่เชื่อมต่อจุดต่างๆ: ตรวจดูวา่ ไม่มีการเสี ยหาย ขาด แตก รอย
ไหม้ หากตาแหน่งที่ชารุ ดอยูท่ ี่ปลายด้านใดด้านหนึ่งอาจใช้วิธีตดั ส่ วนนั้น
ทิ้ง แต่หากตาแหน่งที่ชารุ ดอยูก่ ลางสายควรเปลี่ยนเส้นใหม่ ทั้งนี้ตอ้ งแน่ใจ
ว่าต่อขั้วไฟฟ้ าถูกต้อง นอกจากนั้นตรวจสายต่อสาหรับการชาร์ จแบตเตอรี่
6. ความยึดหยุน่ ของสายไฟและสายสัญญาณ: ตรวจสอบตัวที่ยดึ สายที่ปลายสาย
ทั้งสองด้านของสาย และมัน่ ใจว่า ตัวยึดมีความแน่นหนาพอ ไม่หลวมหรื อ
หลุดออกง่าย
7. สะพานไฟ/ฟิ วส์: หากเครื่ องมีสวิทซ์เปิ ด-ปิ ดเครื่ อง ตรวจดูและโยกสวิทซ์
ดูวา่ ไม่หลวมและไม่ฝืดมาก ตรวจดูฟิวส์ที่ใช้อยูว่ า่ ถูกต้องตามขนาด
และชนิดที่ระบุ
8. ท่อยางและท่อลมต่างๆภายในเครื่ อง: ตรวจดูวา่ ไม่มีรอยแตก ร้าว พับงอ
หรื อสกปรก ตรวจช่องทางออกของก๊าซอกกซิเจนต้องโล่ง สะอาด ไม่
มีสิ่งแปลกปลอม
9. ข้อต่อจุดต่อต่างๆ: ตรวจสอบสภาพทัว่ ไปของข้อต่อก๊าซ จะต้องแน่นและ
ไม่มีเสี ยงรั่ว
10. แผ่นกรอง : ตรวจเช็คสภาพของตัวกรองอากาศทาความสะอาดหรื อ
เปลี่ยนตามคาแนะนาจากบริ ษทั ผูผ้ ลิต
11. ปุ่ มควบคุม/สวิทซ์:ก่อนเริ่ มงานควรสังเกตดูค่าต่างๆ บนหน้าปัดว่าอยู่
ในสภาพใด ค่าที่ต้ งั อยูถ่ ูกต้องหรื อไม่ เพราะมีความเป็ นไปได้ที่การใช้
ที่ไม่ถูกต้องทาให้การทางานของเครื่ องล้มเหลว บันทึกค่าต่างๆ
เหล่านั้นก่อนเริ่ มทางาน ตรวจสอบตั้งค่าต่างๆตามคู่มือของเครื่ อง ต้อง
ตรวจสอบปุ่ มควบคุมสวิทซ์ต่างๆ ด้านสภาพทัว่ ไป ความมัน่ คง การ
หมุน การสัมผัส ตรวจค่าการปรับตั้งสัญญาณเตือน มีจุดที่ตรึ งไว้(พิกดั
) การหยุด ตรงตาแหน่ง หากเป็ นเมมแบรนสวิทซ์ ( Membrane
switch ) ผิวของเมมแบรนต้องไม่แตก ร้าว ทะลุ (จากปลายเล็บหรื อ
ปลายปากกา) ตลอดจนการตรวจเช็คต้องแน่ใจว่า แต่ละปุ่ มและสวิทซ์
ทาหน้าที่ได้ถูกต้อง
12. สภาพ Bellows : ให้ตรวจเช็คสภาพว่าชารุ ด หรื อรั่ว หรื อไม่
13. ถังบรรจุแก็ส/เกจวัด/ตัวปรับปริ มาณแก๊ส/ปัมส์ลม: ตรวจเช็คถังบรรจุก๊าซ
มาตรวัดความดันและตัวลดแรงดัน (Regulator) อยูใ่ นสภาพที่ดี มีความ
มัน่ คงและพร้อมที่จะใช้งาน ตรวจเช็คท่อทางเดินของอากาศและออกซิเจน
ตรวจเช็ค Compressor ตามกรรมวิธีการตรวจเช็ค จากบริ ษทั ผูผ้ ลิต
14. ชุดวงจรช่วยหายใจ(รวมตัวกรองต่างๆ):Breathing circuit สายต่อการหายใจ
รวมถึง (Filter) ที่อยูใ่ นสายต่อการหายใจตรวจเช็คดูวา่ องค์ประกอบเหล่านี้
เข้ากันได้ กับเครื่ องช่วยหายใจตามคาแนะนาของบริ ษทั ผูผ้ ลิต ตรวจ
ตรวจเช็คดูขอ้ ต่อรอยต่อที่อาจเป็ นต้นเหตุของการรั่ว
15. ตัวทาความชื้น/ตัวดูดความชื้น : ตรวจ Humidifiers ตามคาแนะนาของ
บริ ษทั ผูผ้ ลิต ตรวจเช็ค Nebulizer โดยการเปิ ดให้ระบบ Nebulizer ของ
เครื่ องช่วยหายใจทางาน และตรวจสอบดูวา่ มีการไหลของอากาศออกมา
จากช่องของ Nebulizer ในระหว่างการทางานในช่วงหายใจเขาของ
เครื่ องช่วยหายใจ
16. กลไกการทางานของระบบแรงดัน : โดยการทาให้ปลายสายต่อของ
เครื่ องช่วยหายใจอุดตันและวัดความดันสู งสุ ดที่เกิดขึ้นที่มาตรวัดความ
ดัน ตรวจเช็คให้แน่ใจว่าความดันสู งสุ ดที่เกิดขึ้นนี้ถูกระบายออกจากสาย
ต่อของเครื่ องช่วยหายใจและมีเสี ยงสัญญาณของความดันเตือน
17. พัดลม:ตรวจดูใบพัดว่ามีครบทุกใบ สภาพดี ไม่แตก หัก บิ่น งอ ไม่มีดา้ ย
ไปพัน
18. แบตเตอรี่ /ชุดชาร์ทไฟ: ตรวจดูสภาพทัว่ ไปของแบตเตอรี่ และสายต่อ
แบตเตอรี่ ตรวจสอบการทางานของแบตเตอรี่ และการทางานของ
สัญญาณเตือนเมื่อแบตเตอรี่ มีพลังงานต่าและไม่มีพลังงานจ่ายเข้าเครื่ อง
ทดลองใช้เครื่ องโดยใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ ประมาณ 5-10 นาที เพื่อ
ทดสอบว่าแบตเตอรี่ สามารถประจุไฟฟ้ าและเก็บไฟได้ ทดสอบความจุ
ของแบตเตอรี่ โดยการวัดหรื อ( Function test Battery )
19. ตัวชี้วดั /จอแสดงผล: ในระหว่างทาการทดสอบให้ยนื ยันในการทางานอัน
ถูกต้องครบถ้วนของไฟแสดงผล, ตัวแสดงมาตรวัดความดันและหน้าจอ
แสดงผลบนเครื่ อง ตลอดจนตัวชาร์ทแบตเตอรี่ ตรวจเช็คว่าตัวเลขแสดงผล
อย่างครบถ้วน
20. สัญญาณเสี ยง/ภาพเตือน/ตัวล็อคอัตโนมัติ: ตรวจสอบการทาหน้าที่ ให้
สัญญาณเตือนทางาน( จากการปรับตั้งค่าพิกดั การเตือน ) ทั้งระบบเสี ยง
และแสง ตรวจสอบการปรับตั้งอื่นๆ ที่สมั พันธ์กนั สังเกตการณ์เตือนเมื่อมี
การปลดสายออก หรื อ ตรวจสอบเสี ยงเตือนตามที่ระบุในคู่มือ
21. ป้ ายแสดงรายละเอียดของเครื่ อง : ตรวจเช็คดูตวั อักษร ตัวเลขที่เขียนหรื อ
พิมพ์ปรากฏบนหน้าปัด บนตัวเครื่ องตลอดจนข้อความที่ปรากฎบนแผ่น
แนะนาการใช้เครื่ องต้องไม่เลอะเลือนและสามารถอ่านออก
22. ส่ วนประกอบต่างๆ: ตรวจเช็คความสมบูรณ์ครบถ้วนของอุปกรณ์ประกอบ
ต่างๆของเครื่ อง
การตรวจวัดคุณสมบัตเิ ครื่อง
1. ให้ใช้เครื่ องมือวัด Safety Analyzer วัดค่าความต้านทานรวมของสายและ
ฉนวนต้องกไม่เกิน 0.5 โอหม์ แล้วบันทึกผลค่าที่วดั ได้
2. ให้ใช้เครื่ องมือวัด Safety Analyzer วัดค่ากระแสรั่วไหลของเครื่ องต้อง
ไม่เกิน 300 ไมโครโวลต์ หรื อตามที่บริ ษทั กาหนด แล้วบันทึกผลค่าที่
วัดได้
3. เป็ นการมอนิเตอร์ดูค่า Rate ที่ให้กบั ผูป้ ่ วยว่าถูกต้องตรงตามค่าที่กาหนด
หรื อไม่ เช่นการตั้งค่าที่ให้ปริ มาตรผูป้ ่ วยที่ 12 ครั้งต่อหนึ่งนาที ใช้
การจับเวลาที่ 1 นาที ต้องมีการทางานที่ 12 ครั้ง (หรื อตามคู่มือตาม
ผูผ้ ลิต)
4. เป็ นการมอนิเตอร์ดูค่า Volume ที่ให้กบั ผูป้ ่ วยว่าได้ค่าตามที่ตอ้ งการ
หรื อไม่โดยการทดสอบกับเครื่ องมือวัด (Spirometer)เช่น ตั้งที่ 500
ml เครื่ องจะต้องอ่านค่าได้ 500 ml หรื อไม่ มีค่าบวก/ลบไม่เกิน 10
เปอร์เซ็นต์
5. เป็ นการดูอตั ราส่ วนของ I:E คือหายใจเข้าและหายใจออก เช่น กาหนด
I:E เป็ น 1:2 ถ้าตั้ง Rate เป็ น 20 ครั้งต่อนาที ก็จะได้I = 1 นาที และ
E = 2 นาที
6. เป็ นการตรวจดูวา่ ค่า O2 ที่ให้กบั ผูป้ ่ วยได้ตามที่ตอ้ งการหรื อไม่ โดย
กาหนดที่ 40,60,100 เพื่อให้ง่ายในการทดสอบแล้วดูวา่ ผล
เอาท์พทุ ที่ได้ตรงตามที่กาหนดหรื อไม่โดยดูผลที่ได้จากเครื่ อง
อ่านค่าให้ (เครื่ องบางเครื่ องไม่สามารถให้แสดงค่านี้ได้ทาได้โดย
ใช้เครื่ องมือวัดออกซิ เจนวันค่าออกมาหรื อดูผลตามคู่มือผูผ้ ลิต)
7. เป็ นการตรวจสอบดูวา่ อุณหภูมิของตัว Hemadifier ได้ตามที่กาหนด
หรื อไม่โดยส่ วนใหญ่จะตรวจสอบที่ 37 องศา ถ้าไม่มีเครื่ องมือวัด
ต้องตรวจสอบที่ความร้อนของน้ าโดยใช้เทอร์โมมิเตอร์แช่ที่
กระบอก Hemadifier (หรื อตรวจสอบตามคู่มือผูผ้ ลิต)
หมายเหตุ ถ้าไม่มี Function ให้ทดสอบ ให้ลงค่าที่วดั ได้วา่ N/A
Test
แบบทดสอบ วิธีการบารุงรักษาเครื่องมือแพทย์
1. การตรวจสอบความปลอดภัยทางไฟฟ้ าเป็ นถือว่าเป็ นส่ วนหนึ่งของการ
บารุ งรักษาเครื่ องมือแพทย์
ก.ถูก
ข. ผิด
ค. ไม่ทราบ
2. มาตรฐาน ECRI เป็ นมาตรฐานตายตัวไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ในการ
นามาใช้บารุ งรักษา
ก.ถูก
ข. ผิด
ค. ไม่ทราบ
3. Ground Resistance ของเครื่ องมือแพทย์จะต้องมีค่าคือ (< 0.5 Ohms)
ก.ถูก
ข. ผิด
ค. ไม่ทราบ
4.Chassis Leakage Current ของเครื่ องมือแพทย์จะต้องมีค่าคือ (< 300mA )
ก.ถูก
ข. ผิด
ค. ไม่ทราบ
5. Function การทางานของเครื่ องมือแพทย์ที่ระบบ ECRI ไม่สามารถ
ตรวจสอบได้ สามารถใช้คู่มือการใช้งานของเครื่ องมือแพทย์น้ นั
ตรวจสอบแทนได้
ก.ถูก
ข. ผิด
ค. ไม่ทราบ
6. เครื่ องมือวัด Ground Resistance และ Chassis Leakage Current คือ
Safety Analyzer
ก.ถูก
ข. ผิด
ค. ไม่ทราบ
7. ระบบ High-Pressure ของ Anesthesia คือระบบของชุด Pipe line
ก.ถูก
ข. ผิด
ค. ไม่ทราบ
8. ระบบ Intermediate Pressure ของ Anesthesia คือระบบของชุด ถังแก๊ส
ก.ถูก
ข. ผิด
ค. ไม่ทราบ
9. ระบบ Low-Pressure ของ Anesthesia คือระบบของชุด Flow meter เป็ น
ต้นไป
ก.ถูก
ข. ผิด
ค. ไม่ทราบ
10. การวัดค่า Volume จะต้องวัดทางด้าน Inspir
ก.ถูก
ข. ผิด
ค. ไม่ทราบ