เทคนิคการเจรจาต่อรอง - กระทรวงการต่างประเทศ

Download Report

Transcript เทคนิคการเจรจาต่อรอง - กระทรวงการต่างประเทศ

เทคนิคการดาเนินงานใน
กรอบอาเซียน
หลักสู ตรฝึ กอบรมความรู้เกีย่ วกับประชาคมอาเซียน
วันที่ 22 สิ งหาคม 2555
สถาบันการต่ างประเทศเทวะวงศ์ วโรปการ
โดย น.ส. บุษฎี สันติพทิ ักษ์
รองอธิบดีกรมอาเซียน กระทรวงการต่ างประเทศ
ประเด็นสำคัญ



โครงสร้ำงอำเซียน
กระบวนกำรกำรตัดสิ นใจ
วิธีกำร/แนวทำง
โครงสร้างอาเซียน
เสาการเมือง
และความมันคง
่
มั่นคง
เสาเศรษฐกิจ
มั่งคั่ง
เสาสังคม
และวัฒนธรรม
เอือ้ อาทรและ
แบ่ งปั นกัน
ประชาคมอาเซียนภายในปี 2558
กลไกระดับอำเซียน
การประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit)
คณะมนตรีประสานงานอาเซียน (ASEAN Coordinating Council: ACC)
คณะมนตรี ประชาคม
การเมืองและความมั่นคง
อาเซียน (ASEAN PoliticalSecurity Community Council)
การประชุมรมต./จนท.อาวุโส
อาเซียน
เฉพาะด้ าน เช่ น ASEAN Law
Ministers’ Meeting
คณะมนตรี ประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน (ASEAN Economic
Community Council)
การประชุม รมต./จนท.อาวุโส
อาเซียน
เฉพาะด้ าน เช่ น Meeting of the
ASEAN Tourism Ministers
คณะมนตรี ประชาคมสังคมและ
วัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN
Socio-Cultural Community
Council)
การประชุม รมต./จนท.อาวุโส
อาเซียนเฉพาะด้ าน เช่ น ASEAN
Ministers Meeting on Social
Welfare and Development
คณะกรรมการประสานงานการเชื่อมโยงกันในภูมภิ าคอาเซียน (ASEAN
Connectivity Coordinating Committee: ACCC)
กลไกระดับประเทศ
คณะกรรมการอาเซียนแห่ งชาติ
คณะกรรมการ
ดาเนินการเพื่อจัดตัง้
ประชาคมการเมืองและ
ความมั่นคงอาเซียน
(กต.)
คณะอนุกรรมการดาเนินการ คณะกรรมการสาหรั บคณะ
ตามแผนงานไปสู่การเป็ น
มนตรี ประชาคมสังคมและ
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
วัฒนธรรมอาเซียน
(พม.)
(พณ.)
คณะอนุกรรมการว่ าด้ วยความเชื่อมโยงระหว่ างกันในอาเซียน (กต.)
คณะอนุกรรมการด้ านการประชาสัมพันธ์ ประชาคมอาเซียน (ปชส.)
การดาเนินการระดับประเทศ
แผนงานแห่ งชาติสาหรั บการก้ าวสู่การเป็ นประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘
ภายใต้ การกากับดูแลของคณะกรรมการอาเซียนแห่ งชาติ
แผนงานระดับกระทรวง
อาทิ แผนงานของกระทรวงการท่ องเที่ยวและกีฬา
กระบวนการตัดสิ นใจ
กระบวนการตัดสิ นใจ
 ข้อตัดสิ นใจระดับผูน
้ ำ
 ข้อตัดสิ นใจระดับรัฐมนตรี
 ข้อคิดเห็นของเจ้ำหน้ำที่อำวุโส
 กำรปรึ กษำหำรื อกับ sectoral
body
Case Study
 แถลงกำรณ์ผน
ู ้ ำในกำรประชุมสุ ดยอดครั้งที่ 19
(ASEAN Leader’s Statement on Flood
Prevention, Mitigation, Relief,
Recovery and Rehabilitation)
 กำรนำมำดำเนิ นกำรในระดับประเทศ/อำเซี ยน
 ควำมร่ วมมือในกรอบ ARF DiREX
วิธีการ/แนวทาง
ความรู้ทเี่ กีย่ วข้ อง
ข้อมูล
 ข้อมูลเกี่ยวกับอำเซี ยน
 ข้อมูลเกี่ยวกับประเทศสมำชิกอำเซี ยน
 ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่ องที่จะไปประชุม
ความรู้ทเี่ กีย่ วข้ อง
 ข้อมูลเกี่ยวกับเอกสำรที่เกี่ยวข้อง
ข้อมูล
กับกำรประชุม ควำมเป็ นมำ
เอกสำรสำคัญ
 ข้อมูลเกี่ยวกับท่ำทีไทย/กำรประชุมหน่วยงำน
 ข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนำกำรในเรื่ องที่จะไปเจรจำ
ในกรอบกำรประชุมระหว่ำงประเทศที่เกี่ยวข้อง
การเตรียมตัว
 ควำมพร้อมด้ำนกำยภำพ สติ ปั ญญำ
 หำเพื่อน หำข่ำว หำแนวร่ วม
 หำจุดยืน หำประเด็นที่ผลักดัน หำแนวทำงในกำรเจรจำ
 เสนอเป้ ำหมำย แนวคิด วิธีกำร ขั้นตอน ผลที่จะได้รับ
 กำรติดตำมผล ควำมเป็ นรู ปธรรม กำรประชำสัมพันธ์
Negotiation
“Negotiation is a process for the
resolution of problems or disputes
between two or more parties, with
the objective of arriving at an
outcome that is acceptable to all
parties”
Source Dr. Somchai Pakapasvivat
Negotiation
 Negotiation
is a dialogue intended to
resolve disputes, to produce an
agreement upon courses of action, to
bargain for individual or collective
advantage, or to craft outcomes to
satisfy various interests.
Negotiation
 Professional
negotiators are often
specialized, such as union negotiators,
leverage buyout negotiators, peace
negotiators, hostage negotiators, or
may work under other titles, such as
diplomats, legislators or brokers.
Source Wikipedia
Negotiation
 Negotiation
occurs in business, nonprofit organizations, government
branches, legal proceedings, among
nations and in personal situations such
as marriage, divorce, parenting, and
everyday life.
กระบวนการการเจรจาพหุภาคี
 กำรเตรี ยมกำร
 กำรเจรจำ
(Preparation)
(Negotiations)
 สรุ ปผลกำรเจรจำ (Conclusions)
อ้ างอิง จาก คุณชุตินทร คงศักดิ์
กระบวนการเจรจาพหุภาคี
 ยุทธศำสตร์ (Strategy)
 กระบวนกำร/เครื่ องมือ (Process/Tools)
 กลยุทธ (Tactics)
อ้ างอิง จาก คุณชุตินทร คงศักดิ์
แนวทางความสาเร็จในการเจรจาพหุภาคี
ยอมรับผลที่สร้ำงสรรค์
เข้ำใจวัฒนธรรมที่แตกต่ำง
ใช้ประโยชน์จำกควำมแตกต่ำง
หำข่ำวเพื่อใช้ประโยชน์
อ้ างอิง จากคุณชุตินทร คงศักดิ์
 ออกแบบกำรกระจำยข้อมูลและกระบวนกำร
กำรประชุม
 คบหำสมำคมใช้ควำมสัมพันธ์ส่วนตัว
 โน้มน้ำวด้วยกำรยิงคำถำม หำคำอธิ บำย
 ไม่ยอมผ่อนปรนใด ๆ จนกว่ำจะถึงที่สุด
 ใช้ควำมคิดสร้ำงสรรค์ในกำรเจรจำ
อ้ างอิง จากคุณชุตินทร คงศักดิ์
ท่ าทีในการเจรจา
 ถ้อยทีถอ
้ ยอำศัย (Accommodating)
 หลีกเลี่ยง (Avoiding)
 ให้ควำมร่ วมมือ (Collaborating)
 แข่งขัน (Competing)
 ประนี ประนอม (Compromising)
อ้ างอิงจาก คุณชุตินทร คงศักดิ์
นักเจรจาในฝัน
 มีเป้ ำหมำย ท่ำทีชดั เจน ข้อมูลแน่น

รู ้เรำ ควำมพร้อม อำรมณ์
ศึกษำคู่เจรจำ เป้ ำหมำยตรงกันไหม
รู ้กฎเกณฑ์ กติกำที่เกี่ยวข้อง

วำงแผน กลยุทธ์ ลูกเล่น

วิเครำะห์ควำมได้เปรี ยบเสี ยเปรี ยบ


นักเจรจาในฝัน

มีควำมมัน่ ใจในกำรเจรจำ ภำษำ
ศิลปะกำรพูด กำรโน้มน้ำว เหตุผล
 ไม่ขด
ั แย้งด้วยอำรมณ์
 ขอบคุณและเป็ นมิตรเสมอนอกห้อง
ประชุม
