๓. แผนการเปลี่ยนผ่านไปสู่ประชาคมอาเซียน

Download Report

Transcript ๓. แผนการเปลี่ยนผ่านไปสู่ประชาคมอาเซียน

การเตรียมความพร้ อมรองรับ
การเข้ าสู่ ประชาคมอาเซียนของ ทบ.
๒๒ มกราคม ๒๕๕๖
๑๐๐๐ - ๑๒๐๐
โดย พ.ท.ศิวตั ม์ รัตนอนันต์
ฝสธ. ประจา ยก.ทบ.
แนะนาตัว
พ.ท.ศิวตั ม์ รัตนอนันต์
การศึกษา ในประเทศ
- โรงเรียนบดินทรเดชา (สิ งห์ สิ งหเสนี)
- โรงเรียนเตรียมทหาร (นตท. รุ่นที่ ๓๔)
- โรงเรียนนายร้ อยพระจุลจอมเกล้ า (จปร. รุ่นที่ ๔๕)
การศึกษาต่ างประเทศ (สหราชอาณาจักร) ทุน ทบ.
- หลักสู ตรนายทหารสั ญญาบัตร จาก Royal Military Academy Sandhurst
- วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา จาก Royal Military College of Science
- วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการออกแบบโครงสร้ างเหล็ก จาก Imperial College
การศึกษาตามแนวทางรับราชการ
- หลักสู ตรชั้นนายร้ อย/นายพัน เหล่ า ป. , รร.ป.ศป.
- หลักสู ตรหลักประจา รร.สธ.ทบ.สบส. ชุ ดที่ ๘๖
การรับราชการ : ปตอ.พัน.๔, รร.จปร. ประจา รร.สธ.ทบ.สบส. ยก.ทบ.
ราชการต่ างประเทศ : นตต. ประจา บก. สหประชาชาติ ณ กรุงโซล สาธารณเกาหลี
ปัจจุบนั : ฝสธ. ประจา ยก.ทบ. ปฏิบตั ิงานที่ กองนโยบายและแผน ยก.ทบ.
2
ขอบเขตการบรรยาย
๑. ความเป็ นมา และความรู้ ทวั่ ไปเกีย่ วกับประชาคมอาเซียน
๒. แนวทางปฏิบัตขิ อง กห. ในการรองรับการจัดตั้งประชาคม
อาเซียนในปี ๒๕๕๘
๓. แผนการเปลีย่ นผ่ านไปสู่ ประชาคมอาเซียน – ทบ.
๔. การซักถาม/แลกเปลีย่ นความคิดเห็น
3
๑. ความเป็ นมา และความรู้ ทวั่ ไปเกีย่ วกับประชาคมอาเซียน
 ความเป็ นมาของอาเซียน
 ประเทศสมาชิกอาเซียน
 การเป็ นประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘
 กฎบัตรอาเซียน
 เสาหลักของประชาคมอาเซียน
4
อาเซียน (ASEAN)
 อาเซี ยนหรื อสมาคมประชาชาติแห่ งเอเชี ยตะวันออกเฉียงใต้ (Association of
Southeast Asian Nations หรือ ASEAN) ก่ อตั้งขึน้ โดยปฏิญญากรุ งเทพ (Bangkok
Declaration) ซึ่งได้ มีการลงนามที่วังสราญรมย์ เมื่อวันที่ ๘ สิ งหาคม พ.ศ. ๒๕๑๐
อาเซียน (ASEAN)
 รมว.กต. : อินโดนีเซีย ( นายอาดัม มาลิก )
มาเลเซีย
( นายตุน อับดุล ราซักบิน ฮุสเซน )
ฟิ ลิปปิ นส์ ( นายนาซิโซ รามอส )
สิ งคโปร์
( นายเอส ราชารัตนัม )
ไทย
( พันเอก ถนัด คอมันตร์ )
 ได้ ลงนามในปฏิญญากรุ งเทพฯ เมือ่ วันที่ ๘ สิ งหาคม พ.ศ. ๒๕๑๐
 หลังการจัดตั้งอาเซียนเมื่อ ๘ สิ งหาคม ๒๕๑๐ ต่ อมาได้ มีประเทศอืน่ ๆ สมัคร
เข้ ามาเป็ นสมาชิ กเพิ่ มเติ ม ได้ แก่ บรู ไนดารุ สซาราม ( ๗ มกราคม ๒๕๒๗ )
เวียดนาม ( ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๓๘ ) ลาว และพม่ า ( ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๔๐ )
ขณะทีก่ มั พูชาเข้ าเป็ นสมาชิก เมื่อ ๓๐ เมษายน ๒๕๔๒
หลังการก่อตัง้ อาเซียนในปี ๒๕๑๐...
สมาชิกผู้ก่อตั้งปี ๒๕๑๐
• ไทย
• มาเลเซีย
• อินโดนีเซีย
• ฟิ ลิปปิ นส์
• สิ งคโปร์
ประชากร
พืน้ ที่
ศาสนาหลัก
GDP รวม
การค้ ารวม
: ๖๐๐ ล้ านคน
: ๔.๕ ล้ าน ตาราง กม.
: อิสลาม พุทธ คริสต์ ฮินดู
: ๑.๕ ล้ านล้ านเหรียญสหรัฐ
: ๑.๘ ล้ านล้ านเหรียญสหรัฐ
สมาชิกเพิม่ เติม
+ บรูไน ดารุ สซาลาม ปี ๒๕๒๗
+ เวียดนาม ปี ๒๕๓๘
+ ลาว ปี ๒๕๔๐
+ พม่ า ปี ๒๕๔๐
+ กัมพูชา ปี ๒๕๔๒
หลังการก่อตัง้ อาเซียนในปี ๒๕๑๐...
อาเซียนมีประเทศสมาชิกทั้งหมด ๑๐ ประเทศ
 อาเซียนมีประเทศสมาชิกทั้งหมด ๑๐ ประเทศ ได้ แก่ บรูไนดารุสซาราม กัมพูชา
อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย พม่ า ฟิ ลิปปิ นส์ สิ งคโปร์ ไทย และเวียดนาม
สั ญลักษณ์ ของอาเซียน คือ รูปรวงข้ าวสี เหลือง
บนพืน้ สี แดงล้ อมรอบด้ วยวงกลมสี ขาวและสี น้าเงิน
สี นา้ เงิน :
สี แดง :
สี เหลือง :
สี ขาว :
สั นติภาพและความมั่นคง
ความกล้ าหาญและก้ าวหน้ า
ความเจริญรุ่ งเรือง
ความบริสุทธิ์
รวงข้ าว ๑๐ ต้ น คือ ๑๐ ประเทศรวมกันเพือ่ มิตรภาพและความเป็ นนา้ หนึ่งใจเดียว
วงกลม
แสดงถึงความเป็ นเอกภาพ
วันอาเซียน
๘ สิ งหาคม
วัตถุประสงค์ของอาเซียน





ส่ งเสริมความเข้ าใจอันดีระหว่ างประเทศสมาชิก
ธารงสั นติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคง
เสริมสร้ างเศรษฐกิจและความอยู่ดีกนิ ดีของประชาชน
พัฒนาสั งคมและวัฒนธรรม
ส่ งเสริมความร่ วมมือกับภายนอก และองค์ การระหว่ างประเทศต่ างๆ
หลักการพื้นฐานของอาเซียน
 การตัดสิ นใจโดยใช้ ฉันทามติ (Consensus)
 การไม่ แทรกแซงในกิจการภายในของกันและกัน (Non-interference)
 การร่ วมมือเพือ่ พัฒนาความเป็ นอยู่ของประชาชน (Prosperity)
สูก่ ารเป็ นประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘
 การประชุ ม สุ ด ยอดผู้ น าอาเซี ย นครั้ ง ที่ ๙
เมื่ อ ต.ค.๔๖ ที่ บ าหลี ประเทศอิ น โดนี เ ซี ย
ผู้นาอาเซียนได้ ลงนามในปฏิญญาว่ าด้ วยความร่ วมมืออาเซียน ( Declaration of ASEAN Concord II
หรือ Bali Concord ) เห็นชอบให้ มีการจัดตั้ง ประชาคมอาเซี ยน( ASEAN Community )
ภายในปี ๒๕๖๓
สูก่ ารเป็ นประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘
 ต่ อมาการประชุ มสุ ดยอดผู้นาอาเซียนครั้งที่ ๑๒ เมือ่ ม.ค.๕๐ ทีเ่ ซบู ประเทศฟิ ลิปปิ นส์
ได้ ตกลง ให้ มกี ารจัดตั้งประชาคมอาเซียนให้ แล้ วเสร็จเร็วขึน้ ภายในปี ๒๕๕๘
ทาไมจึงจาเป็ นต้องสร้างประชาคมอาเซียน
 ในยุคโลกาภิวตั น์ ทสี่ ถานการณ์ โลกเปลีย่ นแปลงไปอย่ างรวดเร็ว ประเทศต่ างๆ ให้ ความสาคัญกับการ
ร ว ม ตั ว กั น ใ น ภู มิ ภ า ค เ พื่ อ เ พิ่ ม อ า น า จ ต่ อ ร อ ง แ ล ะ เ พิ่ ม ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ
ในการแข่ ง ขั น ในเวที ร ะหว่ า งประเทศ ขณะที่ ปั ญ หาหลายอย่ า งซึ่ ง เคยเป็ นปั ญ หาในประเทศ
กลับ ขยายวงกว้ า งขึ้น เป็ นปั ญ หาระหว่ า งประเทศ อาทิ ปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ ม ภั ย พิบั ติ ท างธรรมชาติ
โรคติ ด ต่ อ อาชญากรรมข้ า มชาติ หรื อ แม้ แ ต่ ปั ญ หายาเสพติ ด อาเซี ย นจึ ง ต้ อ งปรั บ ตั ว ให้ เ ท่ า ทั น
ส ถ า น ก า ร ณ์ เ พื่ อ ใ ห้ ส า ม า ร ถ รั บ มื อ กั บ ค ว า ม เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ต่ า ง ๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น
ได้ อย่ างทันท่ วงที
กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter)
• เป็ นเสมือนธรรมนูญของอาเซียนทีจ่ ะวางกรอบทางกฎหมายและ
โครงสร้ างองค์ กร
• มีเป้าหมาย ๓ ประการ คือ
 เป็ นองค์ กรทีม่ ีประสิ ทธิภาพ
 มีกฎกติกาในการทางาน (Rules-based)
 มีประชาชนเป็ นศูนย์ กลาง
• ประกอบด้ วยข้ อบทต่ างๆ ๑๓ บท ๕๕ ข้ อ
• มีผลใช้ บังคับเมื่อ ๑๕ ธ.ค.๕๑
กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter)
• ให้ อานาจเลขาธิการอาเซียนสอดส่ องและรายงานการทาตามความตกลงของรัฐ
สมาชิก
• จัดตั้งกลไกสาหรับการระงับข้ อพิพาทต่ างๆ ระหว่ างประเทศสมาชิก
• เพิม่ บทบาทของประธานอาเซียน เพือ่ ให้ อาเซียนสามารถตอบสนองต่ อ
สถานการณ์ ฉุกเฉินได้ อย่ างทันท่ วงที
โครงสร้างภายใต้กฎบัตรอาเซียน
ประชาคมการเมือง
ความมัน่ คงอาเซียน
( APSC )
ประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน
( AEC )
เสาหลักของอาเซียน
ประชาคม
สั งคมวัฒนธรรมอาเซียน
( ASCC )
ประชาคมการเมืองและความมั ่นคงอาเซียน
(ASEAN Political and Security Community – APSC)
• มีวตั ถุประสงค์ ทจี่ ะทาให้ ประเทศใน
ภูมิภาคอยู่อย่ างสั นติสุข แก้ไขปัญหา
ภายในภูมิภาคโดยสั นติวธิ ี และยึดมั่นใน
หลักความมั่นคงรอบด้ าน
• ปฏิญญาว่ าด้ วยเขตสั นติภาพและวางตน
เป็ นกลาง (ปี ๒๕๑๔)
• ปฏิญญาว่ าด้ วยทะเลจีนใต้ (ปี ๒๕๓๕)
ประชาคมการเมืองและความมั ่นคงอาเซียน
(ASEAN Political and Security Community – APSC)
• ริ เริ่ มการประชุ มว่ าด้ วยความร่ วมมือด้ านการเมืองและความมั่นคงในภู มิภาค
เอเชี ย -แปซิ ฟิก (ASEAN Regional Forum-ARF) ซึ่ งจัดเป็ นครั้ งแรกที่
กรุ งเทพฯ เมือ่ ปี ๒๕๓๗
• จัดทาสนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ ในปี ๒๕๓๘
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
(ASEAN Economic Community-AEC)
• มีวตั ถุประสงค์ เพือ่ ทาให้ อาเซียน
เป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียว
มีการเคลือ่ นย้ายสิ นค้ า บริการ การ
ลงทุน เงินทุน และแรงงานมีฝีมือ
อย่างเสรี
• จัดตั้งเขตการค้ าเสรีอาเซียน
(ASEAN Free Trade AreaAFTA) ในปี ๒๕๓๕
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
(ASEAN Socio-Cultural Community – ASCC)
• มุ่งหวังเป็ นประชาคมที่มีประชาชนเป็ นศู นย์ กลาง มีสังคมที่เอื้ออาทรและแบ่ งปั น
ประชากรมีสภาพความเป็ นอยู่ที่ดีและมีการพัฒนาในทุกด้ านเพื่อยกระดับคุณภาพ
ชีวติ ของประชาชน ส่ งเสริมการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่ างยัง่ ยืน
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
(ASEAN Socio-Cultural Community – ASCC)
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในแต่ละเสาหลักอาเซียน
เสาการเมืองความมั่นคง
• กลาโหม
• มหาดไทย
• แรงงาน
• สานักงานตารวจ
แห่ งชาติ
• อัยการสู งสุ ด
• คณะกรรมการสิ ทธิ
มนุษยชน
• สมาคมอาเซียน-ปทท.
• CSCAP
ฯลฯ
เสาเศรษฐกิจ
เสาสั งคมและวัฒนธรรม
• พาณิชย์
• การคลัง
• เกษตรและสหกรณ์
• พลังงาน
• อุตสาหกรรม
• เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่ อสาร
• การท่ องเทีย่ วและกีฬา
ฯลฯ
• การท่ องเทีย่ วและกีฬา
• ศึกษาธิการ
• วัฒนธรรม
• การพัฒนาสั งคมและ
ความมัน่ คงมนุษย์
• วิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยี
• สาธารณสุ ข
ฯลฯ
คณะกรรมการอาเซียนแห่ งชาติ (๒๘ คน)
รมว.กต. เป็ นประธานฯ, อธิบดีกรมอาเซียน เป็ นกรรมการและเลขาฯ
๒. แนวทางปฏิบัตขิ อง กห. ในการรองรับการจัดตั้งประชาคม
อาเซียนในปี ๒๕๕๘
27
๒. แนวทางปฏิบัตขิ อง กห. ในการรองรับการจัดตั้งประชาคม
อาเซียนในปี ๒๕๕๘
เป้าหมายในการดาเนินการ
กห. สามารถปฏิบัติภารกิจได้ อย่ างมีประสิ ทธิ ภาพ มี การ
วางแผนในการเตรี ยมการด้ านกาลังพล ยุทโธปกรณ์ งบประมาณ
และการบริ ห ารจัด การต่ า งๆ ได้ อ ย่ า งสอดคล้ อ งกับ นโยบายและ
ยุทธศาสตร์ ที่เกี่ยวข้ อง และรองรั บในการจัดตั้งประชาคมอาเซี ยน
ในปี ๒๕๕๘
28
๒. แนวทางปฏิบัตขิ อง กห. ในการรองรับการจัดตั้งประชาคม
อาเซียนในปี ๒๕๕๘
การมี ส่ วนร่ วมของ กห. ในการจั ด ตั้ ง ประชาคมอาเซี ย น
สามารถแบ่ งออกเป็ น ๒ บทบาท ได้ แก่
๑. การมีส่วนในการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘
๒. การมีส่วนในการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมัน่ คง
อาเซียน
29
กห. กับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘
การดาเนินการ ๓ ด้ าน ๗ แนวทาง
๑. แนวทางการพัฒนาด้ านกาลังพล จานวน ๑ แนวทาง
๒. แนวทางการพัฒนาด้ านการจัดทางบประมาณ
จานวน ๑ แนวทาง
๓. แนวทางการพัฒนาด้ านการบริหารจัดการ
จานวน ๕ แนวทาง
30
กห. กับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘
ลาดับ
แนวทาง
ก. การพัฒนาด้ านกาลังพล
พัฒนาการฝึ กและศึกษา การใช้ ภาษาอังกฤษ และภาษา
ของชาติในอาเซี ยนของกาลังพลในกองทัพให้ สามารถ
บู ร ณาการองค์ ค วามรู้ ได้ อย่ า งประสานสอดคล้ อ ง
เชื่อมโยงซึ่งกันและกัน เช่ น การพัฒนารู ปแบบในการฝึ ก
ร่ วมผสม หรื อ การปรั บ ปรุ งหลัก สู ต ร รร.สธ.เหล่ าทั พ
เพื่อ ให้ ร องรั บ นายทหารนั ก เรี ย นต่ า งชาติใ นอาเซี ย น
ได้ มากขึน้ เป็ นต้ น
หน่ วยรับผิดชอบหลัก หน่ วยรับผิดชอบ
บก.ทท.
ปี งบประมาณ
หมายเหตุ
๕๖ ๕๗ ๕๘
สป.
และเหล่าทัพ
31
กห. กับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘
ลาดับ
แนวทาง
ข. การพัฒนาด้ านการจัดทา
งบประมาณ
หน่ วยรับผิดชอบหลัก หน่ วยรับผิดชอบ
สป.
ปี งบประมาณ
หมายเหตุ
๕๖ ๕๗ ๕๘
บก.ทท.
และเหล่าทัพ
ปรับปรุงแผนปฏิบัตริ าชการ ๔ ปี ของ กห. และนขต.กห.
(ปี ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘) และแผนปฏิบัติราชการประจาปี
ให้ สามารถตอบสนองและสามารถรองรั บต่ อภารกิจใน
ความรับผิดชอบ และสนับสนุนการรวมตัวเป็ นประชาคม
อาเซียนในปี ๒๕๕๘ ได้ อย่ างเป็ นรูปธรรม
32
กห. กับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘
ลาดับ
แนวทาง
หน่ วยรับผิดชอบหลัก หน่ วยรับผิดชอบ
ปี งบประมาณ
หมายเหตุ
๕๖ ๕๗ ๕๘
ค. การพัฒนาด้ านการบริหารจัดการ
๑ ) บู ร ณ า ก า ร ใ น กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ ข อ ง อ า เ ซี ย น
ที่ ไ ด้ มี ก า ร จั ด ท า ไ ว้ อ ยู่ แ ล้ ว เ ช่ น ก า ร ป ร ะ ชุ ม
ผู้บั ญชาการทหารสู ง สุ ด อาเซี ย นอย่ างไม่ เป็ นทางการ
การประชุ ม ผบ.เหล่ า ทั พ อาเซี ย น การแข่ ง ขั น ยิ ง ปื น
อาเซียน การประชุ ม จก.ขว.ทหารอาเซี ยนอย่ างไม่ เป็ น
ทางการ การประชุ ม จก.ยก.ทหารอาเซี ยนอย่ างไม่ เป็ น
ทางการ เป็ นต้ น โดยให้ รายงานผ่ าน บก.ทท. และน า
เรียนรมว.กห. เพือ่ กรุณาทราบ
ACAMM
บก.ทท.
สป.
และเหล่าทัพ
PACC/PAMS
33
กห. กับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘
ลาดับ
แนวทาง
หน่ วยรับผิดชอบหลัก หน่ วยรับผิดชอบ
ปี งบประมาณ
หมายเหตุ
๕๖ ๕๗ ๕๘
ค. การพัฒนาด้ านการบริหารจัดการ (ต่ อ)
๒) ด าเนิ นการตามเอกสารแนวความคิด ในกรอบการ
ประชุ ม รมว.กห. อาเซียน (ASEAN Defence Ministers’
Meeting: ADMM) และกรอบการประชุ ม รมว.กห.
อาเซียนกับ รมว.กห.ประเทศคู่เจรจา (ASEAN Defence
Ministers’ Meeting - Plus : ADMM – Plus) ทั้ง ๙ ฉบับ
ให้ เ กิ ด ผล เป็ นรู ปธ รร มโ ดย การจั ด ท าแผน งาน
งบประมาณเพื่ อ รองรั บ ทั้ ง ๙ ด้ าน ก าหนดไว้ ใน
แผนปฏิ บั ติราชการ ๔ ปี ของ กห. และ นขต.กห. (ปี
๒๕๕๕ – ๒๕๕๘) และแผนปฏิบัติราชการประจาปี ของ
กห. และ นขต.กห.(ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ และปี
๒๕๕๘)
สป.
บก.ทท.
และเหล่าทัพ
34
กห. กับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘
ลาดับ
แนวทาง
หน่ วยรับผิดชอบหลัก หน่ วยรับผิดชอบ
ปี งบประมาณ
หมายเหตุ
๕๖ ๕๗ ๕๘
ค. การพัฒนาด้ านการบริหารจัดการ (ต่ อ)
๓) จัดตั้งกลไกในการดาเนินการขับเคลือ่ นความร่ วมมือ
ในกรอบอาเซียน และพิจารณาปรับปรุ งแก้ ไขกลไกหรื อ
กฎระเบียบต่ างๆ ที่มีอยู่แล้วให้ มีความเหมาะสมเพือ่ เพิม่
ประสิ ท ธิ ภ าพ รวมถึ ง อาจจัด ตั้ ง หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วกับ
การสร้ างความไว้ เนื้อเชื่ อใจ สถาบันด้ านการศึ ก ษาและ
วิ จั ย งานด้ า นอาเซี ย นเพิ่ ม เติ ม หรื อ มี ก ารปรั บ ปรุ ง
กฎระเบียบต่ าง ๆ ที่ล้าสมัยเพือ่ รองรับการเป็ นประชาคม
อาเซียน เป็ นต้ น
สป.
บก.ทท.
และเหล่าทัพ
35
กห. กับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘
ลาดับ
แนวทาง
หน่ วยรับผิดชอบหลัก หน่ วยรับผิดชอบ
ปี งบประมาณ
หมายเหตุ
๕๖ ๕๗ ๕๘
ค. การพัฒนาด้ านการบริหารจัดการ (ต่ อ)
๔) ปรั บปรุ งแผนป้ องกันประเทศ และภารกิจของกอง
กาลังป้ องกันชายแดนให้ สอดคล้ องกับการเป็ นประชาคม
อาเซี ยน ในปี ๒๕๕๘ ด้ วยการเตรี ยมความพร้ อมของ
หน่ วย ยุท โธปกรณ์ บุ คลากร ให้ มีความเป็ นสากลและ
สามารถรองรั บการแก้ ไขปัญหาร่ วมกันของอาเซี ยนใน
ภาพรวมได้
บก.ทท.
สป.
และเหล่าทัพ
36
กห. กับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘
ลาดับ
แนวทาง
หน่ วยรับผิดชอบหลัก หน่ วยรับผิดชอบ
ปี งบประมาณ
หมายเหตุ
๕๖ ๕๗ ๕๘
ค. การพัฒนาด้ านการบริหารจัดการ (ต่ อ)
๕) สนั บ สนุ น การเป็ นประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น
และประชาคมสั งคมและวัฒนธรรมอาเซี ยนด้ วยการใช้
ศั ก ย ภ า พ แ ล ะ ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ที่ มี อ ยู่ ข อ ง
กระทรวงกลาโหม
สป.
บก.ทท.
และเหล่าทัพ
37
๒. แนวทางปฏิบัตขิ อง กห. ในการรองรับการจัดตั้งประชาคม
อาเซียนในปี ๒๕๕๘
กห. ได้ นาแผนการดาเนินงาน ๓ ด้ าน ๗ แนวทาง
ของ สป., บก.ทท., ทบ., ทร, และ ทอ. มาจัดทาเป็ น
แผนปฏิบัติการ ๓ ปี กห. (ปี ๕๖ – ๕๘) ในการเตรียมความพร้ อม
เข้ าสู่ ประชาคมอาเซียน ปี ๒๕๕๘
38
กห. การจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน
การดาเนินการตามเอกสารแนวความคิด (Concept Paper)
ในกรอบการประชุม ADMM และ ADMM – Plus จานวน ๙ ฉบับ
39
กห. การจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน
ADMM คือ การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน
( ASEAN Defence Ministers’ Meeting : ADMM )
40
การประชุม รมว.กห.อาเซียน ( ADMM )
ADMM คือ การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน
( ASEAN Defence Ministers’ Meeting : ADMM )
 ผู้เข้ าร่ วมการประชุ มฯ ประกอบด้ วย รมว.กห. หรือผู้แทนของประเทศสมาชิก
อาเซียน ๑๐ ประเทศและเลขาธิการอาเซียน
 มีวตั ถุประสงค์ เพือ่ เสริมสร้ างสั นติภาพและความมัน่ คงในภูมภิ าค ให้ คาแนะนา
และเสนอแนวทางต่ อเวทีการหารือและความร่ วมมือทีม่ ีอยู่แล้ วของเจ้ าหน้ าที่
ระดับสู งภายในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน และระหว่ างกลุ่มประเทศสมาชิก
อาเซียนกับประเทศอืน่ ๆ
ความร่ ว มมื อ อาเซี ย นในกรอบการทหาร เป็ นไปในลัก ษณะของการหารื อ
เพื่อเสริมสร้ างความไว้ เนื้อเชื่ อใจเป็ นหลัก โดยมี การประชุ มรัฐมนตรีกลาโหม
อาเซียน ( ASEAN Defense Ministers’ Meeting : ADMM ) ซึ่งเป็ นกลไก
สาคัญในการกระชับความร่ วมมือ
กห. การจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน
ADMM - Plus คือ การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับ
รัฐมนตรีกลาโหมประเทศคู่เจรจา
( ASEAN Defence Ministers’ Meeting - Plus : ADMM - Plus )
โดย มีประเทศคู่เจรจา ๘ ประเทศ ได้แก่
ออสเตรเลีย จีน อินเดีย ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ นิวซีแลนด์ รัสเซีย และสหรัฐฯ
44
กห. การจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน
ADMM - Plus จานวน ๕ ฉบับ (ตั้งคณะทางานผู้เชี่ยวชาญฝ่ ายไทยแล้ว)
๑. เอกสารแนวความคิดว่ าด้ วยการจัดตั้งคณะทางานผู้เชี่ยวชาญด้ านความมัน่ คงทางทะเล
(ADMM – Plus: Maritime Security Working Group Concept Paper)
๒. เอกสารแนวความคิดว่ าด้ วยการจัดตั้งคณะทางานผู้เชี่ยวชาญด้ านการให้ ความช่ วยเหลือ
ด้ านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบตั ิ
(ADMM – Plus: Concept Paper for the Establishment an Experts’ Working Group
on Humanitarian Assistance and Disaster Relief (HADR))
๓. เอกสารแนวความคิดว่ าด้ วยการจัดตั้งคณะทางานผู้เชี่ยวชาญด้ านการปฏิบัติการรักษาสั นติภาพ
(ADMM – Plus: Work Plan of the Experts’ Working Group on Peacekeeping Operations)
๔. เอกสารแนวความคิดว่ าด้ วยการจัดตั้งคณะทางานผู้เชี่ยวชาญด้ านการแพทย์ ทางทหาร
(ADMM – Plus: Experts’ Working Group on Military Medicine work plan)
๕. เอกสารแนวความคิดว่ าด้ วยการจัดตั้งคณะทางานผู้เชี่ยวชาญด้ านการต่ อต้ านการก่ อการร้ าย
(ADMM – Plus: Concept Paper for the Counter Terrorism Experts’ Working Group)
45
กห. การจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน
ADMM จานวน ๔ ฉบับ
๑. เอกสารแนวความคิดเรื่องความร่ วมมือระหว่ างกลาโหมอาเซียนกับองค์ กรภาคประชาสั งคม
ในด้ านความมัน่ คงรูปแบบใหม่
(Concept Paper on ASEAN Defence Establishments and Civil Society Organisations (CSOs)
Cooperation on Non – Traditional Security)
(อยู่ระหว่ างการจัดตั้งคณะทางานฝ่ ายไทย)
๒. เอกสารแนวความคิดเรื่องการใช้ ทรัพยากรและศักยภาพทางทหารอาเซียน
ในการให้ ความช่ วยเหลือทางมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ
(Concept Paper on the Use of ASEAN Military Assets and Capacities
in Humanitarian Assistance and Disaster Relief)
(อยู่ระหว่ างการจัดตั้งคณะทางานฝ่ ายไทย)
๓. เอกสารแนวความคิดว่ าด้ วยความร่ วมมือด้ านอุตสาหกรรมป้ องกันประเทศในกรอบอาเซียน
(Concept Paper on ASEAN DefenceIndustry Collaboration)
(มอบหมายให้ ศอพท. เป็ นหน่ วยรับผิดชอบในการดาเนินการโดยคณะกรรมการอุตสาหกรรมป้ องกันประเทศ กห.)
๔. เอกสารแนวความคิดว่ าด้ วยการจัดตั้งเครือข่ ายศูนย์ ปฏิบตั ิการรักษาสั นติภาพในกรอบอาเซียน
(Concept Paper on the Establishment of ASEAN Peacekeeping Centers Network)
46
(อยู่ระหว่ างการจัดตั้งคณะทางานฝ่ ายไทย)
กห. การจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน
เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตัง้ คณะทางานผูเ้ ชี่ยวชาญ
เอกสารแนวความคิดเรื่องความร่วมมือระหว่างกลาโหมอาเซียน
ด้านความมันคงทางทะเล
่
(ADMM – Plus:
กับองค์กรภาคประชาสังคมในด้านความมันคงรู
่
ปแบบใหม่ Maritime Security Working Group Concept Paper)
(Concept Paper on ASEAN Defence Establishments
(จัดตัง้ คณะทางานผูเ้ ชี่ยวชาญฝ่ ายไทยแล้ว)
and Civil Society Organisations (CSOs)
เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตัง้
Cooperation on Non – Traditional Security)
คณะทางานผูเ้ ชี่ยวชาญ
(อยู่ระหว่างการจัดตัง้ คณะทางานฝ่ ายไทย)
เอกสารแนวความคิดเรื่องการใช้ทรัพยากรและศักยภาพ
ด้านการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและ
ทางทหารอาเซียนในการให้ความช่วยเหลือทางมนุษยธรรม
การบรรเทาภัยพิบตั ิ
และการบรรเทาภัยพิบตั ิ
(ADMM – Plus: Concept Paper for the
Establishment
anดตัง้ คณะทางาน
ิ ดว่าด้วยการจั
Concept Paper on the Use of ASEAN Military Assets and เอกสารแนวความค
Working Group on Humanitarian
Capacities in Humanitarian Assistance and Disaster Relief) Experts’
ิ บตั ิ การรักษาสันติภาพ
ผูเ้ ชี่ยวชาญด้
านการปฏ
Assistance
(อยู่ระหว่างการจัดตังิ ้ คณะทางานฝ่ ายไทย)
เอกสารแนวความคดว่าด้วยความร่วมมือ
(ADMM – Plus: and
Work
Plan ofRelief
the Experts’
Working Group
Disaster
(HADR))
on Peacekeeping
Operations)
(ตัง้ คณะท
างานผูเ้ ชี่ยวชาญฝ่
ายไทยแล้ว)
ด้านอุตสาหกรรมป้ องกันประเทศในกรอบอาเซียน
(จัดตัง้ คณะทางานผูเ้ ชี่ยวชาญฝ่ ายไทยแล้ว)
(Concept Paper on ASEAN Defence
เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตัง้ คณะทางาน
Industry Collaboration)
ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการแพทย์ทางทหาร
(มอบหมายให้ ศอพท. เป็ นหน่ วยรับผิดชอบในการดาเนินการ
(Experts’ Working Group on Military Medicine work plan)
โดยคณะกรรมการอุ
ตสาหกรรมป้
องกัดนตัประเทศ
ิ ดว่าด้วยการจั
เอกสารแนวความค
ง้ เครือข่ากห
ย .)
(จัดตัง้ คณะทางานผูเ้ ชี่ยวชาญฝ่ ายไทยแล้ว)
ศูนย์ปฏิบตั ิ การรักษาสันติภาพในกรอบอาเซียน
เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการจัดตัง้ คณะทางาน
(Concept Paper on the Establishment of ASEAN
ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการต่อต้านการก่อ
Peacekeeping Centers Network)
การร้าย (ADMM – Plus: Concept Paper for
(อยู่ระหว่างการจัดตัง้ คณะทางานฝ่ ายไทย)
47
the Counter Terrorism Experts’ Working Group)
กห. การจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน
ภาพรวมคณะกรรมการและคณะทางานของ กห. (๑๐ คณะ)
คณะกรรมการอาเซียน กห.
(อยู่ระหว่ างการจัดตั้ง)
เอกสารแนวความคิดเรื่องความร่ วมมือระหว่างกลาโหมอาเซียน
กับองค์ กรภาคประชาสั งคมในด้ านความมั่นคงรู ปแบบใหม่
(อยู่ระหว่ างการจัดตั้งคณะทางานฝ่ ายไทย)
เอกสารแนวความคิดเรื่องการใช้ ทรัพยากรและศักยภาพ
ทางทหารอาเซียนในการให้ ความช่ วยเหลือทางมนุษยธรรม
และการบรรเทาภัยพิบัติ
(อยู่ระหว่ างการจัดตั้งคณะทางานฝ่ ายไทย)
เอกสารแนวความคิดว่าด้ วยความร่ วมมือ
ด้ านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศในกรอบอาเซียน
(มอบหมายให้ ศอพท. เป็ นหน่ วยรับผิดชอบในการดาเนินการ
โดยคณะกรรมการอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ กห.)
เอกสารแนวความคิดว่าด้ วยการจัดตั้งเครือข่ าย
ศูนย์ ปฏิบัติการรักษาสั นติภาพในกรอบอาเซียน
(อยู่ระหว่ างการจัดตั้งคณะทางานฝ่ ายไทย)
เอกสารแนวความคิดว่ าด้ วยการจัดตั้งคณะทางานผู้เชี่ ยวชาญ
ด้ านความมั่นคงทางทะเล
(จัดตั้งคณะทางานผู้เชี่ ยวชาญฝ่ ายไทยแล้ ว)
เอกสารแนวความคิดว่ าด้ วยการจัดตั้งคณะทางานผู้เชี่ ยวชาญ
ด้ านการให้ ความช่ วยเหลือด้ านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ
(ตั้งคณะทางานผู้เชี่ ยวชาญฝ่ ายไทยแล้ ว)
เอกสารแนวความคิดว่าด้ วยการจัดตั้งคณะทางานผู้เชี่ ยวชาญ
ด้ านการปฏิบัติการรักษาสั นติภาพ
(จัดตั้งคณะทางานผู้เชี่ ยวชาญฝ่ ายไทยแล้ ว)
เอกสารแนวความคิดว่าด้ วยการจัดตั้งคณะทางานผู้เชี่ ยวชาญ
ด้ านการแพทย์ทางทหาร
(จัดตั้งคณะทางานผู้เชี่ ยวชาญฝ่ ายไทยแล้ ว)
เอกสารแนวความคิดว่าด้ วยการจัดตั้งคณะทางานผู้เชี่ ยวชาญ
ด้ านการต่ อต้ านการก่อการร้ าย
(จัดตั้งคณะทางานผู้เชี่ ยวชาญฝ่ ายไทยแล้ ว)
48
สรุปภาพรวมแผนผังการประชุมที่เกี่ยวข้องในกรอบประชาคมอาเซียน
กฎบัตรอาเซียน
ACAMM
AAFCC
ANI
ACDFIM
Meeting
AMIIM
AWGSC
ADSOM
ADMM
SOM
AMM
ARF ISG DOD
(ASEAN CHARTER)
นโยบายด้านการต่างประเทศของรัฐบาล
ASEAN Summit
ASEAN Coordinating Council
กระทรวงอื่นๆ
หน่วยงานอื่นๆ
การประสานงาน
กิจกรรมและ
การประชุมต่างๆ
ในกรอบ ASEAN
การประสานงาน
ASPC
ARF ISM on ...
ARF DOD
-
กห.
การประชุมห้วง
เดียวกัน
ARF MM
ARF DOD
ARF SOM
Chiefs of Armies Multilateral Meeting
Air Force Chiefs Conference
Navies’ Interaction
Chiefs of Defence Forces Informal
ASEAN Socio - Cultural
Community Council
ASEAN Political-Security
Community Council
กต.
ASEAN
ASEAN
ASEAN
ASEAN
ASEAN Military Intelligence Informal Meeting
ASEAN Working Group on Security Cooperation
ASEAN Defence Senior Officials Meeting
ASEAN Defence Ministers Meeting
ASEAN Senior Official’s Meeting
ASEAN Minister’s Meeting
ASEAN Regional Forum Inter - Sessional Group
Meeting Defence Official’s Dialogue
ARF SOM DOD - ASEAN Regional Forum Senior Official’s
Meeting Defence Official’s Dialogue
ASPC
- ASEAN Regional Forum Security Policy
Conference
ARF
- ASEAN Regional Forum
ความร่วมมือในกรอบอาเซียน (ASEAN)
ASEAN Economic
Community Council
-
ADMM
ADMM-Plus
ADSOM
ADSOM-Plus
ADSOM WG
ADSOM-PLUS
WG
AMM
ASEAN SOM
ACDFIM
AMIIM
ARF ISG on
CMBs
ARF DOD
ACAMM
* ACDFIM = ASEAN CHIEF OF DEFENCE FORCES INFORMAL MEETING
ANI
AAFCC
Experts’ WG
กองทัพไทยกับความร่วมมือด้านความมั ่นคงอาเซียน
• การให้ ความช่ วยเหลือด้ านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ
( Humanitarian Assistance and Disaster Relief : HADR )
• ความมั่นคงทางทะเล ( Maritime Security )
• การต่ อต้ านการก่อการร้ าย ( Counter – Terrorism )
• การปฏิบัติการรักษาสั นติภาพ ( Peace Keeping )
• ความร่ วมมือทางการแพทย์ ทหาร ( Military Medicine )
๓. แผนการเปลีย่ นผ่ านไปสู่ ประชาคมอาเซียน – ทบ.
แนวทางปฏิบัติของ กห. ในการรองรับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘
(หนังสื อ ยก.ทบ. ด่ วนมาก ที่ ๐๔๐๓/๑๑๘๐๔ ลง ๔ ก.ย. ๕๕)
แนวทางปฏิบัติของ ทบ. ในการรองรับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘
(หนังสื อ ยก.ทบ. ด่ วนมาก ที่ ๐๔๐๓/๑๒๘๐๓ ลง ๕ ก.ย. ๕๕)
แนวทางการจัดทาแผนของ ทบ. ในการการเปลีย่ นผ่ านไปสู่
การเป็ นประชาคมอาเซียน
(หนังสื อ ยก.ทบ. ด่ วนทีส่ ุ ด ที่ ๐๔๐๓/๑๕๑๔๘ ลง ๑๙ ต.ค. ๕๕)
แผนการเปลีย่ นผ่ านไปสู่ ประชาคมอาเซียน – ทบ.
(หนังสื อ ยก.ทบ. ด่ วนมาก ที่ ๐๔๐๓/๒๓๖ ลง ๔ ม.ค. ๕๖)
51
๓. แผนการเปลีย่ นผ่ านไปสู่ ประชาคมอาเซียน – ทบ.
ประกอบด้ วย ๓ ส่ วน
๑. บทสรุปผู้บริหาร
๒. แผนการเปลีย่ นผ่ านไปสู่ ประชาคม
อาเซียน – ทบ.
๓. ผนวก ประกอบแผนฯ
52
๓. แผนการเปลีย่ นผ่ านไปสู่ ประชาคมอาเซียน – ทบ.
แผนการเปลีย่ นผ่ านไปสู่ ประชาคมอาเซียน – ทบ.
๑. ความเป็ นมา และความรู้ ทวั่ ไปเกีย่ วกับประชาคมอาเซียน
๒. แนวทางปฏิบัติของ กห. ในการรองรับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘
๓. ผลกระทบต่ อความมั่นคงของไทยและบทบาทหน้ าที่ของ ทบ.
๔. การประเมินภัยคุกคามทีเ่ กิดขึน้ จากเป็ นประชาคมอาเซียน
๕. นโยบายของหน่ วยเหนือที่เกีย่ วข้ อง
๖. วัตถุประสงค์ ในการเตรียมความพร้ อมของ ทบ.
๗. การกาหนดความเร่ งด่ วนของกรอบความร่ วมมือและเสริมสร้ างความสั มพันธ์ กบั
ประเทศอาเซียน
๘. วิสัยทัศน์ และพันธกิจ
๙. แนวทางการดาเนินการโดยทั่วไป
๑๐. แนวทางการดาเนินการเฉพาะด้ าน
53
๓. แผนการเปลีย่ นผ่ านไปสู่ ประชาคมอาเซียน – ทบ.
๑. ความเป็ นมา และความรู้ ทวั่ ไปเกีย่ วกับประชาคมอาเซียน
ความเป็ นมาของอาเซียน
วัตถุประสงค์ ในการก่อตั้งประชาคมอาเซียน
กฎบัตรอาเซียน
โครงสร้ างและกลไกการดาเนินงานขององค์กรของอาเซียน
เสาหลักประชาคมอาเซียน
ปัญหาและอุปสรรคทีส่ าคัญของประชาคมอาเซียน
54
๓. แผนการเปลีย่ นผ่ านไปสู่ ประชาคมอาเซียน – ทบ.
๒. แนวทางปฏิบัติของ กห.
ในการรองรับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘
การมีส่วนร่ วมของ กห. ทั้ง ๒ บทบาท
๑. การจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ ประกอบด้ วย
•แนวทางการพัฒนาด้ านกาลังพล (๑ แนวทาง)
•แนวทางการพัฒนาด้ านการจัดทางบประมาณ (๑ แนวทาง)
• แนวทางการพัฒนาด้ านการบริหารจัดการ (๕ แนวทาง)
(มี สป. และ ทท. เป็ นหน่ วยรับผิดชอบหลัก)
๒. การจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ได้ แก่
การดาเนินการตามเอกสารแนวความคิด (Concept Paper) ใน
กรอบการประชุ ม ADMM และ ADMM – Plus จานวน ๙ ฉบับ
55
๓. แผนการเปลีย่ นผ่ านไปสู่ ประชาคมอาเซียน – ทบ.
๓. ผลกระทบต่ อความมั่นคงของไทยและบทบาทหน้ าที่ของ ทบ.
กล่ าวถึง ผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ จากการเป็ นประชาคมอาเซียน แบ่ งได้ ๒ ลักษณะ
๑. ผลกระทบต่ อการปรับปรุ งและพัฒนา ทบ.
การมีส่วนร่ วมของ ทบ. ในการดาเนินงานความร่ วมมือด้ านความมัน่ คงทีเ่ พิ่มมากขึน้
จึงถือเป็ นโอกาสอันดีที่ ทบ. จะได้ พฒ
ั นาและเพิม่ ขีดความสามารถของหน่ วยงาน และกองทัพ
เพือ่ เข้ าร่ วมการดาเนินงานความร่ วมมือในเรื่องต่ างๆ อาทิ
- การให้ ความช่ วยเหลือด้ านมนุษยธรรมและบรรเทาภัยพิบตั ิ
- การต่ อต้ านการก่ อการร้ าย
- การปฏิบตั ิการรักษาสั นติภาพ
- การแพทย์ ทางทหาร
- ฯลฯ
๒. ผลกระทบที่ก่อให้ เกิดความท้ าทายกับ ทบ.
ปัญหาภัยคุกคามทีเ่ กิดจากการกระทาผิดกฎหมาย เพือ่ แสวงหาผลประโยชน์ ในเรื่อง
ต่ างๆ จากการเป็ นประชาคมอาเซียนซึ่ง ทบ. จาเป็ นต้ องพิจารณาเตรียมการเพือ่ รองรั บกับภัย
คุกคามในลักษณะดังกล่ าว อาทิ
- ปัญหายาเสพติด
- ปัญหาการลักลอบเข้ าเมืองโดยผิดกฎหมาย
- ปัญหาอาชญากรรมข้ ามชาติ - ปัญหาการก่ อการร้ าย
- ปัญหาการลักลอบค้ าอาวุธสงคราม - ปัญหาการค้ ามนุษย์ - ฯลฯ
56
๓. แผนการเปลีย่ นผ่ านไปสู่ ประชาคมอาเซียน – ทบ.
๔. การประเมินภัยคุกคามทีเ่ กิดขึน้ จากเป็ นประชาคมอาเซียน
กล่ าวถึงสภาพแวดล้ อมด้ านความมัน่ คงภายหลังการรวมกันเป็ นประชาคมอาเซียน ซึ่งประเทศสมาชิก
อาเซียนจะเพิม่ ความร่ วมมือในด้ านการเมืองและความมัน่ คงมากขึน้ เพือ่ เสริมสร้ างและธารงไว้ ซึ่งสั นติภาพ
และความมัน่ คงของภูมภิ าค และทาให้ ประเทศในภูมภิ าคอยู่ร่วมกันอย่ างสั นติสุข สามารถแก้ ปัญหาและ
ความขัดแย้ งโดยสั นติวธิ ี
อย่ างไรก็ตาม ปัญหาภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ (Non - Traditional Threat) จะยังคงเป็ นภัยคุกคามที่
ประเทศสมาชิกอาเซียนต้ องเผชิญอย่ างหลีกเลีย่ งไม่ ได้ ซึ่งความร่ วมมือระหว่ างประเทศสมาชิ กจะช่ วยลด
ระดับความรุนแรงของปัญหาด้ านความมัน่ คงในภาพรวม
ภัยคุกคามต่ อความมัน่ คงของไทยภายหลังการรวมตัวเป็ นประชาคมอาเซียน อาทิ
- ปัญหาเส้ นเขตแดน,
- ปัญหายาเสพติด, - ปัญหาการลักลอบเข้ าเมืองโดยผิดกฎหมาย
- ปัญหาอาชญากรรมข้ ามชาติ - ปัญหาการก่ อการร้ าย
- ปัญหาการลักลอบค้ าอาวุธสงคราม
- ปัญหาการค้ ามนุษย์ ,
- ปัญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติ - ปัญหาโจรสลัด
- ปัญหาการทาลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม
- ฯลฯ
57
๓. แผนการเปลีย่ นผ่ านไปสู่ ประชาคมอาเซียน – ทบ.
๕. นโยบายของหน่ วยเหนือที่เกีย่ วข้ อง
นโยบายของหน่ วยเหนือที่เกีย่ วข้ อง
- นโยบายของรัฐบาล
- นโยบาย รมว.กห.
- นโยบายของ ผบ.ทสส.
- นโยบายและสั่ งการของ ผบ.ทบ.
 นโยบายทุกระดับชั้น ได้ ให้ ความสาคัญกับการดาเนินการในส่ วนที่
เกีย่ วข้ อง เพือ่ ส่ งเสริมการเป็ นประชาคมอาเซียน
58
นโยบายของรัฐบาล
เมือ่ ๒๓ ส.ค.๕๔
เร่ งฟื้ นฟูความสั มพันธ์ และพัฒนาความร่ วมมือกับประเทศเพื่อนบ้ านและนานาประเทศ
เพือ่ สนับสนุนการเจริญเติมโตทางเศรษฐกิจในภูมิภาคร่ วมกัน โดยเฉพาะการเร่ งแก้ ไขปัญหา
กระทบกระทั่งตามแนวพรมแดน ผ่ านกระบวนการทางการทูตแบบพืน้ ฐานของสนธิสัญญา
และกฎหมายที่ เ กี่ย วข้ อ ง และเร่ ง ด าเนิ น การตามข้ อ ผู กพัน ในการรวมตัว เป็ นประชาคม
อาเซี ยนในปี ๒๕๕๘ ทั้งในมิติเ ศรษฐกิจ สั งคม และความมั่นคง ตลอดจนการเชื่ อมโยง
เส้ นทางคมนาคมขนส่ งภายในและภายนอกภูมภิ าค
นโยบาย รมว.กห.
ให้ ก องทั พ พั ฒ นาความร่ วมมื อ ทางทหารกั บ ประเทศเพื่ อ นบ้ า น ประเทศในกลุ่ ม
อาเซี ยน มิตรประเทศ และองค์ การระหว่ างประเทศ ทั้งในระดับทวิภาคีและพหุ ภาคี เพื่อจัด
ระเบียบสภาวะแวดล้ อมด้ านความมั่นคง สร้ างความไว้ เนื้อเชื่ อใจ สร้ างสั นติภาพ เสถียรภาพ
ความมั่นคง ความมั่งคั่ง ความก้ าวหน้ า และความสงบสุ ข ร่ ว มกัน และเพื่อเป็ นส่ วนหนึ่ งใน
การน าไปสู่ การรวมตั ว เป็ นประชาคมอาเซี ย นในปี ๒๕๕๘ รวมทั้ ง สนั บ สนุ น ภารกิ จ เพื่ อ
สั นติภาพ การปฏิบัตกิ ารเพือ่ มนุษยธรรม และส่ งเสริมบทบาทในการรักษาสั นติภาพภายใต้ กรอบ
ของสหประชาชาติ และผลประโยชน์ แห่ งชาติเป็ นหลัก
60
๓. แผนการเปลีย่ นผ่ านไปสู่ ประชาคมอาเซียน – ทบ.
๖. วัตถุประสงค์ ในการเตรียมความพร้ อมของ ทบ.
เพือ่ รองรับการดาเนินงานความร่ วมมือในด้ านต่ างๆ ตามนโยบายของหน่ วย
เหนือ
เพือ่ แสวงประโยชน์ ในการพัฒนาและเพิม่ ขีดความสามารถของกองทัพ
 เพือ่ เตรียมการรองรับความท้ าทายทีเ่ กิดขึน้ กับ ทบ.
 เพือ่ สร้ างความตระหนักรู้ทถี่ ูกต้ องและเพียงพอ ให้ เกิดขึน้ ในทุกส่ วนราชการ
ของ ทบ.
61
๓. แผนการเปลีย่ นผ่ านไปสู่ ประชาคมอาเซียน – ทบ.
๗. การกาหนดความเร่ งด่ วนของกรอบความร่ วมมือและเสริมสร้ างความสั มพันธ์
กับประเทศอาเซียน
การให้ ความช่ วยเหลือด้ านมนุษยธรรมและบรรเทาภัยพิบัติ
(Humanitarian Assistance and Disaster Relief : HADR)
การต่ อต้ านการก่อการร้ าย (Counter Terrorism : CT)
การปฏิบัติการรักษาสั นติภาพ (Peace Keeping Operations : PKOs)
การแพทย์ ทางทหาร (Military Medical : MM)
62
63
64
65
66
67
๓. แผนการเปลีย่ นผ่ านไปสู่ ประชาคมอาเซียน – ทบ.
วิสัยทัศน์
๘. วิสัยทัศน์ และพันธกิจ
“ทบ. เป็ นกองทัพทีม่ คี วามทันสมัย มีความเป็ นเลิศในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
และ มีบทบาทในการส่ งเสริมสั นติภาพและความมั่นคงของภูมภิ าค
ในกรอบประชาคมอาเซียน”
“The Royal Thai Army is a modern and excellent army of South East Asia
in promoting regional peace and stability within ASEAN Community”
พันธกิจ
“ใช้ ศักยภาพ และขีดความสามารถของ ทบ. ในการเป็ นกลไกการดาเนินงานความร่ วมมือ
ด้ านความมั่นคง และสนับสนุ นกลไกการดาเนินงานความร่ วมมือในด้ านอื่นๆ กับประเทศ
สมาชิกอาเซียน พร้ อมทั้งเตรียมการรับมือกับปัญหาภัยคุกคามต่ อความมัน่ คง
ภายหลังการรวมตัวเป็ นประชาคมอาเซียน ตามกรอบนโยบายที่กาหนด”
68
๓. แผนการเปลีย่ นผ่ านไปสู่ ประชาคมอาเซียน – ทบ.
๙. แนวทางการดาเนินการโดยทัว่ ไป
ประกอบด้ วยแนวทางการดาเนินการในภาพรวมของ ทบ. จานวน ๖ ข้ อ
(๑) การยึดถือกรอบนโยบายทีเ่ กีย่ วข้ อง,
(๒) การดาเนินการให้ สอดคล้ องกับกรอบการประชุ ม ADMM และ ADMM – Plus
(๓) การเสริมสร้ างกลไกความสั มพันธ์ และความร่ วมมือทีม่ อี ยู่เดิม
(๔) การกาหนดกลไกความสั มพันธ์ และความร่ วมมือขึน้ ใหม่
(๕) การพิจารณาใช้ ศักยภาพและขีดความสามารถของ ทบ. ทีม่ อี ยู่
(๖) กาหนดกิจกรรม รวมถึงความต้ องการงบประมาณ เพือ่ รองรับการเป็ นประชาคม
อาเซียนในส่ วนทีเ่ กีย่ วข้ อง
สามารถกล่าวได้ โดยสรุป คือ
“การใช้ ศักยภาพและขีดความสามารถของ ทบ.
เป็ นกลไกดาเนินงานความร่ วมมือตามกรอบนโยบายทีก่ าหนด”
69
๓. แผนการเปลีย่ นผ่ านไปสู่ ประชาคมอาเซียน – ทบ.
๑๐. แนวทางการดาเนินการเฉพาะด้ าน
๑. ด้ านกาลังพล จานวน ๔ ข้ อ ได้ แก่
(๑) สร้ างความตระหนักรู้เกีย่ วกับอาเซียน เพือ่ สร้ างความรู้ความเข้ าใจ ทั้งกลไกการทางานของ
อาเซียนและประเทศสมาชิก
(๒) เพิม่ พูนทักษะด้ านภาษาโดยให้ ความเร่ งด่ วนในการใช้ ภาษาอังกฤษ ซึ่งต้ องใช้ ในการในการ
ติดต่ อประสานงาน การฝึ กร่ วม/ผสม การประชุ ม และการแลกเปลีย่ นการเยือนระดับต่ าง ๆ สาหรับภาษาของ
ประเทศเพือ่ นบ้ านยังคงให้ ความสาคัญเช่ นเดียวกัน เนื่องจากต้ องใช้ ในการสื่ อสาร สร้ างความเข้ าใจ และการ
พบปะพัฒนาสั มพันธ์ ในระดับพืน้ ทีป่ ฏิบตั ิงาน โดยเฉพาะกาลังป้ องกันชายแดนในแต่ ละด้ าน
(๓) ขยายความร่ วมมือทางด้ านการศึกษาให้ มากขึน้ เช่ นการแลกเปลีย่ นครู ผ้ ูสอน การสนับสนุน
ทีน่ ั่งศึกษาในหลักสู ตรหลัก ได้ แก่ วทบ., รร.สธ.ทบ. และหลักสู ตรของ รร.เหล่ า/สายวิทยาการ ตลอดจนการ
แลกเปลีย่ นการศึกษาดูงานตามกรอบงบประมาณ
(๔) พิจารณาการใช้ และศึกษาผลกระทบทีเ่ กิดจากกฎหมาย กฎระเบียบและ
ข้ อบังคับซึ่งเป็ นเครื่องมือรองรับในการปฏิบัติงานให้ มปี ระสิ ทธิภาพและทันสมัย
โดยเฉพาะกฎหมายด้ านความมัน่ คงและกฎหมายระหว่ างประเทศ
70
๓. แผนการเปลีย่ นผ่ านไปสู่ ประชาคมอาเซียน – ทบ.
๑๐. แนวทางการดาเนินการเฉพาะด้ าน
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
ด้ านกาลังพล
ด้ านการข่ าว
ด้ านยุทธการ
ด้ านส่ งกาลังบารุง
ด้ านกิจการพลเรือน
ด้ านปลัดบัญชี
จานวน ๔ ข้ อ
จานวน ๗ ข้ อ
จานวน ๖ ข้ อ
จานวน ๖ ข้ อ
จานวน ๕ ข้ อ
จานวน ๓ ข้ อ
71
๓. แผนการเปลีย่ นผ่ านไปสู่ ประชาคมอาเซียน – ทบ.
๑๐. แนวทางการดาเนินการเฉพาะด้ าน
๒. ด้ านการข่ าว จานวน ๗ ข้ อ
(๑) สนับสนุนการเสริ มสร้ างขีดความสามารถของอาเซียนในการเผชิ ญกับภัยคุกคามด้ านความมั่นคงบนพืน้ ฐานความมั่นคง
ของมนุ ษ ย์ ตลอดจนการประสานจั ด ท าข้ อ มู ล กลางในเรื่ อ งอาชญากรรมข้ า มชาติ ใ นภู มิภ าคอาเซี ย น เพื่อ ใช้ แ ก้ ไ ขปั ญ หาการก่ อ การร้ า ย
การค้ ายาเสพติดการกระทาผิดกฎหมาย และอาชญากรรมข้ ามชาติ
(๒) เสริ มสร้ างเครือข่ ายความร่ วมมือทางการทหารและแนวทางการทูตโดยฝ่ ายทหาร (Defense Diplomacy) เพือ่ สร้ างความ
ไว้ เนือ้ เชื่อใจ และป้ องกันความขัดแย้ งทีอ่ าจเกิดขึน้ ได้
(๓) เตรี ยมความพร้ อมบุ คลากรและระบบงานด้ านการข่ าว เพื่อรองรั บภัยคุกคามที่มีแนวโน้ มว่ าจะมีความซั บซ้ อนมากขึ้น
รวมทั้งการแลกเปลี่ยนข้ อมูลข่ าวสารกับ ทบ. กลุ่มประเทศอาเซี ยนในประเด็นข่ าวสารที่ส่งผลกระทบต่ อความมั่นคงของชาติและภู มิภาค
อาเซียน
(๔) พิจารณาความเหมาะสมในการขยายความสั มพันธ์ ทางการทหารเพิ่มจากที่มีอยู่ โดยดาเนินการจัดตั้งสานักงานผู้ช่วยทูต
ฝ่ ายทหารบกให้ ครบในทุกประเทศสมาชิก
(๕) พิ จ ารณาศึ ก ษาข้ อ มู ล เชิ ง ลึ ก ด้ า นความมั่ น คง เช่ น ข้ อ มู ล กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ความมั่ น คงของประเทศสมาชิ ก
เพือ่ ประโยชน์ ในด้ านการประสานงาน การเสริมสร้ างความร่ วมมือ และการป้องกันไม่ ให้ เกิดความขัดแย้ งระหว่ างประเทศ
(๖) ศึกษาข้ อมูลด้ านวัฒนธรรมทีห่ ลากหลาย โดยเฉพาะประเทศทีม่ วี ฒ
ั นธรรมทีแ่ ตกต่ างกัน
เช่ น วัฒนธรรมของชาวมุสลิม ทั้งนีเ้ พือ่ เป็ นการสร้ างความเข้ าใจ และเสนอแนะท่ าทีหรือแนวทาง
การปฏิบัติ ทีเ่ หมาะสมให้ กบั ทบ.ในการปฏิบัติต่อชาวต่ างชาติได้ อย่ างเหมาะสม
(๗) พิจารณาความเหมาะสมและความจาเป็ นในการปรับปรุงบทบาทหรือหน้ าทีข่ องส่ วนราชการ
ในสายงานด้ านการข่ าวของ ทบ. เพือ่ รองรับงานทีเ่ กีย่ วข้ องกับการเข้ าสู่ การเป็ นประชาคมอาเซียนทีอ่ าจมีปริมาณ
เพิม่ มากขึน้
72
๓. แผนการเปลีย่ นผ่ านไปสู่ ประชาคมอาเซียน – ทบ.
๑๐. แนวทางการดาเนินการเฉพาะด้ าน
๓. ด้ านยุทธการ จานวน ๖ ข้ อ ได้ แก่
(๑) พิจารณาทบทวนแผนแม่ บทการปรับปรุ งโครงสร้ าง กห. ในส่ วนของ ทบ. รวมทั้งผลักดันการนาระบบข้ าราชการพลเรือนกลาโหมมาใช้ อย่ าง
เป็ นรู ปธรรม เพือ่ รองรับการเข้ าสู่ การเป็ นประชาคมอาเซียน โดยเฉพาะการปรับปรุ งโครงสร้ าง การปรั บปรุ งอัตรา และการจัดตั้งหน่ วยเพิ่มเติม เพื่อปฏิบัติงานให้
ความช่ วยเหลือด้ านมนุษยธรรม และการบรรเทาภัยพิบัติ การต่ อต้ านการก่ อการร้ ายสากล การปฏิบัติการรักษาสั นติภาพและการแพทย์ ทางทหาร
(๒) ดารงสภาพความพร้ อมรบของหน่ วยให้ มีความพร้ อมรบด้ านกาลังพลและยุทโธปกรณ์ ทั้งนี้ เพื่อเตรี ยมความพร้ อมในการปฏิบัติงานตาม
แผนการใช้ กาลังตามขั้นตอนของแผนเผชิ ญเหตุ และแผนป้องกันประเทศ และเตรี ยมความพร้ อมเพื่อเผชิ ญภัยคุกคามรู ปแบบใหม่ ซึ่งเกิดจากการเข้ าสู่ ประชาคม
อาเซียน
(๓) จัดเตรี ยมกลไกทางด้ านการฝึ ก เพื่อให้ สามารถใช้ เป็ นเครื่ องมือในการเสริ มสร้ างความสั มพันธ์ เชิ งรุ กกับประเทศในกลุ่มอาเซี ยนให้ ได้ ทุก
ระดับ โดยพิจารณาขยายความร่ วมมือจากรหัสการฝึ กที่มีอยู่เดิม ทั้งในกรอบทวิภาคีและพหุภาคีให้ ครอบคลุมทุกประเทศสมาชิ ก ให้ ความสาคัญในการฝึ กตาม
ความเร่ งด่ วนในกรอบความร่ วมมือที่ กห. ได้ ตกลงร่ วมกันแล้ ว เพือ่ เตรียมความพร้ อมทีจ่ ะนาไปสู่ ความร่ วมมือการปฏิบัติการร่ วมกันในอนาคต
(๔) เสริมสร้ างความร่ วมมือกับกองทัพกลุ่มประเทศอาเซี ยน ในการกาหนดแนวทางการพัฒนาหลักนิยมร่ วมกัน รวมทั้งการวิจัยและพัฒนาด้ าน
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีด้านการป้องกันประเทศ
(๕) การปรับปรุ ง พัฒนา รายละเอียดการปฏิบัติตามแนวทางสถาปนาความมั่นคงตามแนวชายแดน (พันธกิจ ๔ ประการ) ของกองกาลังป้องกัน
ชายแดน และ กฎ ระเบียบ คาสั่ ง ข้ อบังคับ และกฎหมาย ทีจ่ าเป็ นต่ อการปฏิบัติภารกิจ ให้ สอดคล้ องและรองรับต่ อการเข้ าสู่ ประชาคมอาเซียน ๒๕๕๘
(๖) การเพิ่มขีดความสามารถของ ศปก.ทบ. รองรั บต่ อการเข้ าสู่ ประชาคมอาเซี ยน ในปี ๒๕๕๘ โดยอาจพิจารณาการพัฒนาระบบการ
ติดต่ อสื่ อสาร การจัดทาแนวทางปฏิบัติร่วม หรือแผนในการปฏิบัติการร่ วม สาหรับภารกิจต่ างๆ ตามกรอบนโยบายของหน่ วยเหนือ
อาทิ การให้ ความช่ วยเหลือด้ านมนุษยธรรมและบรรเทาภัยพิบัติ, การต่ อต้ านการก่อการร้ าย, การปฏิบัติการรักษาสั นติภาพ
และ การแพทย์ทางทหาร เป็ นต้ น
73
๓. แผนการเปลีย่ นผ่ านไปสู่ ประชาคมอาเซียน – ทบ.
๑๐. แนวทางการดาเนินการเฉพาะด้ าน
๔. ด้ านส่ งกาลังบารุง จานวน ๖ ข้ อ ได้ แก่
(๑) ส่ งเสริมและขยายความร่ วมมือในการวิจัยและพัฒนายุทโธปกรณ์
(๒) การเตรียมแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมในการผลิตอาวุธและยุทโธปกรณ์ ใน
การป้องกันประเทศ
(๓) การให้ ความสาคัญกับการส่ งกาลังบารุ งร่ วม ตามประเภทและลักษณะของสิ่ ง
อุปกรณ์
(๔) ทบทวนหลักนิยม เอกสาร ตารา และคู่มอื ทีเ่ กีย่ วข้ องกับการส่ งกาลังบารุ งร่ วม
(๕) พัฒนาระบบสารสนเทศด้ านการส่ งกาลังบารุ งให้ มปี ระสิ ทธิภาพสู งขึน้
(๖) จัดทาแนวทางการเตรียมความพร้ อมด้ านยุทโธปกรณ์ ร่วมกันกับ ทบ. ประเทศ
สมาชิกอาเซียน โดยให้ ความเร่ งด่ วนสาหรับการให้ ความช่ วยเหลือประชาชน
และบรรเทาภัยพิบัติที่อาจจะเกิดขึน้
74
๓. แผนการเปลีย่ นผ่ านไปสู่ ประชาคมอาเซียน – ทบ.
๑๐. แนวทางการดาเนินการเฉพาะด้ าน
๕. ด้ านกิจการพลเรือน จานวน ๕ ข้ อ ได้ แก่
(๑) ส่ งเสริมมาตรการรักษาความมั่นคงด้ านสิ่ งแวดล้ อมในภูมิภาคอย่ างยั่งยืน และการพัฒนาเพื่อความมั่นคง
โดยการนาการปฏิบัติงานที่ประสบผลสาเร็จอย่ างเป็ นรู ปธรรมและได้ รับการยอมรับขยายผลสู่ เวทีอาเซียน เช่ น การน้ อมนา
หลักปรั ชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริ ที่ ทบ. ได้ นาไปใช้ พัฒนาอย่ างยั่งยืนและได้ รับการยอมรั บในติมอร์
ตะวันออก, กัมพูชา, สปป.ลาว และซูดาน เป็ นต้ น
(๒) ส่ งเสริมการช่ วยเหลือด้ านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ โดยการสร้ างกรอบความร่ วมมือและการ
แลกเปลีย่ นองค์ความรู้ ตลอดการฝึ กร่ วม/ผสมของประเทศในประชาคมอาเซียน
(๓) ส่ งเสริ ม การอนุ รักษ์ ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อ ม โดยการพัฒนากฎเกณฑ์ เพื่อการอนุ รักษ์ และการฟื้ นฟู
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในภูมิภาคร่ วมกัน
(๔) การพัฒนาเพื่อความมั่นคง โดยมุ่งเน้ นการพัฒนาทางด้ านภูมิศาสตร์ โครงสร้ างพืน้ ฐาน และทรั พยากร
มนุษย์ ทั้งนี้ การพัฒนาดังกล่าวจะไม่ ส่งผลกระทบต่ ออานาจอธิปไตยของแต่ ละประเทศสมาชิก
(๕) ให้ ความสาคัญเร่ งด่ วนในการประชาสั มพันธ์ บทบาทของ ทบ. กับการเป็ นประชาคมอาเซียน ทางสื่ อ ทั้งใน
และนอก ทบ. ทุกชนิด (วิทยุ, โทรทัศน์ , วารสารและสิ่งพิมพ์ , สื่อ Online เป็ นต้ น) รวมทั้งการใช้
ช่ องทางเสนาสนเทศเพือ่ สร้ างความรู้ ความเข้ าใจ และความตระหนักรู้ที่ถูกต้ องและเพียงพอ ให้ กบั
กาลังพลตามนโยบายของ ผบ.ทบ.
75
๓. แผนการเปลีย่ นผ่ านไปสู่ ประชาคมอาเซียน – ทบ.
๑๐. แนวทางการดาเนินการเฉพาะด้ าน
๖. ด้ านปลัดบัญชี จานวน ๓ ข้ อ ได้ แก่
(๑) พิจารณาความเหมาะสมในปรั บปรุ งแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี หรื อ
แผนปฏิบัติราชการประจาปี ให้ มีความสอดคล้ องกับการเป็ นประชาคมอาเซี ยน ใน
ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ ๔ การสร้ างความร่ วมมือด้ านความมั่นคงกับต่ างประเทศ
(๒) เสริมสร้ างหลักการบริหารกิจการบ้ านเมืองที่ดีให้ เป็ นแนวทางในการ
ท างานและยกระดั บ ธรรมาภิ บ าลของ ทบ. ให้ อ ยู่ ใ นระดั บ ที่ เ ป็ นที่ ย อมรั บ ของ
ประชาชน
(๓) การพัฒนาเพื่อมุ่งสู่ การเป็ นองค์ การที่มีขีดสมรรถนะสู ง บุคลากรมี
ความพร้ อมและความสามารถในการเรียนรู้ คิดริเริ่มเปลีย่ นแปลง และ
ปรับตัวได้ ทนั ต่ อสถานการณ์
76
๓. แผนการเปลีย่ นผ่ านไปสู่ ประชาคมอาเซียน – ทบ.
ผนวก ประกอบ
ผนวก ก ความเป็ นมาความรู้ ทวั่ ไปเกีย่ วกับประชาคมอาเซียน
ผนวก ข แนวทางปฏิบัติของ กห. ในการรองรับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘
ผนวก ค วิสัยทัศน์ และพันธกิจ
ผนวก ง กิจกรรม ด้ านกาลังพล
ผนวก จ กิจกรรม ด้ านการข่ าว
ผนวก ฉ กิจกรรม ด้ านยุทธการ
ปี ๒๕๕๖ - ๒๕๕๘
ผนวก ช กิจกรรม ด้ านส่ งกาลังบารุ ง
ผนวก ซ กิจกรรม ด้ านกิจการพลเรือน
ผนวก ด กิจกรรม ด้ านปลัดบัญชี
77
๔. การซักถาม/แลกเปลีย่ นความคิดเห็น
???????????
78
การเตรียมความพร้ อมรองรับ
การเข้ าสู่ ประชาคมอาเซียนของ ทบ.
๒๒ มกราคม ๒๕๕๖
๑๐๐๐ - ๑๒๐๐
โดย พ.ท.ศิวตั ม์ รัตนอนันต์
ฝสธ. ประจา ยก.ทบ.